CLMV

             เร่ิมแรกการก่อตั้งอาเซียนมี5 รัฐร่วมก่อตั้ง ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย ได้รวมตัวก่อตั้ง หลังจากนั้นจึงค่อยๆ รับสมาชิกเพ่ิมเติมเรื่อยมา กระทั้งปัจจุบัน มี 1= ประเทศ สำหรับกลุ่มประเทศ clmv อันได้แก่ ลาว พม่า เวียดนามและกัมพุชาได้ทยอยเข้าเป็นสมชิกในอาเซียนโดยเวียดนามเข้ามาเป็นสมาชิกในปี ค.ศ. 1995 ตามด้วยลาวและเมียนมาร์เข้าเป็นสมชิกในปี ค.ศ. 1997 และกัมพุชาในปี 1999 ซึ่งสี่ประเทสดังกล่าวมีความแตกต่างกับประเทศสมชิกผุ้ก่อตั้งอย่างมากทั้ง ท่างด้าน เศรษฐกิจ ระดับการพัฒนา และรอบอบการเมืองการปกครอง
         
 ลักษณะของกลุ่มประเทศ clmv อยู่บนคาบสมุทรอินโดนคน มีพรมแกนติดต่อกัน และยังเป็นปเ็นหลุ่มประเทศที่เข้าร่วมเป้นสมาชิกอาเซียนในภายหลัง อย่างไรก็ตามการเข้ารวมดังกล่าวได้ตกอบยำ้ความแตกต่างทางด้านเศราบกิจและการเมืองของกลุ่มประเทศอาเวียน clmv เป็นกลุ่มประเทศที่มีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของเศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และเป็นกลุ่มประเทศที่พัฒนาค่อนข้างช้าเมื่อเปรียบเที่ยบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้แต่อย่างไรก็ตามหลังจากที่ความขัดแย้งในประเทศเลห่านี้เร่ิมคลี่คลาย กลุ่มประเทศ clmv ก็ได้รับความสนใจจากนักลงทุนต่างประเทศ เรื่องจากมีเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นตลาดเปิดใหม่ มีทรัพยากรทางธรรมชาติทีอุดมสมบูรณ์และมีความไดเปรียบในเรื่องค่าจ้างแรงงานที่ต่ำกว่าประเทศเพื่อบ้านในภุมิภาคเดียวกัน
           - กัมพูชา หลังจากสงครามได้ผ่านพ้นไป กัมพุชาก็เป็นปรเทศที่มีอตราการเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจสูง โดยเฉพาะเศรษบกิจระดับมหภาคที่มีเสถียรภาพ โดยเศรษกบิจของกัมพูชามีการเติบโตสุงกว่าร้อยละ 7 ต่อเนื่องระหว่างปี ค.ศ. 2010-2014 อย่าไรก็ตามกัมพุชายังประสบปัญหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาิตอย่างิส้นเปลื่องไปเพื่อการพัฒนาประเทศ และยังมีปัญหาความยากจน ความ
ขาดแคลนบุคลากรคุณภาพ และความสามารถในการแข่งขันทางการต้ากับประเทศเพื่อบ้าน
         - ลาวปรารถนาที่จะพัฒนาประเทศให้พ้นจากสภาพประเทศด้อยพัฒนา ภายในปี ค.ศ.2020 และขจัดปัญหาความยากจนภายในปี ค.ศ. 2010 แม้จะประสบอุปสรรคมากมาย เช่น การขาดแคลนแรงงานที่มีฝีือ ขาดโครงสร้างพื้นฐานที่ดี และข้อจำกัดด้านภูมิศาสตร์ที่ไม่มีทางออกทะเล รัฐบาลลาวมุ่งหมายที่จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาการท่องเที่ยวซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะสามารถเปลี่ยนแปลงลาวให้กลายเป็นประเทศแห่งการเชื่อมต่อ ซึ่ลาวมีควมต้องการที่จะสามารถใช้ท่าเรือประเทสเพื่อนบ้านได้เพื่อนำเข้าและส่งออกสินค้าตน รวมไปถึงระบบถนนและระบบรางรถไฟด้วย โดยลาวได้เริ่มโครงการก่อนสร้างทางรถไฟระยะทาง 220 กิโลเมตร จากเมืองไกสร พมวิหาร แขวงสะหวันนะเขต ไปยังเมืองลาวบาวซึ่งมีทางรถไฟเชื่อมต่อกับท่าเรือน้ำลึกหมีถวี ซึ่งอยุ่ในตอนกลางของประเทศเวียดนาม โครงการนี้มีเป้าหมายว่าจะช่วยให้ลาวแก้ปัญหาการเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลได้ นอกจากนั้นในวัที่ 27 มิถุนายน 2015 ลาวและเวียดนามได้มีความตกลงทวิภาคีในเรื่องการต้าและการขนส่งข้ามพรมแดนเพื่อให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าและเงนตราระหว่างกันง่ายขึ้น
           
