Zakat

             ซะกาด หรือ ทานประจำปีหมายถึงทรัพย์สินส่วนเกนจำนวนหนึ่ง ซึงมุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผุ้มีสิทธิได้รับเมือ่ครบรองปี ถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สิน เงินทาง สินค้าที่เหลือในรอบปีแล้วไม่ทำการบริจาก ผุ้นั้นก็ผู้หนึ่งที่ทำผดบัญญัติของอิสลานและยังถือเป็นการผิดกฎหมายในบางประเทศที่ใช้กฎหมายอิสลามในประเทศไทยมุสลิมจำเป็นต้องจายทั้งซะกาตและภาษี ในอัลกุรอานได้กล่าวถึงการบริจาคฐะกาตว่า "หัวใจของการบริจาคทานคื อการเสียสละเพื่อคนขัดสนและยากจน คล้ายกับการเสียสละเผยแผ่คำสอนอันศักดิ์สิทธิ์ของกุรอาน")
           ซะกาตเป้นส่วนหนึ่งที่จะมาควบคุมความสมดุลทางเสราฐกจิ จริงหรือไม่ และแตกต่างจากภาษีอย่างไร
           ตอบว่าจริง เพราะซะกาตจะช่วยให้ผุ้คนมีความเท่าเที่ยมกัฯ เช่นผุ้ที่รวยก็จำเป็นต้องจ่ายซะกาตให้กับผุ้ที่ยากจน แต่ผุ้ที่ยากจนไม่ต้องจ่ายและการที่คนจนได้รับซะกาตเขาจะไม่ต้องร้องขอแต่เป็นสิทธิของเขาที่เขาจะได้รับอยู่แล้ว

           ซะกาตเป็นส่นนหนึ่งี่จะมาควบคุมความสมดุลของเศราฐกิจ โดยรัฐเปนผุ้ควบคุม นักวิชาการ ในรัฐอิสลามได้วินิจฉัยแะเห็นพร้มกันว่า "ระบบเสณฐกิจอิสลาม"คือวิธีการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ
            ความสำคัญขอซะกาตที่มต่อเศราฐกิจและสังคมผลของซะกาตทางด้านเศณาฐกิจ
            - ผลต่อการงานที่ก่อให้เกิดการผลิต โดยปกติแล้วซะกาตมีแนวโ้มที่จะให้นทำงานก่อผลผลิต เพราะทรัพย์สินที่ไม่ไ้นำมาใช้ประโยชน์นั้นย่อมต้องจ่ายซะกาตเช่นเดียวกน จึงเป้นแรงกระตุ้นให้บุคคลนั้นทำงานอยุ่ในตัว ท่านร่อซู้ลกล่าวว่า "จงนำทรัพย์สินของเด็กกำพร้าไปประกอบธุรกจ อย่าปล่อยให้หมดไป เื่องจาการออกซะกาต"
             ถ้าหากท่านร่อซู้ลกำชับให้คนดุแลทรัพย์สินของเด็กกำพร้า นำไปก่อให้เกิดประโยชน์คนอื่นๆ ที่มีทรัพย์สินก้ต้องทำการค้าขายหรือนำไปลงทุนจนเกิดผลประดยชน์เช่นกันเพราะซะกาตนั้น เป้นส่งิที่บังคับให้จ่าย ไม่วาจะเป็นผุ้นำทรัพย์สินไปประกอบกิจการในการลงทุนหรือเก็บทรัพย์สินของตนไว้เฉยๆ  การแจกจ่ายซะกาตแก่ผุ้ที่เีก่ยว้องกับ 8 จำพวกตามที่อัลกุรอ่านได้ระบุไว้ มีผลทางเศณาฐกจิมากมาย เช่นคนที่รับซะกาตจะใช้ไปเพื่ออุปโภค บริโภค ซึ่งจะกระตุ้นให้ผลผลิตทำการผลิตตามความต้องการของผุ้บริโภคนั้นได้
             ผู้ที่มีหนี้สินล้นตัวจนไม่อาจกู้ฐานะกลับสภาพเดิมได้นั้น เปฯผุ้หนึ่งในบรรดาผุ้มีสิทธิ์รับซะกาต จึงมีหลักประกันและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผุ้ให้กู้ว่าทรัพย์สินที่เขาให้กู้นั้นจไม่สูญเปล่า การกุ้ยืมเพื่อนำปลงทุนประกอบกิจการการต้าก็สามารถดำเนินงานต่อไปได้
            - ผลต่อการกระจายรายได้ ซะกาตมีบทบาทสำคัญในการกระจายรายได้ในสังคม ด้วยการเอาบางส่วนจากทรัพย์สินขงผู้มังคั่งในสังคมไปแจกจ่ายแก่ผู้มีสิทธิ์ได้รับนั้น ก็หมายถึงสังคมส่วนใหญ่จะมีอำนาจซื้อที่สามารถกระตุ้นให้เกิดการผลิตทางอ้อม
           - ผลของซะกาตต่องาน ซะกาตมีผลสนับสนุนห้คนมีงานทำ ทั้งนี้เพราะคนที่ไม่มีงานทำจริงๆ จะได้รับซะกาต เืพ่นำไปลงทุนทำงานด้วยตนเอง
           ซะกาต คือ ทรัพย์สินส่วนหนึ่งที่บุคคลผู้ที่มีหน้าที่ต้องจ่ายไปในหนทางของอัลลอฮ์ และจ่ายให้แก่ บุคคลที่มีสิทธ์ที่จะรับคือ บุคคล 8 จำพวก ได้แก่ คนยากไร้ คนขัดสนเจ้หน้าที่ซะกาต คือพวกคนงาน หรือเจ้าหน้าที่เก็บซะกาต ผุ้ศรัทธาใหม่ ใช้ในการไถ่ทาสคนมีหนี้สิน ที่ไม่สามารถชดใช้ได้ พวกนักรบอาสาในสงครามเพื่อปกป้องศาสนาและคนเดินทางที่มีวัตถุประสงค์ที่ไม่ผิดต่อหลักศาสนา
            วิธีการจ่ายซะกาตแก่ผุ้มีสิทธิ์ ให้จ่ายซะกาตแก่ผู้มีสิทธิ์จาก 8 จำพวกในท้องถ่ิน
            - ถ้าหากมีครบ 8 จำพวก จำเป็นจะตองจ่ายให้ครบทุกจำพวก ไม่ยินยิมให้งดเว้นจำพวกใดจำพวกหนึ่ง
            - ถ้าหากไม่ครบ 8 จำพวก ก็ให้จ่ายแก่จำพวกที่มีอยุ่
            - ถ้าหากส่วนแบ่งขชองจำพวกใด ที่แต่ละคนในจำพวกนั้นได้รับมากเกิดนความต้องงการแล้ว ให้จ่ายส่วนเกินแก่จพวกอื่นๆ
            - ให้แบ่งซะกาตแ่กจพวกที่มีอย่างเท่เที่ยมกัน แม้ว่าความจำ
           สวนภาษี คือ สิ่งที่ผุ้มีรายได้ทุกคนต้องจ่ายเืพ่อพัฒนาท้องถิ่น สังคม หรือประเทศชาติจ่ายให้กับรัฐ
           บทบาทและเป้าหมายของซะกาต เป้ฯที่ประจักษ์ว่า เป้าหมายระบบเศรษฐกิจั้งหลายต่างมุ่งมั่น สร้างความสมดุลขึ้นในสังคม อิสลามถือได้ว่าเป็นระบบการดำเนินชีวิตแรกสุดที่พยายามทุกวิถีทางที่จะผลักดันเป้าหมายดังกล่าวสู่ภาคปฏิบัติอย่างจริงจัง ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งบทบัญญัติต่างๆ ที่มีระบุไว้ในอัลกุรอาน บทบัญญัติเบพื้อต้นในระบบเสราฐกจิอสลาม จึงกำชับให้รัฐเป็นผุ้ทำหน้าที่ในการณรงค์แก้ปัญหาความยากจน มิได้ดำเะนินการโดยจิตสำนึกของชนชั้นที่ครอบครองผลประโยชน์ภายในัฐ อิสลามจึงกำหนดซะกาตต่างๆ เืพ่อสนองเป้าหมายดังกล่าวทั้งนี้เพื่อเจตนารมร์อันสุงสุด ในการประทานอัลกุรอาน นั้นเพื่อสถาปนาประชาชาติแบบอย่างและจัดการระเบีบวสังคม เพื่อพิทักษ์ดลกให้อยุ่ในระบบที่ถุกต้องมั่นคง การเรยกร้องเชิญชวนในอัลกุรอานจึงมีลักษณะสากลเพื่อให้มนุษย์โลกทั้งมวล โดยใช้หลักการศรัทะาเป็นแกนนำในการสร้างความผุกพัน
         
