วันจันทร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Tax and Reducing social gap

         ระบบภาษีถือเป็นกลไกที่มีความสำคัญยิ่งในการบริหารและพัฒนาประเทศ และมีความเกี่ยวของสัมพันธ์กับการลดความเหลื่อมล้ำทงเศณาฐกิจโดยตรง ในแง่หนึ่งภาษีคือแหล่งรายได้สำคัญที่สุดของรัฐบาล รายได้จาากภาษีมีควาสัมพันธ์โดยตรงกับโครงสร้างรายจ่ายภาครัฐ หากรัฐบาลมีความต้องการทีจะใช้จ่ายภาครัฐ หากรัฐบาลมีความต้องการที่จะใช้จ่ายเพ่ิมขึ้น ก็มีควาจำเป็นที่จะต้องเก็บภาษีเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในแง่่นั้นนโยบายภาษีจึงมีผลต่อความสามารถในการดำเนินนโยบายต่างๆ เืพ่อลดความ
เหลื่อมล้ำในสังคมในอีกแง่หนึ่ง นโยบายภาษีสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการลดความเลื่อมล้ำไ้ในตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ ทั้งนี้ระบบภาษาีที่ดีควรเป้ฯระบบที่สามารถสร้างความเป้นธรรมให้กับประชาชนทุกคนในประเทศได้
            บทความนี้จะกล่าวถึงสถานการภาพรวม การวิเคราะห์ปัญหาความเหลื่อล้ำในระบบภาษีของประเทศไทยในปัจจุบัน และแนวทางในการปฏิรูประบบภาษาีให้มีความเป็นธรรม และเป็นเครื่องมือลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผ่านการสรุปองค์ควมรู้จากงานศึกษาของนักเศราฐศาสตร์และนักวิชาการรุ่นหมสามท่าน ได้แก่ คร. ภาวิน สิริประภานุกูล อาจารย์ประจำคณะเศรษฐ่ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในงานศึกษารเื่อง "ระบบภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ" (2554), ดร. ปัณณ์ อนันอภิบุตร หัวหน้าฝ่ายพัฒนโครงร้างภาษี สำนักนโยบายภาษี สำนักงานเสราฐกจิการคลัง กรทรวงการคลัง ในงาน
ศึกษาเรื่อง "การปฏิรูปภษาีเพื่อสังคมไทยเสมอหน้า" (2555) และคุณสฤณี อาชว่านั้นทกุล นักเขียนอิสระผุ้เขียนหลังสื่อ "ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา"(2554) ซ฿่งงานศ฿กษาทั้งสามช้ินนีเป็นงานช้ินล่าสุดที่น่ำเสนอประเด็นต่างๆ เีก่ยวกับระบบภาษีของไทยอย่างครอบคลุม ทำให้ผุ้อ่านเข้าใจสาถนการณ์ปัญหาและความสำคัญของระบบภาษีต่อการลดควมเหลื่อมล้ำของสังคมได้เป็นอย่างดี
               ระบบภาษีและควมเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ในช่วง ประมาณ 5 ทศวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ประเทศไทยจะมีอัตราการเจริญเติบโตของเศราฐกิจค่อนข้างสุง จากการปรับโครงสร้างทางเศราฐกิจสู่ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ แต่ความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ กล่าวคือ ผลประโยชน์จากการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจไทยส่วนใหย๋ตกอยุ่กับคนกลุ่มเล็กๆ ในสงคม..ซึ่งโดยทั่วไปแล้วความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้เป็นส่ิงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการพัฒนาเศณาฐกิจของประเทศ แต่ความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ที่สูงเกินไป อาจส่งผลให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจ และทำลายความมันคงของระบบทุนนิยมประชาธิปไตยได้
            เครื่องมือทางการคลังนั้นแบ่งออกำป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือเครื่องมือด้านรายนรับซึ่งคือภาษี และเครื่องมือด้านรายจ่าย ซึ่งคือการใช้จ่ายผ่านงลประมาณผ่านโครงการและนโยบายต่างๆ เครื่องมือสองประเภทนี้เป็นเสมอนเหรียญสองด้านที่แยกชขาดจากกันไม่ได้ ในประเทศซึ่วงบประมาณของรัฐบาลพึ่งพิงรายๆด้จากภาษีเป้นสวนใหญ่เช่นประเทศไทย
          ที่ผ่านมารัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือด้านรายจ่ายในการลดความเลื่อมล้ำของสังคดดยตรงได้ไม่มากนัก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 งบประมาณยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมคุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม คิดเป็นสัดส่วนเพียงประมาณร้อยละ 8 ของจีดีพี เท่านั้น ในขณะทีค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการของโลกมีค่าเฉลี่ยอยุ่ที่ร้อยละ 13.2 ทั้งที่การมช้จ่ายต่างๆ มีความสำคัญอย่งยิงต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชน ดดยเฉาพะอย่างยิ่งคนจนและผุ้ด้อยโอากสทางสังคม เหตุผลส่วนหนึ่งอาจมาจากการไม่ให้ความสำคัญของรัฐบาลเอง แต่อีกส่วนหนึ่งเป็นเพราะรัฐบาลมีข้อจำกัดในการใช้งบประมาณรายจาย ซึ่งเป็นผลจากความจำกัดของรายได้จากภาษี โดยเฉพาะอยางยิ่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
            ท่ามกลางปัญหาการพัฒนาเศรษฐกิจไทยที่ขาดการกระจายผลประดยชน์จากากรเจริญเติบโตทางเศราฐกิจอย่งเท่าเทียม ประกอบกับยความจำกัดในการใช้มาตรการรายจ่ายภาครัฐเพื่อแก้ปัญหาความเลหื่อมล้ำนี้เอง มาตรการทางภาษี คือกลไกทางการคลังทมี่มีความสำคัญอย่างยิ่งและไม่ควรถูกละเลยในการเติมเต็มช่องว่างและแก้ปัญหาต่างๆ ดังกล่าว
          แต่..ระบบภาษีที่พึงปรารถนานั้นควรมีหน้าตาอย่างไร ในทางทฤษำีระบบภาษาีที่ดีนั้นควรเป้นระบบที่มีคุณสมบัติต่างๆ เืพ่อบรรลลุเป้าหมายที่หลาหลาย เช่น ควรสร้างรายได้ที่สร้างรายได้ให้เพียงพอกับต่อการใช้จ่ายของรัฐบาล ควรสร้างควาบิดเบือนให้กับระบบเศรษฐกิจที่น้อยที่สุด ควรเอื้อให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ควรมีความง่ายและก่อให้เกิดต้นทุนในการบริการจัดการที่น้อยทีุ่สด และที่สำคัญ ซึ่งเป้นคุณสมบัติที่อยุ่ในความสนใจของบทความช้ินนี้คือ ระบบภาษาีควรมีความเป้ฯธรรมต่อประชาชนทุกคนในประเทศ
         
