Gap and problem...

             ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็นระบบเศราฐกิจที่ให้เสรีภาพแก่ภาคเอกชนนการเลือกดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจโดยเอกชน มีกรรมสิทธิในทรัพย์สินและสามารถเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต รวมถึงเศรษฐทรัพย์ต่างๆ ที่ตนหามาได้ มีเสรีภาพนการประกอบะุรกิจ ส่วนผุ้บริโภคสามารถที่จะเลือกอุปโภคบริโภคสินค้า และบิรการต่างๆ ได้อย่างอิสระเสรี แต่ทั้งนี้เสรีภาพดังกล่าวจะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายหรือการดำเนินการใดๆ จะต้องไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของบุคคลอื่น
             โดยระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจะขับเคลื่อนได้ด้วยระบบการแข่งขันางด้านราคาและระบบตลอดา ซึงเป้นกลไกสำคัญในการจัดสรรทรัพยากร และกำหนดเศราฐกิจว่า จะผลิตอะไร เพื่อใคร และอย่างไร ส่วนการกระจายสินค้าและบริการ ขึ้นอยู่กับความต้องการของผุ้บริโภค ทั้งนี้ความต้องการของผุ้บริโภคจะบอกถึงมูลค่า หรือเป็นตัวกำหนดราคาสินค้าและบริการ....
              โดยรัฐบาลจะมีหน้าที่ควบคุมกฎ กติกาและดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองเพื่อให้กลไกตลาดทำงานได้ และห้ามเข้ามาแทรกแซงหรือำหน้าที่จัดสรรทรัพยากรแทนตลาด ปล่อยให้ตลาดจัดสรรทรัพยากรเองไปตามธรรมชาติ และทำหน้าที่ป้องกันประเทศเท่านั้น
              ระบบทุนนิยคม ทำให้เกิดการพัฒนาทางเศราฐกจิที่รวดเร็ว เพราะประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจ สามารถเลือกตัดสินใจดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามที่ตนถนัน กำไร และกรรมสิทธิในทรัพย์สิน เป้ฯแรงจูงใจที่ทำให้การทำงานเป็นไปอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากผลิตได้มากน้อยเท่าไร ก็จะได้รับผลตอบแทนเท่าใน ซึ่งในขณะเดียวกันระบบทุนนิยมก็มีข้อบกพร่องเช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป้ฯความเหลื่อมลำทางเศษรฐกิจที่เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนมาก มีลักษณะการกระจุกตัวของรายได้หรือ "รวยกระจุก จนกระจาย" ซึ่งส่งผลให้เกิด ความยากจน การว่างงาน ความไม่เสมอภาค จนเกิดการแย่งชิงทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียมกันอันเนื่องจากความสามารถที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคล ผุ้ที่มีความสามารถสูงกว่าจะเป็นไดเปรียบ ตลอดจนราคาหรือกลไกตลาดยังไม่ใช่เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเพียงพอสำหรับการจัดสรรทรัพยากรของระบบเศราฐกิจเรพาะสินค้าและบริการบางอย่างมีการผูกขาดหรือเ็ฯสินค้าสาธารณะซึ่งจะต้องใช้เงินลงทุนมาก อาจ เสี่ยงกับภาวะขาดทุน หรือไม่คุ้ค่าในเชิงเศราฐกิจ ..ราคาจึงไม่สามารถเข้ามาทำหน้าที่ในการจัดสรรพทรัพยากรได้ อีกทั้งระบบการแข่งขันหรือกลไกราคาอาจทำให้การใช้ทรัพยากรทางเศณฐกิจอย่างสิ้นเปลือง...และอื่นๆ อีกมากมากย ดังนั้นหลายท่านึงเชื่อว่า การพัฒนาที่ยังยืนเป้นอีกแนวคิดหนึ่งที่จะสามารถเข้ามามีบทบาทในการจัดการแก้ไขปัญหาของระบบทุนนิยมได้http://oknation.nationtv.tv/blog/HotTopic/2011/10/30/entry-1
           
 ปัญหาจากช่องว่าทางสังคม