ด้วยเหตุนี้อัลกุรอานจึงนำเสนอหลักการต่างๆ ประกันความเป็นปึกแผ่นระหว่างสมาชิกสังคม และระหว่างสังคมทั้งหลายทำให้สังคมทุกระดับ มีความสงบสุขและเชื่อมั่นในการติดต่อและพันธสัญญา
            ส่วนหนึ่งจากหลักการดังหล่าวคื อหลักสวัสดิการสังคมซ฿่งแทรกซึมอยุ่ใระบบอิสลาม ซึ่งเร่ิมจาหน่วยทีเล็กที่สุดของสัคม คื อครอบครัวไปสู่สาะารณะชน
           อิสลามถือว่าวัตถุนั้นคื สือสงเสริมการปฏิบัติทางจิต เตพื่อบรรลุถึงความรักต่ออัลลอฮ์ จึงเสนอกฎเกณฑ์แห่งสัญชาติญาณ การปลดอล่อยมุนษย์จากความเป้ฯทาศจนกระทั้งมนุษย์มีอสิรภาพด้านวิถตถุ หลุ่มพ้นจาการอัปยศแห่งการของและความไม่เป็นธรรมในสังคม
          ซะกาตมีความแกต่างจากภาษี เพราะซะกาต จะเก็บจากผุ้มั่งมีให้กับผุ้ยากไร้ที่กำหนดสิทธิในการเป้นผุ้รับตามศาสนบัญญัติ ได้แก่ พวกคนจน คนอนาถา คนเดินทง ผุ้เข้ารับอิสลามใหม่ ในการไถ่ทาส ผุ้ที่มีหนี้สินท่วมตัว ผุ้ทำหน้ามี่รวบรวมซะกาต และในหนทางของอัลลอฮ์(นักรบในศาสนา)
           ส่วนภาษี รัฐจะเรียกเ็บจากผุ้ที่มีรายได้ต่างๆ เช่นภาษีรายได้จากบุคคล ภาษีโรงงาน ภาษาที่ดิน และภาษีอื่นๆ ซึ่งจะต้องประเมินจากอัตราของรายได้ และมีโอกาสเรียกเก็บย้อนหลังได้ ดดย ที่มิได้กำหนดภาษีว่าจะต้องตายตัว แพระาจาการประเมนิส่ิงเียวที่คล้ยกับซุกาตก็คือ รายได้แตกต่างกันตรงหลักการ....http://muslimchiangmai.net/index.php?topic=3355.0;wap2

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)