 ระบบภาษีที่มีความเป็นธรรม
           แนวคิดเกี่ยวกับระบบภาษีเป็นธรรมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบหลัก ได้แก่ แนวคิดการจัดเก็บภาษีตามหลักผลประโยชน์ และแนวคิดการจัดเก็บภาษีตามความสามารถในการจ่าย ทั้บงองรูปแบบนี้มีเหตุผลที่ได้รับประโยชน์ต่างๆ เหล่านั้นในระดับที่นอยกว่า อย่างไรก็ตามแนวคิดนี้มีความขชัดแย้งเป้าหมายในการลดความเลหื่อล้ำในสังคม ดังนั้นบทความนี้จึงให้ควาใสใกับแนวคิดความเป็นธรรมในลักษณที่สองมากกว่า ซึ่งตามหลักการนี้ ระบบภาษีที่เป็นธรรมควรนำมาซึ่งการจัดเก็บภาษีในระดับที่สูงกว่จากผุ้จ่ายภาษีที่มีความสามารถในการจ่ายที่สูงกว่า โดยไม่คำนึงถึงประดยชน์ที่ผุ้เสียภาษาีแล่ละคนได้รับเป็นการแยกการพิจารณาระบบภาษาีออกจากกิจกรรมและภาษีในระดับที่สูงกว่จากผุ้จ่ายภาษีที่มีความสามารถในการจ่ายที่สุงกว่า โดยไม่คำนึ่งถึงประดยชฯน์ที่ผุ้เสียภาษีแต่ละคนได้รับ เป้ฯการแยกการพิจารณาระบบภาษีออกจากิจกรรมและมาตรการต่างๆ ของรัฐยาล การจัดเก็บภาษีตามหลักการนี้จึงมีความสอดคล้องกับบทบาทของภาษีมในฐานะเป้นเครื่องมือในกาลดความเหลื่อมล้ำโดยตรง
           ตามหลักการการจัดเก็บภาษีบนฐานแนวคิดความสามารถในการจ่าย ระบบภาษีที่เป้นธรรมควรมีลักาณมีความเป้นธรรมตามแนวนอน และมีความเป้นธรรมตามแนวดิ่ง โดยระบบภาษาีที่มีความเป้ฯธรรมตามแนวนอนนั้น (ุ้เสียภาษีที่มีความสามารถในการจายเท่าเที่ยมกันควรต้องจ่ายภาษีในระดับที่เท่กัน ในขณะที่ระบบภาษาีที่ความเป้นธรรมดามแนวดิ่ง ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายภาษีมีมากว่าควรต้องรับภาระในการจ่ายภาษีในระดับที่สูงกว่า ทั้งนี้รัฐบาบลมีความจำเป้นที่จะต้องมีมาตวัด "ความสสามารถในการจ่าย" ที่เป็นธรรมให้แก่ผุ้จ่ายภาษีทุกคน ซึ่งดดยทั่วไปแล้วความสามารถในการจ่ายของผุ้เสียภาษีจะถูกวัดจากตัวแปรหลัก 3 รูปแบบ ได้แก่ รายได้ของผุ้จ่ายภาษี, ระดับการบริโภคของผุ้จ่ายภาษีและระดับความมั่งคั่ง ของผุ้จ่ายภาษี
            ภาษีในฐานเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำ แนวคิดในการใช้นโยบายภาษีเป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้เร่ิมเป็นที่นิยมในช่วงประมาณ ทศวรรษที่ 1950-1960 โดยให้ความสำคัญกับการเก็บภาษีจากฐานเงินได้ในอัตราก้าวหน้าสูงๆ ทั้งนี้เพราะรายได้ เป็นสิ่งสะท้อนถึงฐานะและความสามารถทางเศราฐกิจของบุคคลในการเสียภาษีได้ดีที่สุด ภายใต้แนวคิดนี้ รัฐบาลควรออกแบบระบบภาษีให้การเก็บภาษีบนฐานรายได้ซึ่งเป้นภาษีทางตรง ทดแทนภาษีทางอ้อมให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อให้ภาษีเป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ในประเทศ และสร้างรายรับให้กับรัฐบาลมากที่สุด
            ภายหลังวิกฤติเศราฐกิจโลกในทศวรรษ 1970 นักเศรษฐศาสตร์เร่ิมเปลี่นเป้าหมายของนโยบายภาษีมาสู่การส่งเสริมให้เกิดสร้างความเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจแทน ภายใต้แนวคิดนี้รัฐบาลมุ่งเก็บภาษีรายได้ในอัตราก้ายหน้าเพียงเล็กน้อย หรือเก็ฐในอัตราเดียว เพื่อเชื่อว่าการจัดเก็ฐภาษีเงินได้ในอัตราก้าวหน้า จะส่งผลบั่นทอนแรงจูงใจในการทำงาน อันจะส่งผลลบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการคิดค้นนวัตกรรมในภาคธุรกิจ รฐบบาลจึงหันมาให้ความสำคัญกับการเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมซึ่บมีฐานภาษีกว้างและสามารภจัดเก็บได้ง่ายกว่าแทน แนวคิดลักษณะนี้ได้กลายมาเป็นแนวคิดนโยบายภาษีกระแสหลักในหลายประเทศทุกวันนี้ ดดยเฉาพะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา รวมทั้งประเทศไทยด้วย....http://v-reform.org/v-report/tax_review1/
           

วันอาทิตย์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Tax

          ประเทศไทยนี่ภือว่าสัดส่วนรายได้จากภาษีตือ จีดีพี ยังต่ำมาก เมื่อเที่ยวกับรายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร แต่ที่นี้ผมเข้าใจว่าเสียงบ่นเรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาส่วนใหญ่มักจะเป็นกลุ่มคนที่มีอยู่ไม่มากนัก เพราะฉะนั้นถ้าจะจัดเก็บเพิ่ม มันก็จะโดนคนส่วนใหญ่..
          ถ้าดูจากพัฒนาการขอโครงสร้างภาษีที่ผ่านมาจะเห็นได้ชขัดๆ เลยว่า เราเสียภาษีกันน้อยเกินไป และไม่ใช่ลักษณะอัตราก้าวหน้า ซึ่งมันไม่น่าจะเป็นแบบนั้น แล้วอีกประเด็นหนึ่งคื อถ้าหากไม่อยากเสียภาษีมากขึ้นก็ต้องไปกดดันรัฐบาลว่า อย่าเอาเงินไปใช้จ่ายเยอะ หรือทำในส่ิงที่ไม่จำเป็น เพราะรายจ่ายของรัฐบาลกับการเก็บภาษีมันมาคู่กันเสมอ
        ในความเป็นรัฐ ัฐบาลก็มีความชอบธรรในการเรี่ยไรเงินจากประชาชนเพื่อนำไปบริหารจัดการไม่ใช่หรือ ต้องพึคงระึกไว้ว่ รายได้หลักของรับบาลประมาณร้อยละ 90 มาจากการจัดเก็บภาษีจากพวกเราเอง ยิ่ง้าเราเรียกร้องให้รัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นเท่าไหร่ รัฐบาลก็จำเป็จะต้องเก็บภาษีเรามากขึ้นเท่านั้น ถ้ามองประเทศไทยในภาพรวม รัฐบาลก็คล้ายกับ เอเจนต์ คนหนึ่งที่เอาเิงนของพวกเราไปซื้อของแทนเราหรือไปจัดการอะไรบางอย่าง ขณะเพียวกัน กิจกรรมอะไรก็ตามถ้าเราทำกันเองได้ก็อาจจะประหยัดกว่าหรือมีประสิทธิภาพมากกว่าที่รัฐบาลทำ
        มองในมุมที่ง่ายที่สุดอย่งเช่นอาหารการกิน ถ้าเราซื้อขายกันเองได้ อาจจะสะดวกกว่า รวดเร็วกว่าและได้อะไรที่เราต้องการมากว่า โดยที่เราอาจไม่จำเป็นต้องพึงรัฐบาล เพราะบางอย่างถ้าให้รัฐบาลทำแทนมนจะมีข้อเสียก็คือ ต้องผ่านระบบระเบียบขั้นตอนหลายขั้น เช่น ถ้าจะให้รัฐบาลซื้อข้าวแทนเราก็ต้องผ่านการอนุมัติจาก ครม. แล้ว ครม. จึงจะสั่งการให้หน่วยปฏิบัติไปหาข้าวให้เรามาจานหนึง ซึ่งมันส้ินเปลื่อง นียังไม่นับปัญหาเรื่องคอร์รัปชันอีก ซึ่งท้ายที่สุดเราอาจจะไม่ได้ของที่เราต้องการอย่างแท้จริง
         ในมุมองทางเศรษฐศาสตรื เราจึงต้องพยายามจำกัดหน้าที่ของรัฐบาลให้ทำอะไรเท่าที่จำเป็นเพราะเราไม่อยากให้เกิดการสิ้นเปลืองในระบบเศณาฐกิจมากนัก เและบทบาทหนึ่งที่เราคิดว่าเป็นหน้าที่ที่จำเป็นของรัฐบาลก็คื อการลดความเหลื่อล้ำ ถ้ารัฐบาลไม่ทำ เอกชนก็จะไม่มีแรงจูงใจที่จะทำด้วยัวเอง

          กลไกทางภาษีจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้อย่างไร...
          การลดความเหลื่อมล้ำในมุมมองเชิงเศรษฐศาสตร์ เริ่มต้นง่ายๆ คือดูที่รายรับกับรายจ่าย ทุกคนในสังคมควรจะมีรายรับกับรายจ่ายในลักษณะที่ใกล้เียงกัน รัฐบาลสามารถเข้ามามีบทบาทหน้าที่นี้ได้โดยใช้เครื่องมือหลักๆ 2 ส่วนคือ หนึ่ง การใช้จ่ายตามโครงการต่าง ๆ อาทิ โครงการ 30 บาทฯ โครงการเรียนฟรี..ซึ่งจะเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลจะใช้ในการลดความเหลื่อมล้ำได้
          การลดความเหลื่อมล้ำโดยใช้ภาษี มีแนวคิดง่ายๆ คื อคนที่มีความสามารถในการใช้จต่าเพื่อการอุปโภคบริโภคมากกว่า ควรที่จะเสียภาษีในอัตราที่สุงกว่า ส่วนคนที่มีความสามารถในการใช้จ่ายน้อยกว่าก็ควรที่จะเสียภาษีในอัตรที่ต่ำกว่า
           หมายความว่าถ้าคนที่รวยมากๆ มีรายได้ปีหนึ่งเป็นล้าน เขาบริโภคเพียงพออยุ่แล้ว เพราะฉะนั้นเขาก็ต้องมีความสามารถในการจ่ายภาษีเยอะกว่าคนที่มีรายได้ทั้งปี แค่ ห้าหมื่น ถ้าคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ตามสัดส่วนของรายได้ คนที่มีฐานะดีกว่าก็ควรจ่ายสัก 30-40 % ในขณะที่คนที่มีรายได้ต่ำมากๆ อาจจ่ายแค่ 0-10% ไปเลยก็ได้ หรือจ่ายแค่ภาษีมูลค่าเพ่ิม (VAT) 7% โครงสร้างแบบนี้มันจะทำหน้าที่ในการลดความเหลื่อมล้ำได้
           โครงสร้างภาษีของประเทศไทย หลักๆ มี 2 ประเภท ประเภอแรกคือ ภาษีเงินได้ ซึ่งเก็บจากคนที่มีรายได้หรือนิติบุคคล เช่น ดรงงานหรือกิจการที่มีรายได้โดยตรง แบบที่สองคือ ภาษีทางอ้อม ซึ่งจะจัดเก็บผานการอุปโภคบริโภคต่างๆ เช่น VAT
           ความแตกต่างของภาษีทั้ง 2 ประเภทนี้ก็คือ ภาษีทางตรงมันหลักถภาระไปให้ใครไม่ได้ เพราะเป็นการจัดเก็บจากผู้ที่มีรายได้โดยตรง ส่วนภาษีทางอ้อมอย่างเช่น VAT แม้ในทางทฤษฎีรัฐบาลจะจัดเก็บจากธุรกิจที่ขายสินค้า แต่ในทางปฏิบัติผู้บริโภคกลับเป็นคนจ่าย เพราะภาษีในลักษณะนี้ผุ้ขายสินค้าสามารถผลักภาระไปให้ผุ้บริโภคได้โดยการขึ้นราคา ถ้าเก็บภาษีเพ่ิมเขาก็ขึ้นราคา "ฉะนั้น การลดความเหลื่อมล้ำด้วยภาษีทางตรงจะสามารถทำหน้าที่ได้ดีกว่า แต่ภาษีทางอ้อมนี่ไม่ใช่เพราะถ้ายิ่งไปจัดเก็บกบสินค้าที่จำเป็นต่อการอุปโภคบริโภค มันจะมีผลกระทบกับทุกคน ไม่ว่าคนรวยหรือคนจน..https://waymagazine.org/interview-pawin/