             นักบวชท่านหนึ่งซึ่งศึกษาทางด้านปริญญาเอกจากสถานทบันการศึกษาต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และบวชพระอยุ่ 25 พรรษา ได้เคยอธิบายคำว่า "ทุกข์" ความจริงความหมาย "ทุกข์" มาจากสิ่งที่เรียกว่าช่องว่างที่ไม่ดี ตัวอย่างเช่น การล่าสัตวืมาแต่ละครั้งจะต้องมีการจัดสรรปันส่วนอย่างยุติธรรมมากน้อยตามลำดับ แต่เมื่อใดก้ตามคนที่อยุ่ระดับเีดยวกันที่ควรจะได้เท่ากันได้รับส่วนแบ่งไม่เท่ากันก็จะเกิดช่อง่าง ซึ่งแน่นอนย่อมนำไปสู่ความไม่พอใจอาจนำไปสู่ความขัดแย้ง แลเป็นเหตุแห่งทุกข์
            ทุกข์ในแง่นี้จึงมาจากการเกิดช่องว่า วิะีการแก้ปัญหาก็คือพยายามปิดช่องว่าง เช่นคนที่ได้รับเงินเดือนๆ ละ หมื่นห้าพันบาท แต่คาดหวังว่าจะได้ เป็นสองหมื่นห้าพันบาทเมื่อไม่สามาถจะขอให้ขึ้นเงินเดือนได้ตามที่ต้องการก็อาจหางานใหม่ที่มีรายได้ใกล้เคียนี้คือวิะีการปิดช่องว่าง อีกวิะีกนึ่งก็คือการยอมรับสภาพโดยไม่เรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงแล้วอยุ่กับความเป้นจริงอันนั้น อันนี้เท่ากับเป้นการทำใจหรือปลงเพื่อมไ่ให้เกิดชอง่าง ซึ่จะไม่นำไปสู่ความเกิดการทุกข์ใจ
            สำหรับช่องว่างของคนที่ยอยุ่ในสังคมเดียวดัน และเมื่อใดที่เกิดชองว่างก็มักจจะนำไปสู่ปัญหา..โดยเฉาพะอย่าฝยิ่งคำว่า "ยุติธรรม" ความยุติธรรมสำหรับคนๆ หนึ่งอาจเป็นความไม่ยุติะรรมสำหรับอีกคน หนึ่ง กลับกันฉันใดก็ฉันนั้น ช่องว่างจึงเป็นที่มาของปัญหาโดยมีลักษณะต่างๆ ดังนี้ คือ
            - ช่องว่างระหว่างวัย ความแตกต่างระหว่างมุมมองปัญหา วิธีการแก้ปัญหา เป็นต้น
            - ช่องว่างระหว่างความรุ้ ความแตกต่าอาจเนื่องมาจากพื้นฐานทางความรุ้และภูมิหลัง รวมทั้งระบบความคิดซึ่งไปคนละทิศละทาง
            - ช่องว่างระหว่างความคิด เมื่อความรู้ต่างกัน ความคิดก็อาจจะต่างกัน หรือแม้ความรุ้ใกล้เคียงกัน ก็อาจจะต้างอุดมการณ์ ต่างประสบการณ์ ต่างความเชื่อ ต่างค่านิยม ซึงจะนำมาสุความคิดที่ไม่สามารถจะเข้ากันได้ ช่องว่างระหว่างความคิดเป็นของความขัดย้วงที่รุนแรงเพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับนามะรรม ความถุกผิด ความดีชั่ว ซึ่งทุกคนมีจุดยืนของตนเอง มีค่านิยมที่ตนต้องการรักษา มีศรัทะาและความเชื่อที่ไม่อยากให้ใครมาเปลี่ยนแปลง ช่องว่างระหว่างความคิดมีอยู่ในสังคมทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมระยะเปลี่ยนผ่าน
           - ช่องว่างระหว่างมาตรฐานศีละรรม
           -ช่องว่างระหว่าเงินตรา
           - ช่องว่างระหว่างการบริหารจัดการ
           - ช่องว่างระหว่างวัฒนะรรม
           - ช่องว่างระหว่างเทคโนโลยี
           แต่สิ่งที่จะเกิดขึ้นในสังคมก็คื อความขัดแย้งระหว่างช่องว่างต่างๆ เช่น คนรวยกัยคนจนมีความขัดแย้งเรื่องเงินตร แต่คนจนก็รู้ภุมิหลังคนรวยว่าเป็นคนไร้ศีลธรรม และถ้าหากคนที่มีรายได้น้อย เป็นมีความรุ้ มีการศึกษา ในขณะที่คนที่ร่ำรวยกว่านั้นอาจจะมีระดับการศึกษาที่ไม่สุง มีความคิดทีตื้นเขินและผิวเผิน ก็จะกลายเป็นช่องว่างระหว่างความรุ้และความคิด ..ย่อมเห็นว่แม้ช่องว่างทางการเงินจะต่างกันแต่ช่องhttps://www.siamrath.co.th/n/1832
ว่างทางด้านอื่นๆ ระหว่างสองคนนี้ก็สามารถทำในมีความภาคภูมิใจในส่วนที่ดีของตน ในแต่ละคน...
