Tax and Reducing social gap

         ระบบภาษีถือเป็นกลไกที่มีความสำคัญยิ่งในการบริหารและพัฒนาประเทศ และมีความเกี่ยวของสัมพันธ์กับการลดความเหลื่อมล้ำทงเศณาฐกิจโดยตรง ในแง่หนึ่งภาษีคือแหล่งรายได้สำคัญที่สุดของรัฐบาล รายได้จาากภาษีมีควาสัมพันธ์โดยตรงกับโครงสร้างรายจ่ายภาครัฐ หากรัฐบาลมีความต้องการทีจะใช้จ่ายภาครัฐ หากรัฐบาลมีความต้องการที่จะใช้จ่ายเพ่ิมขึ้น ก็มีควาจำเป็นที่จะต้องเก็บภาษีเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในแง่่นั้นนโยบายภาษีจึงมีผลต่อความสามารถในการดำเนินนโยบายต่างๆ เืพ่อลดความ
เหลื่อมล้ำในสังคมในอีกแง่หนึ่ง นโยบายภาษีสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการลดความเลื่อมล้ำไ้ในตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ ทั้งนี้ระบบภาษาีที่ดีควรเป้ฯระบบที่สามารถสร้างความเป้นธรรมให้กับประชาชนทุกคนในประเทศได้
            บทความนี้จะกล่าวถึงสถานการภาพรวม การวิเคราะห์ปัญหาความเหลื่อล้ำในระบบภาษีของประเทศไทยในปัจจุบัน และแนวทางในการปฏิรูประบบภาษาีให้มีความเป็นธรรม และเป็นเครื่องมือลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผ่านการสรุปองค์ควมรู้จากงานศึกษาของนักเศราฐศาสตร์และนักวิชาการรุ่นหมสามท่าน ได้แก่ คร. ภาวิน สิริประภานุกูล อาจารย์ประจำคณะเศรษฐ่ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในงานศึกษารเื่อง "ระบบภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ" (2554), ดร. ปัณณ์ อนันอภิบุตร หัวหน้าฝ่ายพัฒนโครงร้างภาษี สำนักนโยบายภาษี สำนักงานเสราฐกจิการคลัง กรทรวงการคลัง ในงาน
ศึกษาเรื่อง "การปฏิรูปภษาีเพื่อสังคมไทยเสมอหน้า" (2555) และคุณสฤณี อาชว่านั้นทกุล นักเขียนอิสระผุ้เขียนหลังสื่อ "ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา"(2554) ซ฿่งงานศ฿กษาทั้งสามช้ินนีเป็นงานช้ินล่าสุดที่น่ำเสนอประเด็นต่างๆ เีก่ยวกับระบบภาษีของไทยอย่างครอบคลุม ทำให้ผุ้อ่านเข้าใจสาถนการณ์ปัญหาและความสำคัญของระบบภาษีต่อการลดควมเหลื่อมล้ำของสังคมได้เป็นอย่างดี
               ระบบภาษีและควมเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ในช่วง ประมาณ 5 ทศวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ประเทศไทยจะมีอัตราการเจริญเติบโตของเศราฐกิจค่อนข้างสุง จากการปรับโครงสร้างทางเศราฐกิจสู่ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ แต่ความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ กล่าวคือ ผลประโยชน์จากการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจไทยส่วนใหย๋ตกอยุ่กับคนกลุ่มเล็กๆ ในสงคม..ซึ่งโดยทั่วไปแล้วความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้เป็นส่ิงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการพัฒนาเศณาฐกิจของประเทศ แต่ความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ที่สูงเกินไป อาจส่งผลให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจ และทำลายความมันคงของระบบทุนนิยมประชาธิปไตยได้
            เครื่องมือทางการคลังนั้นแบ่งออกำป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือเครื่องมือด้านรายนรับซึ่งคือภาษี และเครื่องมือด้านรายจ่าย ซึ่งคือการใช้จ่ายผ่านงลประมาณผ่านโครงการและนโยบายต่างๆ เครื่องมือสองประเภทนี้เป็นเสมอนเหรียญสองด้านที่แยกชขาดจากกันไม่ได้ ในประเทศซึ่วงบประมาณของรัฐบาลพึ่งพิงรายๆด้จากภาษีเป้นสวนใหญ่เช่นประเทศไทย