วันเสาร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Zakat

             ซะกาด หรือ ทานประจำปีหมายถึงทรัพย์สินส่วนเกนจำนวนหนึ่ง ซึงมุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผุ้มีสิทธิได้รับเมือ่ครบรองปี ถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สิน เงินทาง สินค้าที่เหลือในรอบปีแล้วไม่ทำการบริจาก ผุ้นั้นก็ผู้หนึ่งที่ทำผดบัญญัติของอิสลานและยังถือเป็นการผิดกฎหมายในบางประเทศที่ใช้กฎหมายอิสลามในประเทศไทยมุสลิมจำเป็นต้องจายทั้งซะกาตและภาษี ในอัลกุรอานได้กล่าวถึงการบริจาคฐะกาตว่า "หัวใจของการบริจาคทานคื อการเสียสละเพื่อคนขัดสนและยากจน คล้ายกับการเสียสละเผยแผ่คำสอนอันศักดิ์สิทธิ์ของกุรอาน")
           ซะกาตเป้นส่วนหนึ่งที่จะมาควบคุมความสมดุลทางเสราฐกจิ จริงหรือไม่ และแตกต่างจากภาษีอย่างไร
           ตอบว่าจริง เพราะซะกาตจะช่วยให้ผุ้คนมีความเท่าเที่ยมกัฯ เช่นผุ้ที่รวยก็จำเป็นต้องจ่ายซะกาตให้กับผุ้ที่ยากจน แต่ผุ้ที่ยากจนไม่ต้องจ่ายและการที่คนจนได้รับซะกาตเขาจะไม่ต้องร้องขอแต่เป็นสิทธิของเขาที่เขาจะได้รับอยู่แล้ว

           ซะกาตเป็นส่นนหนึ่งี่จะมาควบคุมความสมดุลของเศราฐกิจ โดยรัฐเปนผุ้ควบคุม นักวิชาการ ในรัฐอิสลามได้วินิจฉัยแะเห็นพร้มกันว่า "ระบบเสณฐกิจอิสลาม"คือวิธีการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ
            ความสำคัญขอซะกาตที่มต่อเศราฐกิจและสังคมผลของซะกาตทางด้านเศณาฐกิจ
            - ผลต่อการงานที่ก่อให้เกิดการผลิต โดยปกติแล้วซะกาตมีแนวโ้มที่จะให้นทำงานก่อผลผลิต เพราะทรัพย์สินที่ไม่ไ้นำมาใช้ประโยชน์นั้นย่อมต้องจ่ายซะกาตเช่นเดียวกน จึงเป้นแรงกระตุ้นให้บุคคลนั้นทำงานอยุ่ในตัว ท่านร่อซู้ลกล่าวว่า "จงนำทรัพย์สินของเด็กกำพร้าไปประกอบธุรกจ อย่าปล่อยให้หมดไป เื่องจาการออกซะกาต"
             ถ้าหากท่านร่อซู้ลกำชับให้คนดุแลทรัพย์สินของเด็กกำพร้า นำไปก่อให้เกิดประโยชน์คนอื่นๆ ที่มีทรัพย์สินก้ต้องทำการค้าขายหรือนำไปลงทุนจนเกิดผลประดยชน์เช่นกันเพราะซะกาตนั้น เป้นส่งิที่บังคับให้จ่าย ไม่วาจะเป็นผุ้นำทรัพย์สินไปประกอบกิจการในการลงทุนหรือเก็บทรัพย์สินของตนไว้เฉยๆ  การแจกจ่ายซะกาตแก่ผุ้ที่เีก่ยว้องกับ 8 จำพวกตามที่อัลกุรอ่านได้ระบุไว้ มีผลทางเศณาฐกจิมากมาย เช่นคนที่รับซะกาตจะใช้ไปเพื่ออุปโภค บริโภค ซึ่งจะกระตุ้นให้ผลผลิตทำการผลิตตามความต้องการของผุ้บริโภคนั้นได้
             ผู้ที่มีหนี้สินล้นตัวจนไม่อาจกู้ฐานะกลับสภาพเดิมได้นั้น เปฯผุ้หนึ่งในบรรดาผุ้มีสิทธิ์รับซะกาต จึงมีหลักประกันและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผุ้ให้กู้ว่าทรัพย์สินที่เขาให้กู้นั้นจไม่สูญเปล่า การกุ้ยืมเพื่อนำปลงทุนประกอบกิจการการต้าก็สามารถดำเนินงานต่อไปได้
            - ผลต่อการกระจายรายได้ ซะกาตมีบทบาทสำคัญในการกระจายรายได้ในสังคม ด้วยการเอาบางส่วนจากทรัพย์สินขงผู้มังคั่งในสังคมไปแจกจ่ายแก่ผู้มีสิทธิ์ได้รับนั้น ก็หมายถึงสังคมส่วนใหญ่จะมีอำนาจซื้อที่สามารถกระตุ้นให้เกิดการผลิตทางอ้อม
           - ผลของซะกาตต่องาน ซะกาตมีผลสนับสนุนห้คนมีงานทำ ทั้งนี้เพราะคนที่ไม่มีงานทำจริงๆ จะได้รับซะกาต เืพ่นำไปลงทุนทำงานด้วยตนเอง
           ซะกาต คือ ทรัพย์สินส่วนหนึ่งที่บุคคลผู้ที่มีหน้าที่ต้องจ่ายไปในหนทางของอัลลอฮ์ และจ่ายให้แก่ บุคคลที่มีสิทธ์ที่จะรับคือ บุคคล 8 จำพวก ได้แก่ คนยากไร้ คนขัดสนเจ้หน้าที่ซะกาต คือพวกคนงาน หรือเจ้าหน้าที่เก็บซะกาต ผุ้ศรัทธาใหม่ ใช้ในการไถ่ทาสคนมีหนี้สิน ที่ไม่สามารถชดใช้ได้ พวกนักรบอาสาในสงครามเพื่อปกป้องศาสนาและคนเดินทางที่มีวัตถุประสงค์ที่ไม่ผิดต่อหลักศาสนา
            วิธีการจ่ายซะกาตแก่ผุ้มีสิทธิ์ ให้จ่ายซะกาตแก่ผู้มีสิทธิ์จาก 8 จำพวกในท้องถ่ิน
            - ถ้าหากมีครบ 8 จำพวก จำเป็นจะตองจ่ายให้ครบทุกจำพวก ไม่ยินยิมให้งดเว้นจำพวกใดจำพวกหนึ่ง
            - ถ้าหากไม่ครบ 8 จำพวก ก็ให้จ่ายแก่จำพวกที่มีอยุ่
            - ถ้าหากส่วนแบ่งขชองจำพวกใด ที่แต่ละคนในจำพวกนั้นได้รับมากเกิดนความต้องงการแล้ว ให้จ่ายส่วนเกินแก่จพวกอื่นๆ
            - ให้แบ่งซะกาตแ่กจพวกที่มีอย่างเท่เที่ยมกัน แม้ว่าความจำ
           สวนภาษี คือ สิ่งที่ผุ้มีรายได้ทุกคนต้องจ่ายเืพ่อพัฒนาท้องถิ่น สังคม หรือประเทศชาติจ่ายให้กับรัฐ
           บทบาทและเป้าหมายของซะกาต เป้ฯที่ประจักษ์ว่า เป้าหมายระบบเศรษฐกิจั้งหลายต่างมุ่งมั่น สร้างความสมดุลขึ้นในสังคม อิสลามถือได้ว่าเป็นระบบการดำเนินชีวิตแรกสุดที่พยายามทุกวิถีทางที่จะผลักดันเป้าหมายดังกล่าวสู่ภาคปฏิบัติอย่างจริงจัง ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งบทบัญญัติต่างๆ ที่มีระบุไว้ในอัลกุรอาน บทบัญญัติเบพื้อต้นในระบบเสราฐกจิอสลาม จึงกำชับให้รัฐเป็นผุ้ทำหน้าที่ในการณรงค์แก้ปัญหาความยากจน มิได้ดำเะนินการโดยจิตสำนึกของชนชั้นที่ครอบครองผลประโยชน์ภายในัฐ อิสลามจึงกำหนดซะกาตต่างๆ เืพ่อสนองเป้าหมายดังกล่าวทั้งนี้เพื่อเจตนารมร์อันสุงสุด ในการประทานอัลกุรอาน นั้นเพื่อสถาปนาประชาชาติแบบอย่างและจัดการระเบีบวสังคม เพื่อพิทักษ์ดลกให้อยุ่ในระบบที่ถุกต้องมั่นคง การเรยกร้องเชิญชวนในอัลกุรอานจึงมีลักษณะสากลเพื่อให้มนุษย์โลกทั้งมวล โดยใช้หลักการศรัทะาเป็นแกนนำในการสร้างความผุกพัน
         