- เมียนมา มีทรัพยากรธรรมชาติล้นเหลือ มีแรงงานราคาถุกและเป็นตลาดใหญ่ท่น่าลงทุน มีความได้เปรียบทางด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยุ่กระว่างอินเดีย อาเซียน และจีน แต่การจัดการทางด้านนโยบายการส่งเสริมการลงทุนยังขาประสิทะิภา เมียนมามีความจำเป็นต้องปฏิรูประบบการเงิน ระบบธุรกิจขนาดเล็กและขนดากลาง เพื่อเพิ่่มขีดความสามารถในการแ่ข่งขันให้สุงขึ้น
            - เวียดนาม เวียดนามได้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจเมื่อปี ค.ศ.1986 จนมีทำให้ปัจจุบัน เวียดนามมีพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่แข็งแรง และเมื่อได้เข้าร่วมอาเซียน เวียดนามก็ได้พัฒนาด้านการลงทุนจากต่างชาติ และได้ผลตอบรับอย่างดี
             ช่องว่างระห่วางกล่ม clmv กลับสมาชิกอาเซียนอื่นๆ และแนวทางการแก้ปัญหา
             clmv เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนในช่วงที่เศรษฐกิจอาเซียนกำลังเฟื่องฟู แต่ก็ยังพบการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกันอยุ่บ้างในกุ่มประเทศหกประเทศนั้น clmv ประกอบด้วยกลุ่มประเทศที่พัฒนาค่อนขางช้า ได้เขามาก็จะยิ่งตอกย้ำความแตกต่างซึ่งจะเป็นการยากในการจะรวมเศรษบกิจดันซึ่งเป็นเป้าหมายในอนาคตของอาเวียน มีหลายฝ่ายที่วิตกว่าระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่แกตต่างกันอย่างมากนี้จะทำให้การรวมเศรษบกิจในกลุ่มอาเว๊ยนไมาประสบความสำเร็จอย่างไรก็ดีกลุ่ม พัฒนาล่าช้า ก็ตระกนักถึงข้อจำกัดของตนเองและต่างก็ร่วมกนพัฒนาตนเองเพื่อให้ทัน กลุ่ม อาเซียน หก
             โดยในปี ค.ศ. 2002 อาเซียนได้ออกผนงาน ที่มีจุดประสงค์เพื่อลดช่องว่างระหว่างทั้งสองกลุ่ม โดยอำนวนความสะดวกใน นโยบายพัฒนาประเทศ และกอรบงานต่างๆ ที่มีส่วนช่วย นอกจากนี้ยังสนับสนุนกลุ่มประเทส พัฒนาล่าช้าในเรื่อง ปัญหาความยากจน มาตรฐานการครองชีพ การบริการสาธารณะเพื่อให้ก้าวทันเศราฐกิจโลก ปัจจุบัน กลุ่มประเทศ พัฒนาล่าช้า มีการปรับปรุงระบบและเกิดการลงทุนใหม่ ๆ อย่างรวดเร็ซ จนเกิดปรากฎการณ์คอขวดในกลุ่ม นี้ คือกรณีที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจเกินกว่ที่ระบบสาธารณุปโภคและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศจะรองรับได้ซึ่งอาจทำให้แม้จะมีการลงทุนจำนวนมากในประเทศก็จริง แต่อกาจมิส่งผลประโยชน์แก่ประเทเศเหล่านั้นอย่างแม้จริง ซึ่งแนวทางในการแก้ไขปัญหานี้อาจทำได้โดยการ
           
- เร่งสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเพื่อรอบรับการลงทุน เช่น ระบบกฎหมาย การคนนาคมและขนส่ง และการบริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน เป็นต้น
            - ปรับปรุงกฎระเบียบมาตรการต่าง ๆให้ชัดเจน และครอบคลุมปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น กฎระเบียบการขนสงข้าแดน ภาษีอากร การตรวจคนเข้าเมือง นอกจานี้ควรปรับให้ใช้มตฐานเดียวกันเพื่อความสะดวกรวดเร็วด้วย
           แม้ว่ากลุ่มพัฒนาล่าช้า จะเข้อาเวียนในลำดับหลัง แต่ก็ตระหนัถึงศักยภาพที่จำกัดของตนในการบรรลุเป้าหมายรวมกัน จึงอาจก่อให้เกิดอุปสรรและความล่าช้าในการวมกลุ่มประเทศอาเวียน แต่อย่างำรก็ตามหลังจากที่ได้รวตัวกันเป็นอาเวียนครบทั้งสิบประเทศแล้ว กลุ่ม นี้ก็พยายบามพัฒนาตัวเองตลอดเวลา ทั้งนี้ก็ด้วยความช่วยเหลือจากสมาชิกกกลุ่มด้วย แม้จะอยุ่ท่ามกลางความไม่แน่นอนของเศราบกิจตลอดโลก แต่ตัวเลข จีดีพี กลับเพ่ิมขึ้นสวนกระแสเศรษฐกิจอื่นๆ ดดยมีการแสการลงทุนจากต่างชาติจำนวนมากจนน่าจับตามองอย่างยิงในขณะนี้.....http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8_CLMV_%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0ASEAN_6

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)