           
ปัหาช่องว่างความแตกต่างอีกปัญหาคือ ปัญหาอันเนหื่องมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนดลยี เกิดขึ้นเนืองจากความจริงที่ว่าประชาชนทุกคนไม่มีความรุ้และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนดลยี หรือไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อรับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของภาครัฐในครั้งนี้
            ภาพที่เกิดคื อกลุ่มประชาชนผุ้ไม่มีความรุ้ความสามารถ หรือไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี ได้อย่างเท่าเทียม มีแนวโน้มที่จะถูกละเลยและไม่ได้รับบริการจากภาครัฐอย่างเหมาะสมหรือเท่าที่ควร
            ลักษณะความรุนแรงของปัญหานี้ในแต่ละประเทศ เป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยสะท้อนความมีวิสัยทัศนืและควาต้ั้งใจจริงของภาครัฐบาล รวมถึงเหตุผลเบื้องหลัง การลงทุนในโครงการทางเทคโนดลยี ที่มีมุลค่ามหาศาลในครั้งนี้ ของประเทศนั้นๆ ว่ามีการงางเป้าหมายสูงสุดยอุ่ที่สิ่งใด ซึ่งโดยทัวไปอาจถูกปบ่งออกได้เป็นสองประเภท
           - เพื่อยกระดับการทำงานของระบบงานภาครัฐทั้งระบบ โดยการปรับให้มีระบบการทำงานพื้นฐานอยุ่บนระบบคอมพิวเตอร และเชื่อมดยงระหว่างหน่วยงานผ่านระบบอินเตอร์เนต ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้ประสิทธิภาพในการทำานของภาครัฐ มีการพัฒนาขึ้น
           - การทำให้ทั้งประเทศได้รับประโยชน์ จากการลงุทนในครั้งนี้ ึ่งแนนอนว่าหนึ่งในตัวแปรชี้วัดความสำเร็จของโครงการนี้ จักต้องรวม การวัดความสำเร็จของการทำให้ภาคประชาชน สามารถเขาถึงหรือเข้ารับบริการภาครัฐบนเครือข่ายอินเตอร์เนต รวมทั้งการให้ความรุ้แลสร้างความสามารถ ให้กับภาคประชาชนในการใช้งานเทคโนดลยีที่เกี่ยวข้อง ได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันนั้นหมายคึวามว่า โครงการ อี-กอปเวอร์เม้นต์ ในหลายๆ ประเทศ กำลังประสบความล้มเหลว เนื่องจากไม่สามารถตอบสนองเป้าหมายสูงสุดของโครงการได้....
            ....ปัญหาดิจิตทัล เป็นปัญหาที่ทุกประเทศต้องให้ความใส่ใจและำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วนแลเท่าทันเนื่องจากเป็นปัญหาที่มีต้องพิจารณาแก้ไขจากด้านอื่นๆ นอกเนหือจากเทคโนโลยี และต้องใช้ระยะเวลานานในการดำเนินแก้ไข...https://blogazine.pub/blogs/sensemaker/post/1542
             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)