ด้วยเหตุนี้อัลกุรอานจึงนำเสนอหลักการต่างๆ ประกันความเป็นปึกแผ่นระหว่างสมาชิกสังคม และระหว่างสังคมทั้งหลายทำให้สังคมทุกระดับ มีความสงบสุขและเชื่อมั่นในการติดต่อและพันธสัญญา
            ส่วนหนึ่งจากหลักการดังหล่าวคื อหลักสวัสดิการสังคมซ฿่งแทรกซึมอยุ่ใระบบอิสลาม ซึ่งเร่ิมจาหน่วยทีเล็กที่สุดของสัคม คื อครอบครัวไปสู่สาะารณะชน
           อิสลามถือว่าวัตถุนั้นคื สือสงเสริมการปฏิบัติทางจิต เตพื่อบรรลุถึงความรักต่ออัลลอฮ์ จึงเสนอกฎเกณฑ์แห่งสัญชาติญาณ การปลดอล่อยมุนษย์จากความเป้ฯทาศจนกระทั้งมนุษย์มีอสิรภาพด้านวิถตถุ หลุ่มพ้นจาการอัปยศแห่งการของและความไม่เป็นธรรมในสังคม
          ซะกาตมีความแกต่างจากภาษี เพราะซะกาต จะเก็บจากผุ้มั่งมีให้กับผุ้ยากไร้ที่กำหนดสิทธิในการเป้นผุ้รับตามศาสนบัญญัติ ได้แก่ พวกคนจน คนอนาถา คนเดินทง ผุ้เข้ารับอิสลามใหม่ ในการไถ่ทาส ผุ้ที่มีหนี้สินท่วมตัว ผุ้ทำหน้ามี่รวบรวมซะกาต และในหนทางของอัลลอฮ์(นักรบในศาสนา)
           ส่วนภาษี รัฐจะเรียกเ็บจากผุ้ที่มีรายได้ต่างๆ เช่นภาษีรายได้จากบุคคล ภาษีโรงงาน ภาษาที่ดิน และภาษีอื่นๆ ซึ่งจะต้องประเมินจากอัตราของรายได้ และมีโอกาสเรียกเก็บย้อนหลังได้ ดดย ที่มิได้กำหนดภาษีว่าจะต้องตายตัว แพระาจาการประเมนิส่ิงเียวที่คล้ยกับซุกาตก็คือ รายได้แตกต่างกันตรงหลักการ....http://muslimchiangmai.net/index.php?topic=3355.0;wap2

วันศุกร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Gap and problem...

             ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็นระบบเศราฐกิจที่ให้เสรีภาพแก่ภาคเอกชนนการเลือกดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจโดยเอกชน มีกรรมสิทธิในทรัพย์สินและสามารถเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต รวมถึงเศรษฐทรัพย์ต่างๆ ที่ตนหามาได้ มีเสรีภาพนการประกอบะุรกิจ ส่วนผุ้บริโภคสามารถที่จะเลือกอุปโภคบริโภคสินค้า และบิรการต่างๆ ได้อย่างอิสระเสรี แต่ทั้งนี้เสรีภาพดังกล่าวจะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายหรือการดำเนินการใดๆ จะต้องไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของบุคคลอื่น
             โดยระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจะขับเคลื่อนได้ด้วยระบบการแข่งขันางด้านราคาและระบบตลอดา ซึงเป้นกลไกสำคัญในการจัดสรรทรัพยากร และกำหนดเศราฐกิจว่า จะผลิตอะไร เพื่อใคร และอย่างไร ส่วนการกระจายสินค้าและบริการ ขึ้นอยู่กับความต้องการของผุ้บริโภค ทั้งนี้ความต้องการของผุ้บริโภคจะบอกถึงมูลค่า หรือเป็นตัวกำหนดราคาสินค้าและบริการ....
              โดยรัฐบาลจะมีหน้าที่ควบคุมกฎ กติกาและดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองเพื่อให้กลไกตลาดทำงานได้ และห้ามเข้ามาแทรกแซงหรือำหน้าที่จัดสรรทรัพยากรแทนตลาด ปล่อยให้ตลาดจัดสรรทรัพยากรเองไปตามธรรมชาติ และทำหน้าที่ป้องกันประเทศเท่านั้น
              ระบบทุนนิยคม ทำให้เกิดการพัฒนาทางเศราฐกจิที่รวดเร็ว เพราะประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจ สามารถเลือกตัดสินใจดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามที่ตนถนัน กำไร และกรรมสิทธิในทรัพย์สิน เป้ฯแรงจูงใจที่ทำให้การทำงานเป็นไปอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากผลิตได้มากน้อยเท่าไร ก็จะได้รับผลตอบแทนเท่าใน ซึ่งในขณะเดียวกันระบบทุนนิยมก็มีข้อบกพร่องเช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป้ฯความเหลื่อมลำทางเศษรฐกิจที่เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนมาก มีลักษณะการกระจุกตัวของรายได้หรือ "รวยกระจุก จนกระจาย" ซึ่งส่งผลให้เกิด ความยากจน การว่างงาน ความไม่เสมอภาค จนเกิดการแย่งชิงทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียมกันอันเนื่องจากความสามารถที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคล ผุ้ที่มีความสามารถสูงกว่าจะเป็นไดเปรียบ ตลอดจนราคาหรือกลไกตลาดยังไม่ใช่เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเพียงพอสำหรับการจัดสรรทรัพยากรของระบบเศราฐกิจเรพาะสินค้าและบริการบางอย่างมีการผูกขาดหรือเ็ฯสินค้าสาธารณะซึ่งจะต้องใช้เงินลงทุนมาก อาจ เสี่ยงกับภาวะขาดทุน หรือไม่คุ้ค่าในเชิงเศราฐกิจ ..ราคาจึงไม่สามารถเข้ามาทำหน้าที่ในการจัดสรรพทรัพยากรได้ อีกทั้งระบบการแข่งขันหรือกลไกราคาอาจทำให้การใช้ทรัพยากรทางเศณฐกิจอย่างสิ้นเปลือง...และอื่นๆ อีกมากมากย ดังนั้นหลายท่านึงเชื่อว่า การพัฒนาที่ยังยืนเป้นอีกแนวคิดหนึ่งที่จะสามารถเข้ามามีบทบาทในการจัดการแก้ไขปัญหาของระบบทุนนิยมได้http://oknation.nationtv.tv/blog/HotTopic/2011/10/30/entry-1
           
 ปัญหาจากช่องว่าทางสังคม
             นักบวชท่านหนึ่งซึ่งศึกษาทางด้านปริญญาเอกจากสถานทบันการศึกษาต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และบวชพระอยุ่ 25 พรรษา ได้เคยอธิบายคำว่า "ทุกข์" ความจริงความหมาย "ทุกข์" มาจากสิ่งที่เรียกว่าช่องว่างที่ไม่ดี ตัวอย่างเช่น การล่าสัตวืมาแต่ละครั้งจะต้องมีการจัดสรรปันส่วนอย่างยุติธรรมมากน้อยตามลำดับ แต่เมื่อใดก้ตามคนที่อยุ่ระดับเีดยวกันที่ควรจะได้เท่ากันได้รับส่วนแบ่งไม่เท่ากันก็จะเกิดช่อง่าง ซึ่งแน่นอนย่อมนำไปสู่ความไม่พอใจอาจนำไปสู่ความขัดแย้ง แลเป็นเหตุแห่งทุกข์
            ทุกข์ในแง่นี้จึงมาจากการเกิดช่องว่า วิะีการแก้ปัญหาก็คือพยายามปิดช่องว่าง เช่นคนที่ได้รับเงินเดือนๆ ละ หมื่นห้าพันบาท แต่คาดหวังว่าจะได้ เป็นสองหมื่นห้าพันบาทเมื่อไม่สามาถจะขอให้ขึ้นเงินเดือนได้ตามที่ต้องการก็อาจหางานใหม่ที่มีรายได้ใกล้เคียนี้คือวิะีการปิดช่องว่าง อีกวิะีกนึ่งก็คือการยอมรับสภาพโดยไม่เรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงแล้วอยุ่กับความเป้นจริงอันนั้น อันนี้เท่ากับเป้นการทำใจหรือปลงเพื่อมไ่ให้เกิดชอง่าง ซึ่จะไม่นำไปสู่ความเกิดการทุกข์ใจ
            สำหรับช่องว่างของคนที่ยอยุ่ในสังคมเดียวดัน และเมื่อใดที่เกิดชองว่างก็มักจจะนำไปสู่ปัญหา..โดยเฉาพะอย่าฝยิ่งคำว่า "ยุติธรรม" ความยุติธรรมสำหรับคนๆ หนึ่งอาจเป็นความไม่ยุติะรรมสำหรับอีกคน หนึ่ง กลับกันฉันใดก็ฉันนั้น ช่องว่างจึงเป็นที่มาของปัญหาโดยมีลักษณะต่างๆ ดังนี้ คือ
            - ช่องว่างระหว่างวัย ความแตกต่างระหว่างมุมมองปัญหา วิธีการแก้ปัญหา เป็นต้น
            - ช่องว่างระหว่างความรุ้ ความแตกต่าอาจเนื่องมาจากพื้นฐานทางความรุ้และภูมิหลัง รวมทั้งระบบความคิดซึ่งไปคนละทิศละทาง
            - ช่องว่างระหว่างความคิด เมื่อความรู้ต่างกัน ความคิดก็อาจจะต่างกัน หรือแม้ความรุ้ใกล้เคียงกัน ก็อาจจะต้างอุดมการณ์ ต่างประสบการณ์ ต่างความเชื่อ ต่างค่านิยม ซึงจะนำมาสุความคิดที่ไม่สามารถจะเข้ากันได้ ช่องว่างระหว่างความคิดเป็นของความขัดย้วงที่รุนแรงเพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับนามะรรม ความถุกผิด ความดีชั่ว ซึ่งทุกคนมีจุดยืนของตนเอง มีค่านิยมที่ตนต้องการรักษา มีศรัทะาและความเชื่อที่ไม่อยากให้ใครมาเปลี่ยนแปลง ช่องว่างระหว่างความคิดมีอยู่ในสังคมทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมระยะเปลี่ยนผ่าน
           - ช่องว่างระหว่างมาตรฐานศีละรรม
           -ช่องว่างระหว่าเงินตรา
           - ช่องว่างระหว่างการบริหารจัดการ
           - ช่องว่างระหว่างวัฒนะรรม
           - ช่องว่างระหว่างเทคโนโลยี
           แต่สิ่งที่จะเกิดขึ้นในสังคมก็คื อความขัดแย้งระหว่างช่องว่างต่างๆ เช่น คนรวยกัยคนจนมีความขัดแย้งเรื่องเงินตร แต่คนจนก็รู้ภุมิหลังคนรวยว่าเป็นคนไร้ศีลธรรม และถ้าหากคนที่มีรายได้น้อย เป็นมีความรุ้ มีการศึกษา ในขณะที่คนที่ร่ำรวยกว่านั้นอาจจะมีระดับการศึกษาที่ไม่สุง มีความคิดทีตื้นเขินและผิวเผิน ก็จะกลายเป็นช่องว่างระหว่างความรุ้และความคิด ..ย่อมเห็นว่แม้ช่องว่างทางการเงินจะต่างกันแต่ช่องhttps://www.siamrath.co.th/n/1832
ว่างทางด้านอื่นๆ ระหว่างสองคนนี้ก็สามารถทำในมีความภาคภูมิใจในส่วนที่ดีของตน ในแต่ละคน...
           
ปัหาช่องว่างความแตกต่างอีกปัญหาคือ ปัญหาอันเนหื่องมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนดลยี เกิดขึ้นเนืองจากความจริงที่ว่าประชาชนทุกคนไม่มีความรุ้และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนดลยี หรือไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อรับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของภาครัฐในครั้งนี้
            ภาพที่เกิดคื อกลุ่มประชาชนผุ้ไม่มีความรุ้ความสามารถ หรือไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี ได้อย่างเท่าเทียม มีแนวโน้มที่จะถูกละเลยและไม่ได้รับบริการจากภาครัฐอย่างเหมาะสมหรือเท่าที่ควร
            ลักษณะความรุนแรงของปัญหานี้ในแต่ละประเทศ เป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยสะท้อนความมีวิสัยทัศนืและควาต้ั้งใจจริงของภาครัฐบาล รวมถึงเหตุผลเบื้องหลัง การลงทุนในโครงการทางเทคโนดลยี ที่มีมุลค่ามหาศาลในครั้งนี้ ของประเทศนั้นๆ ว่ามีการงางเป้าหมายสูงสุดยอุ่ที่สิ่งใด ซึ่งโดยทัวไปอาจถูกปบ่งออกได้เป็นสองประเภท
           - เพื่อยกระดับการทำงานของระบบงานภาครัฐทั้งระบบ โดยการปรับให้มีระบบการทำงานพื้นฐานอยุ่บนระบบคอมพิวเตอร และเชื่อมดยงระหว่างหน่วยงานผ่านระบบอินเตอร์เนต ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้ประสิทธิภาพในการทำานของภาครัฐ มีการพัฒนาขึ้น
           - การทำให้ทั้งประเทศได้รับประโยชน์ จากการลงุทนในครั้งนี้ ึ่งแนนอนว่าหนึ่งในตัวแปรชี้วัดความสำเร็จของโครงการนี้ จักต้องรวม การวัดความสำเร็จของการทำให้ภาคประชาชน สามารถเขาถึงหรือเข้ารับบริการภาครัฐบนเครือข่ายอินเตอร์เนต รวมทั้งการให้ความรุ้แลสร้างความสามารถ ให้กับภาคประชาชนในการใช้งานเทคโนดลยีที่เกี่ยวข้อง ได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันนั้นหมายคึวามว่า โครงการ อี-กอปเวอร์เม้นต์ ในหลายๆ ประเทศ กำลังประสบความล้มเหลว เนื่องจากไม่สามารถตอบสนองเป้าหมายสูงสุดของโครงการได้....
            ....ปัญหาดิจิตทัล เป็นปัญหาที่ทุกประเทศต้องให้ความใส่ใจและำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วนแลเท่าทันเนื่องจากเป็นปัญหาที่มีต้องพิจารณาแก้ไขจากด้านอื่นๆ นอกเนหือจากเทคโนโลยี และต้องใช้ระยะเวลานานในการดำเนินแก้ไข...https://blogazine.pub/blogs/sensemaker/post/1542
             

วันพฤหัสบดีที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2560

CLMV

             เร่ิมแรกการก่อตั้งอาเซียนมี5 รัฐร่วมก่อตั้ง ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย ได้รวมตัวก่อตั้ง หลังจากนั้นจึงค่อยๆ รับสมาชิกเพ่ิมเติมเรื่อยมา กระทั้งปัจจุบัน มี 1= ประเทศ สำหรับกลุ่มประเทศ clmv อันได้แก่ ลาว พม่า เวียดนามและกัมพุชาได้ทยอยเข้าเป็นสมชิกในอาเซียนโดยเวียดนามเข้ามาเป็นสมาชิกในปี ค.ศ. 1995 ตามด้วยลาวและเมียนมาร์เข้าเป็นสมชิกในปี ค.ศ. 1997 และกัมพุชาในปี 1999 ซึ่งสี่ประเทสดังกล่าวมีความแตกต่างกับประเทศสมชิกผุ้ก่อตั้งอย่างมากทั้ง ท่างด้าน เศรษฐกิจ ระดับการพัฒนา และรอบอบการเมืองการปกครอง
         
 ลักษณะของกลุ่มประเทศ clmv อยู่บนคาบสมุทรอินโดนคน มีพรมแกนติดต่อกัน และยังเป็นปเ็นหลุ่มประเทศที่เข้าร่วมเป้นสมาชิกอาเซียนในภายหลัง อย่างไรก็ตามการเข้ารวมดังกล่าวได้ตกอบยำ้ความแตกต่างทางด้านเศราบกิจและการเมืองของกลุ่มประเทศอาเวียน clmv เป็นกลุ่มประเทศที่มีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของเศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และเป็นกลุ่มประเทศที่พัฒนาค่อนข้างช้าเมื่อเปรียบเที่ยบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้แต่อย่างไรก็ตามหลังจากที่ความขัดแย้งในประเทศเลห่านี้เร่ิมคลี่คลาย กลุ่มประเทศ clmv ก็ได้รับความสนใจจากนักลงทุนต่างประเทศ เรื่องจากมีเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นตลาดเปิดใหม่ มีทรัพยากรทางธรรมชาติทีอุดมสมบูรณ์และมีความไดเปรียบในเรื่องค่าจ้างแรงงานที่ต่ำกว่าประเทศเพื่อบ้านในภุมิภาคเดียวกัน
           - กัมพูชา หลังจากสงครามได้ผ่านพ้นไป กัมพุชาก็เป็นปรเทศที่มีอตราการเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจสูง โดยเฉพาะเศรษบกิจระดับมหภาคที่มีเสถียรภาพ โดยเศรษกบิจของกัมพูชามีการเติบโตสุงกว่าร้อยละ 7 ต่อเนื่องระหว่างปี ค.ศ. 2010-2014 อย่าไรก็ตามกัมพุชายังประสบปัญหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาิตอย่างิส้นเปลื่องไปเพื่อการพัฒนาประเทศ และยังมีปัญหาความยากจน ความ
ขาดแคลนบุคลากรคุณภาพ และความสามารถในการแข่งขันทางการต้ากับประเทศเพื่อบ้าน
         - ลาวปรารถนาที่จะพัฒนาประเทศให้พ้นจากสภาพประเทศด้อยพัฒนา ภายในปี ค.ศ.2020 และขจัดปัญหาความยากจนภายในปี ค.ศ. 2010 แม้จะประสบอุปสรรคมากมาย เช่น การขาดแคลนแรงงานที่มีฝีือ ขาดโครงสร้างพื้นฐานที่ดี และข้อจำกัดด้านภูมิศาสตร์ที่ไม่มีทางออกทะเล รัฐบาลลาวมุ่งหมายที่จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาการท่องเที่ยวซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะสามารถเปลี่ยนแปลงลาวให้กลายเป็นประเทศแห่งการเชื่อมต่อ ซึ่ลาวมีควมต้องการที่จะสามารถใช้ท่าเรือประเทสเพื่อนบ้านได้เพื่อนำเข้าและส่งออกสินค้าตน รวมไปถึงระบบถนนและระบบรางรถไฟด้วย โดยลาวได้เริ่มโครงการก่อนสร้างทางรถไฟระยะทาง 220 กิโลเมตร จากเมืองไกสร พมวิหาร แขวงสะหวันนะเขต ไปยังเมืองลาวบาวซึ่งมีทางรถไฟเชื่อมต่อกับท่าเรือน้ำลึกหมีถวี ซึ่งอยุ่ในตอนกลางของประเทศเวียดนาม โครงการนี้มีเป้าหมายว่าจะช่วยให้ลาวแก้ปัญหาการเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลได้ นอกจากนั้นในวัที่ 27 มิถุนายน 2015 ลาวและเวียดนามได้มีความตกลงทวิภาคีในเรื่องการต้าและการขนส่งข้ามพรมแดนเพื่อให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าและเงนตราระหว่างกันง่ายขึ้น
           
- เมียนมา มีทรัพยากรธรรมชาติล้นเหลือ มีแรงงานราคาถุกและเป็นตลาดใหญ่ท่น่าลงทุน มีความได้เปรียบทางด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยุ่กระว่างอินเดีย อาเซียน และจีน แต่การจัดการทางด้านนโยบายการส่งเสริมการลงทุนยังขาประสิทะิภา เมียนมามีความจำเป็นต้องปฏิรูประบบการเงิน ระบบธุรกิจขนาดเล็กและขนดากลาง เพื่อเพิ่่มขีดความสามารถในการแ่ข่งขันให้สุงขึ้น
            - เวียดนาม เวียดนามได้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจเมื่อปี ค.ศ.1986 จนมีทำให้ปัจจุบัน เวียดนามมีพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่แข็งแรง และเมื่อได้เข้าร่วมอาเซียน เวียดนามก็ได้พัฒนาด้านการลงทุนจากต่างชาติ และได้ผลตอบรับอย่างดี
             ช่องว่างระห่วางกล่ม clmv กลับสมาชิกอาเซียนอื่นๆ และแนวทางการแก้ปัญหา
             clmv เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนในช่วงที่เศรษฐกิจอาเซียนกำลังเฟื่องฟู แต่ก็ยังพบการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกันอยุ่บ้างในกุ่มประเทศหกประเทศนั้น clmv ประกอบด้วยกลุ่มประเทศที่พัฒนาค่อนขางช้า ได้เขามาก็จะยิ่งตอกย้ำความแตกต่างซึ่งจะเป็นการยากในการจะรวมเศรษบกิจดันซึ่งเป็นเป้าหมายในอนาคตของอาเวียน มีหลายฝ่ายที่วิตกว่าระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่แกตต่างกันอย่างมากนี้จะทำให้การรวมเศรษบกิจในกลุ่มอาเว๊ยนไมาประสบความสำเร็จอย่างไรก็ดีกลุ่ม พัฒนาล่าช้า ก็ตระกนักถึงข้อจำกัดของตนเองและต่างก็ร่วมกนพัฒนาตนเองเพื่อให้ทัน กลุ่ม อาเซียน หก
             โดยในปี ค.ศ. 2002 อาเซียนได้ออกผนงาน ที่มีจุดประสงค์เพื่อลดช่องว่างระหว่างทั้งสองกลุ่ม โดยอำนวนความสะดวกใน นโยบายพัฒนาประเทศ และกอรบงานต่างๆ ที่มีส่วนช่วย นอกจากนี้ยังสนับสนุนกลุ่มประเทส พัฒนาล่าช้าในเรื่อง ปัญหาความยากจน มาตรฐานการครองชีพ การบริการสาธารณะเพื่อให้ก้าวทันเศราฐกิจโลก ปัจจุบัน กลุ่มประเทศ พัฒนาล่าช้า มีการปรับปรุงระบบและเกิดการลงทุนใหม่ ๆ อย่างรวดเร็ซ จนเกิดปรากฎการณ์คอขวดในกลุ่ม นี้ คือกรณีที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจเกินกว่ที่ระบบสาธารณุปโภคและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศจะรองรับได้ซึ่งอาจทำให้แม้จะมีการลงทุนจำนวนมากในประเทศก็จริง แต่อกาจมิส่งผลประโยชน์แก่ประเทเศเหล่านั้นอย่างแม้จริง ซึ่งแนวทางในการแก้ไขปัญหานี้อาจทำได้โดยการ
           
- เร่งสร้างโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเพื่อรอบรับการลงทุน เช่น ระบบกฎหมาย การคนนาคมและขนส่ง และการบริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน เป็นต้น
            - ปรับปรุงกฎระเบียบมาตรการต่าง ๆให้ชัดเจน และครอบคลุมปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น กฎระเบียบการขนสงข้าแดน ภาษีอากร การตรวจคนเข้าเมือง นอกจานี้ควรปรับให้ใช้มตฐานเดียวกันเพื่อความสะดวกรวดเร็วด้วย
           แม้ว่ากลุ่มพัฒนาล่าช้า จะเข้อาเวียนในลำดับหลัง แต่ก็ตระหนัถึงศักยภาพที่จำกัดของตนในการบรรลุเป้าหมายรวมกัน จึงอาจก่อให้เกิดอุปสรรและความล่าช้าในการวมกลุ่มประเทศอาเวียน แต่อย่างำรก็ตามหลังจากที่ได้รวตัวกันเป็นอาเวียนครบทั้งสิบประเทศแล้ว กลุ่ม นี้ก็พยายบามพัฒนาตัวเองตลอดเวลา ทั้งนี้ก็ด้วยความช่วยเหลือจากสมาชิกกกลุ่มด้วย แม้จะอยุ่ท่ามกลางความไม่แน่นอนของเศราบกิจตลอดโลก แต่ตัวเลข จีดีพี กลับเพ่ิมขึ้นสวนกระแสเศรษฐกิจอื่นๆ ดดยมีการแสการลงทุนจากต่างชาติจำนวนมากจนน่าจับตามองอย่างยิงในขณะนี้.....http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8_CLMV_%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0ASEAN_6

วันพุธที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Gap

              อย่าให้ "ช่องว่าง" 4.0 เป็นปัญหาใหม่ของประเทศ
              การพัฒนาประเทศในรูปแบบยืมจมูกคนอื่นหายใจ ดดยเฉพาะการพัคงพาอากรลงทุนและเทคโนดลยีจากต่างประเทศ อันเป้ฯนโยบายที่ประเทศไทยเรานำมาใช้ตลอดระยะเวลาของการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 จนถึงปัจจุบัน
              ดังจะเห้ฯได้จากล่าสุดได้มีการเชิญชวนนักลงทุนต่างประเทศ ให้มาลงทุนในเขตเศราบกิจพิเศษภาคตะวันออก หรืออีอีซี ส่งผลให้มีนักลุทุนจากญี่ปุ่นกว่าุ 600 ราย เดินทางมาประชุมหารือกับฝ่ายไทย ซึ่งในประเด็นของ"ช่องว่าง"ของรายได้ ที่จะทำให้ประเทศไทยที่มีปัญหาอยู่แล้ว มีปัญหามากขึ้นอีกในอนาคต
               และประเด็นูแลเรี่องกระจายรายได้ ซึ่งอาจจะมีแล้วแต่ไม่ได้มีการทำประชาสัมพันะ์มากนัก ประกอบกับแผนพัฒนาฉบัยที่ 5 พ.ศ. 2525-2529 อันเป็นแผนพัฒนาที่ร่างขึ้นในยุค พล.เอก เปรม เป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่วมีดครงการเอกมทีกลายเป็นโครงการต้นตระกุลสำหรับโครการ พัฒนาระเบียบเศราฐกิจภาคตะวันออก หรืออีอีซี ที่เป็นโครงการช้างเผือกอยุ่ในขณะนี้ ได้แก่โครงการ "อีสเทิร์นซีอร์ด" หรือแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ที่ประสบความสำเร็จอข่างล้นหลามนั่นเอง
             แผนพัฒนาฉบับที่่ 5 เขียนไว้อย่างชัดเจนว่า จะมุ่งหน้าพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่แต่อย่างเดียวไม่ได้ เพราะจะเกิดช่องว่างของรายได้ขึ้นอย่างมหาศาล จำเป็นจะต้องมี แผนพัฒนาชนบบากจน เพื่อที่จะดูแลคนยากจนในชนบทที่อาจมิได้รับประโยชน์จากโครงการพัฒนาอีสเทิร์นซีบอร์ด หรือโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นๆ เลยควบคู่กันไปด้วย จึงเกิดการพัฒนาคู่ขนานไปทั้ง 2 ด้าน คือ ทั้งแผนพัฒนาอุตสาหกรรม ที่มีดครงการอิสเทิร์นซีบอร์ดเป็นหัวหอก กับการ พัฒนาชนบทยากจน ในพื้นที่ชนบททั่วประเทศไทย และก็ประสบความสำเร็จอย่างน่าพอใจทั้ง 2 ด้าน   
           
โครงการ อิสเทิร์ซีบอร์ด ทไใ้ผลิตภัณฑ์ประชาชาติโดยรวมของประเทศไทยเพ่ิมสูงขึ้น และเมื่อบวกกับการพัฒนาอื่นๆ ด้วย เราจึงทะลุขึ้นมาเป้นประเทศรายได้ปานกลางขั้นสูง หลุดพ้นจากนิยามความเป็นประเทศยากจนโดยสิ้นเชิง
             ขณะเดียวกัน จำนวนคนจนของประเทศก็ลดลงอย่างมาก เมื่อเทียบกับยุคก่อนที่จะมีการพัฒนา และถึงแม้รายได้ของคนจน ไทยอาจจะไม่สูงมากนัก แต่สิ่งหนึ่งที่แผน 5 แผน 6 ทำไว้ก็คือ คนไทยส่วนใหญ่ได้มีสิ่งที่เรียกว่า "ความจำเป็นพื้นฐาน" เกือบครบถ้วน เรียกกันในสมัยนั้นว่า จปฐ. หรือ บริการพื้นฐานด้านการศึกษา, สาธารณสุข, มีบ้านอยู่อาศัย, มีถนนเชื่อมถึง, มีไฟฟ้าใช้, มีน้ำสะอาดดื่มครบทุกหมู่บ้านฯลฯ ที่สำคัญก็คื อในช่วงของการพัฒนาดังกล่าว เราจะมองเห้นความเชื่อมโยงระหว่างการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือภาคบริการอย่างชัดเจนว่า ส่วนใหย่จะใช้แรงงานจากชนบทไทยมากที่สุด คือ จาภาคอีสาน และภาคเหนื อมิใช่ใช้แรงงานต่างด้าวดังเช่นในยุคนี้
            ทำให้เกิดความห่วงขึ้นว่า บนเส้นทางใหม่ที่เรากำลังจะเดินและจะต้องยืมจมูก "ต่างประเทศ" มาช่วยหายใจหลายๆ จมูจะไหวหรือ...ทั้งเรื่องทุน เรื่อเทคโนลโลยี และเรื่องแรงงานขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นแรงงานงานด่างด้าวเป็นส่วนใหญ่https://www.thairath.co.th/content/1067434
            ไทยติดอันดับ 3 ช่องว่างรายได้มากที่สุดในโลก
             ไทยถูกจัดให้เป็นอันดับ 3 ของประเทศที่มีช่องว่าระหว่างคนรวยและคนจนมากที่สุดในโลก ขณะที่ อันดับ 1 ตกเป็นของรัสเซีย

              รายงานความมั่งคั่งของโลก ประจำปี 2016 ของสถาบันเครดิตสวิส จัดอันดับประเทศที่มีช่องง่างระหว่างคนรวยและคนจนมากที่สุดในโลก ซึ่งรัสเซียจัดให้อยู่ในอันดับ 1 นืองจากความมั่งคั่งกว่าร้อยละ 74.5 ของทั้งประเทศ ไปกระจุกตัวอยุ่กับกลุ่มคนที่ร่ำรวยที่สุดที่มีเพียงร้อยละ 1 ของประเทศ
              อันดับ 2 อินเดีย

              ขณะที่อินเดียได้รับอันดับที่ 2 และไทยอันดับที่ 3 โดยความมั่งคั่งในอินเดียร้อยละ 58.4 ส่วนของไทยร้อยละ 58 ถูกควบคุมโดยคนที่ร่ำรวยที่สุดจำนวนร้อยละ 1 ของประเทศ รองลงมาตามลำดับได้แก่ 4 อินโดนีเซี, 5 บราซิล, 6 จีน, 7 สหรัฐฯ, 8 เซาท์แอฟริกา, และ 9 เม็กซิโก..
              สถาบันเครดิตสวิสรายงานว่า ก่อนหน้านี้ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนเร่ิมลดลง จนกระทั่งเกิดวิกฤตการ์ทางการเงินขึ้นเมือปี 2008 ในสหรัฐฯ ซึ่งถูกมองว่เป็นวิกฤตการณ์การเงินครั้งเลวร้ายที่สุด นับตั้งแต่ภาวะเศราบกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในทศวรรษที่ 1930 ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนก็เร่ิมกลับมากว้างมากขึ้นเรื่อยๆ อีกครั้ง
              สถาบันเครดิตสวิสยังรายงานด้วยว่ ความไม่เท่าเที่ยมระหว่างคนรวยและคนจนเป็นปัญหาใหญ่ในปทบทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งผลสำรวจระบุว่าประชากรดลกครึ้งหนึ่งที่มีรายได้น้อย เข้าถึงความมั่งคั่งบนดลกนี้ได้ไม่ถึงร้อยละ 1 เท่นั้น ขณะที่คนที่ร่ำรวยที่สุดบนโลกใบนี้ร้อยละ 10 ครอบครองความมั่งคั่งทั้งหมดกว่าร้อยละ 89 ด้านคนที่รวยที่สุดร้อยละ 1 เป็นผุ้ครอบครองความมั่งคั่งกว่าครึ่งหนึ่งของโลกใบนี้https://www.voicetv.co.th/read/436746
           
               

วันอังคารที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Equal economic development

             การพัฒนาทางเศรษกิจให้เท่าเที่ยมกัน เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรณีนี้ชัดเจนในระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนเก่าและสมาชิกใหม่ของอาเซียน อาเซียนจึงจัดทำข้อริรเ่ิมเืพ่อการรวมตัวของอาเซียน ขึ้นในปี 2545 เพื่อให้สมาชิกอาเซียนเก่ากับสมาชิกใหม่เกิดความร่วมมือและความช่วยเหลือระหว่างกัน เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน และเสริมสร้างการวมกลุ่มของประเทศ CLMV โดยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศได้รับประโยช์จากการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจ
           ทั้งนี้ อาเซียนได้จัดโครงการฝึกอบรม และเสริมสร้างขีดความสามารถในระดับองค์กรต่างๆ โดยดครการลดช่องว่างการพัฒนาของไอเอไอ ให้ความสำคัญกับความร่วมมือด้านโครงสร้างพื้นฐาน ชนส่ง และพลังงาน เทคโนโลยีสารสนทเศ และการสื่อสาร การรวมกลุ่มทางเศรฐกจิในภูมิภาค ในด้านสินค้า บริการ ศุลกากร การลงทุน และมาตรฐานต่างๆ การท่องเที่ยว การลดความยกจน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งครอบคลุมด้านการเสริมสร้างศักยภาพของภาครัฐ แรงงาน การจ้างงาน และการสนับสนนุการศึกษาระดับสูงขึ้น นอกจานี้ เพือเป็นพัฒนาทางเศรษบกิจของอาเซียนให้เท่าเที่ยมกัน อาเซยนยังให้ความสำคัญในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การพัฒนาด้านเอสเอ็มอี ภายใต้แผนงานการจัดตั้งเออีซี มีเป้าหมายสำคัญ คือ
       
- จัดทำหลักสูตรร่วมกันสำหรับผุ้ประกอลบการในอาเซียน
         - การจัดตั้งศูนย์บริการเอสเอ็มอี เพื่อเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคและอนุภูมิภาคของประเทศสมาชิกอาเซียน
         - การให้บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจเอสเอ็มอีในแต่ละประเทศสมาิก
         - การจัดทำโครงการส่งเสริมการฝึกปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่ในระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาความเชียวชาญของเจ้าหน้าที่
         - การจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในระดับภูมิภาค เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางแฃละขนาดย่อมที่ประกอบธุรกิจใน ภุมิภาคอาเซียน
         นอกจากนี้ ยังไดหารือร่วมกับหน่วยงานเอสเอ็มอีของอาเวียนบวกสาม ผประเทศสมาชิกอาเซียนรวมกับจีน ญี่ปุ่่น และเกาหลี) เพื่อแลกเปลียนแนวทางการปฏิบัติและความร่วมมือผ่านโครงการต่างๆ ทั้งนี้ อาเซียนได้ให้การรับรองแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเอสเอ็มอีของอาเซียน เมื่อเดือนสิงหาคม 2553 โดยแผนงานดังกล่าวครอบคลุมการดำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจเอสเอ็มอี เพื่อเพิ่มขีนความสามารถการแข่งขัน เพิ่มความสามารถในการปรับตัวของเอเอ็มอี ในการมุ่งสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดี่ยวในอาเซียนhttps://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1336496884
           ปัจจุบันแผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนทั้ง 3 มิติ ทั้งทางกายภาพ การเชื่อมโยงเชิงสถาบันและกฎระเบียบ และการเชื่อมโยงระหว่างประชาชน ยังเป็นเรื่องท้าทายของการรวมตวเป้นประชาคมเดียวของอาเซียน อาเซียนได้รับรองให้มีแผนแม่บทว่าด้วยเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียน ขึ้นเมื่อปี 2553 แตปัจจุบันการเชื่อมโยงระหว่างกนในอาเซียนยังล่าช้า โดยเฉพาะการเชื่อมดยงเชิง
สถาบันและกฎระเบียบ
           ทั้งนี้กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศของไทย เล็งเห็นความสำคัญของการเชื่อมโยงอาเซียนจึงเป้นเจ้าภาพจัดการประชุมเชิงปฎิบัติการในหัวข้อ "มุ่งลอขช่องว่างในการพัฒนาระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนใหม่ที่ประกอบด้วยกัมพุชา ลาว เมียนาร์ และเวียดนาม หรือ CLMV แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและมุ่งสร้างความรุ้เกี่ยวกับการเชื่อมโยงภุมิภาคในด้านการบริหารจัการข้ามพรมแดน
           นายประดาบ พิบูรลสงคราม ผุ้แทนไทยในคณะกรรมการประสานงานการเชื่อมดยงอาเซียน กล่าวว่าการเชือมโยงภุมิภาค เป็นอีกปัจจัยที่สนับสนุนเศรษบกิจและการต้าชายแดน เห็นได้จากตัวเชยการต้าชายแดนของไทยกับเพื่อบ้านที่มีพรมแดนติดกันตามลำดับดังนี้ การต้าชายแดนไทยอินโดนีเซียนคิดเป็น 55% มาเลเซียน 45% เวียดนาม 18% เมียนมาร์ 12% ลาว 7% และกัมพูชา 6% ทั้งนี้ การคมนาคมขนส่งและกฎระเบียบที่มีประสิทธิภาพจะสามารถเพิ่มตัวเลขการต้าได้มากขึ้น
           นายประดาบเพ่ิมเติมว่า "แผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนมีท้งหมด 84 โครงการ มุ่งเสริมสร้างรอยต่อระหว่างประเทศให้สมบูรณ์ โดยตามแผนจะต้องเสร็จในอีก 3 ปี ซึ่งอาจไม่เสร็จทั้งหมดก่อนเข้าปี 2558 สิ่งสำคัญที่สุดคือกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยงที่ลงนามร่วมกันต้องนำไปปฏิบัติจริง"
           ประเทศผุ้เข้าร่วมกมารประชุมกลุ่ม CLMV ต่างเสนอความเห็นเพื่อเร่สงสนับสนุนการเดินหน้าแผนแม่บท ตัวแทนจากประเทศกัมพุชากล่าวถึงปัญหาท้าทายของประเทศ ที่ส่งผลต่อการเชื่อมโยงเชิงสถาบันและกฎระเบียบของอาเซียนว่า กัมพูชายังไม่มีกรอบองกฎระเบียบที่ัดเจนเพียงพอในการส่งเสริ
มระบบโลจิสติกส์ เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยว้องกับโลจิสติกส์ของประเทศต้องพัฒนาด้านข้อมูล และประสานงานกันมากขึ้น ส่วนภาพรวมกฎหมายด้านศุลกากรของประเทศมีโคงสร้างดีแต่ไมได้นำมาอภิปรายหารือกับภาคเอกชน ตัวแทนจากประเทศลาว ชี้ปัญหาท้าทายของประเทศในการพัฒนาสู่การเชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคด้านการจัดการข้ามพรมแดนว่า ปัจจุบัน สปป.ลาวต้องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ปลี่ยนจากประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล ให้เป็จุดเชื่อมต่อภูมิภาค ปัญหาท้าทายของ สปป.ลาว คือโครงสร้างพื้นฐานอยู่จำกัด ทั้งถนนและจุดผ่านแดนต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาการจรจรบริเวณด่านชายแดนตามมา ปัญหาด้านกฎระเบียบเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพมแดนที่ยังไม่เป็นมาตฐานเีดยว ปัญหาในด้านระบบเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้กับจุดตรวจผ่านแดนต่างๆ โดยขณะนี้ สปป.ลาว ไ้ด้มีการเร่งการดำเนินการเต็มที่ โดยเฉพาะจุดผ่านแดนสาละวันนะเขต-มุกดาหาร ที่จะทำให้สำเร็จในปี 2556
           ตัวแทนจากเวียดนาม กล่าวว่า การบริหารจัดการข้ามพรมแดนสำคัญอย่างยิ่ง โดยเห้ฯได้จากมุลค่าการต้าชายแดนของเวียดนาม ปี 2554 ที่มีมูลค่า สองแสนล้านเหรยญสหรัฐ มีจำนวนคนผ่านเข้าเมือง 13 ล้านคน และเวียดนามมีด่านเข้าประเทศระดับนานาชาติจำนวน 46 แห่ง
          ทั้งนี้ ประเทศเวียดนามยังไม่มีความคืบหน้ามากนักในทางปฏิบัติ เนื่องจากหลักการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการข้ามพรมแดนต้องอาศัยอความร่วมมือในหลายหน่วยงาน ท้งด้านศุลการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านศาธารณสุข เป็นต้น โดยปัญหาท้าทายเวียดนาม คือขนาดของจุดเชื่อมต่อของประทศกับนานาชาติมีขนาดจำกัด เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา เช่น สนามบินนานาชาติที่มีอยู่มากถึง 7 แห่งแต่มีขนาดเล็กทั้งหมด ท่าเรือซึ่งมีขนาดเล็ก เป็นต้น
             ปัญหาอีกประการ คืออุปสรรคด้านการบริหารงานที่ยังซ้ำซ้อน ยังไม่มีหน่วยงานหลักที่รับผิดขอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพรมแดน กระบวนการดำเนินงานยังใช้ระยะวเลานาน และที่สำคัญคือเวียดนามต้องปรับโครงสร้างทางเศรษบกิจด้วยการกระจายการต้าชายแดน พร้อมๆ กับการสนับสนุนให้ข้อตกลงเกี่ยวกับการเชื่อมโยงด้านต่างๆ ของภุมิภาคนำมาใช้จริง
            ตัวแทนจากเมียนมาร์ กล่าวถึงปัญหาการพัฒนาประเทศที่ส่งผลต่อการเชื่อมโยงในภุมิภาคว่า เมียนมาร์ยังมีรถไฟอีก 3 สายที่ติดต่อกับเพือนย้าน ซึ่งได้ศึกษความเป็นไปได้แล้ว แต่ยังไม่ได้ก่อสร้าง ได้แก่ เส้นทางรถไฟติดตอ่กับอินเดีย-พม่า ระยะทาง 127.4 กม. เส้นทางพม่า-จีน ระยะทาง 141.8 กม. และพม่า-ไทย ระยะทาง 110 กม.
            พร้อมกันนั้น เมียนมาร์ยังต้องการมุ่งพัฒนาทาเรืออีก 2 แห่ง ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกจิ และการขนส่งสินค้าของประเทศ และรวมถึงระดับภุมิภาค ท่าเรือทั้ง 2 แห่ง คือท่าเรือน้ำลึกจ้าวผิว หรือจ้าวเปี้ยว และท่าเรือน้ำลึกทวาย เมียนมาร์ยังให้ความสำคัญต่อด้านเทคโนดลยีที่จะนำมาใช้ในการข้ามพรมแดน เพื่อนำมาช่วยอำนวยความสะดวกในการต้าอีกด้วย
            ทั้งนี้ กลุ่มประเทศ CLMV ต่างแลกเปลี่ยนในประเด็นการปรับกฎระเบียบในประเทศที่เีก่ยวกับการบริหารจัดการข้ามพรมแดนของคนให้สอดคล้องกับประเทศในภุมิภาค ทั้งยังตระหนักถึงการพัฒนาระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนนุการอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการเคลื่อนย้ายสินค้า โดยเชื่อมโยงระบบข้อมุงแบบบูรณาการระหวางหย่วยงานต่างๆ
            ให้ความสำคัยกับ คอมมอน คอนโทรล แอรเลีย ในการใช้พท้นที่ควบคุมร่วมกันในการตรวจด้านศุลการกรครั้งเีด่ยในประเทศขาเข้า เพื่อเร่วให้เกิดผลปฏิบัติจริงต่อทุกประเทศสมาิกทั้ง 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนมาร์ และจีน ภายใจ้กรอบความร่ยวมมือนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานนการเดินหน้าผลักดันการเชื่อมโยงอาเซียนในภาพรวมของประเทสสมาชิกทัง 10 ต่อไป....https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1339832797

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...