          ที่ผ่านมารัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือด้านรายจ่ายในการลดความเลื่อมล้ำของสังคดดยตรงได้ไม่มากนัก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 งบประมาณยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมคุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม คิดเป็นสัดส่วนเพียงประมาณร้อยละ 8 ของจีดีพี เท่านั้น ในขณะทีค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการของโลกมีค่าเฉลี่ยอยุ่ที่ร้อยละ 13.2 ทั้งที่การมช้จ่ายต่างๆ มีความสำคัญอย่งยิงต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชน ดดยเฉาพะอย่างยิ่งคนจนและผุ้ด้อยโอากสทางสังคม เหตุผลส่วนหนึ่งอาจมาจากการไม่ให้ความสำคัญของรัฐบาลเอง แต่อีกส่วนหนึ่งเป็นเพราะรัฐบาลมีข้อจำกัดในการใช้งบประมาณรายจาย ซึ่งเป็นผลจากความจำกัดของรายได้จากภาษี โดยเฉพาะอยางยิ่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
            ท่ามกลางปัญหาการพัฒนาเศรษฐกิจไทยที่ขาดการกระจายผลประดยชน์จากากรเจริญเติบโตทางเศราฐกิจอย่งเท่าเทียม ประกอบกับยความจำกัดในการใช้มาตรการรายจ่ายภาครัฐเพื่อแก้ปัญหาความเลหื่อมล้ำนี้เอง มาตรการทางภาษี คือกลไกทางการคลังทมี่มีความสำคัญอย่างยิ่งและไม่ควรถูกละเลยในการเติมเต็มช่องว่างและแก้ปัญหาต่างๆ ดังกล่าว
          แต่..ระบบภาษีที่พึงปรารถนานั้นควรมีหน้าตาอย่างไร ในทางทฤษำีระบบภาษาีที่ดีนั้นควรเป้นระบบที่มีคุณสมบัติต่างๆ เืพ่อบรรลลุเป้าหมายที่หลาหลาย เช่น ควรสร้างรายได้ที่สร้างรายได้ให้เพียงพอกับต่อการใช้จ่ายของรัฐบาล ควรสร้างควาบิดเบือนให้กับระบบเศรษฐกิจที่น้อยที่สุด ควรเอื้อให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ควรมีความง่ายและก่อให้เกิดต้นทุนในการบริการจัดการที่น้อยทีุ่สด และที่สำคัญ ซึ่งเป้นคุณสมบัติที่อยุ่ในความสนใจของบทความช้ินนี้คือ ระบบภาษาีควรมีความเป้ฯธรรมต่อประชาชนทุกคนในประเทศ
         
 ระบบภาษีที่มีความเป็นธรรม
           แนวคิดเกี่ยวกับระบบภาษีเป็นธรรมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบหลัก ได้แก่ แนวคิดการจัดเก็บภาษีตามหลักผลประโยชน์ และแนวคิดการจัดเก็บภาษีตามความสามารถในการจ่าย ทั้บงองรูปแบบนี้มีเหตุผลที่ได้รับประโยชน์ต่างๆ เหล่านั้นในระดับที่นอยกว่า อย่างไรก็ตามแนวคิดนี้มีความขชัดแย้งเป้าหมายในการลดความเลหื่อล้ำในสังคม ดังนั้นบทความนี้จึงให้ควาใสใกับแนวคิดความเป็นธรรมในลักษณที่สองมากกว่า ซึ่งตามหลักการนี้ ระบบภาษีที่เป็นธรรมควรนำมาซึ่งการจัดเก็บภาษีในระดับที่สูงกว่จากผุ้จ่ายภาษีที่มีความสามารถในการจ่ายที่สูงกว่า โดยไม่คำนึงถึงประดยชน์ที่ผุ้เสียภาษาีแล่ละคนได้รับเป็นการแยกการพิจารณาระบบภาษาีออกจากกิจกรรมและภาษีในระดับที่สูงกว่จากผุ้จ่ายภาษีที่มีความสามารถในการจ่ายที่สุงกว่า โดยไม่คำนึ่งถึงประดยชฯน์ที่ผุ้เสียภาษีแต่ละคนได้รับ เป้ฯการแยกการพิจารณาระบบภาษีออกจากิจกรรมและมาตรการต่างๆ ของรัฐยาล การจัดเก็บภาษีตามหลักการนี้จึงมีความสอดคล้องกับบทบาทของภาษีมในฐานะเป้นเครื่องมือในกาลดความเหลื่อมล้ำโดยตรง
           ตามหลักการการจัดเก็บภาษีบนฐานแนวคิดความสามารถในการจ่าย ระบบภาษีที่เป้นธรรมควรมีลักาณมีความเป้นธรรมตามแนวนอน และมีความเป้นธรรมตามแนวดิ่ง โดยระบบภาษาีที่มีความเป้ฯธรรมตามแนวนอนนั้น (ุ้เสียภาษีที่มีความสามารถในการจายเท่าเที่ยมกันควรต้องจ่ายภาษีในระดับที่เท่กัน ในขณะที่ระบบภาษาีที่ความเป้นธรรมดามแนวดิ่ง ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายภาษีมีมากว่าควรต้องรับภาระในการจ่ายภาษีในระดับที่สูงกว่า ทั้งนี้รัฐบาบลมีความจำเป้นที่จะต้องมีมาตวัด "ความสสามารถในการจ่าย" ที่เป็นธรรมให้แก่ผุ้จ่ายภาษีทุกคน ซึ่งดดยทั่วไปแล้วความสามารถในการจ่ายของผุ้เสียภาษีจะถูกวัดจากตัวแปรหลัก 3 รูปแบบ ได้แก่ รายได้ของผุ้จ่ายภาษี, ระดับการบริโภคของผุ้จ่ายภาษีและระดับความมั่งคั่ง ของผุ้จ่ายภาษี
            ภาษีในฐานเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำ แนวคิดในการใช้นโยบายภาษีเป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้เร่ิมเป็นที่นิยมในช่วงประมาณ ทศวรรษที่ 1950-1960 โดยให้ความสำคัญกับการเก็บภาษีจากฐานเงินได้ในอัตราก้าวหน้าสูงๆ ทั้งนี้เพราะรายได้ เป็นสิ่งสะท้อนถึงฐานะและความสามารถทางเศราฐกิจของบุคคลในการเสียภาษีได้ดีที่สุด ภายใต้แนวคิดนี้ รัฐบาลควรออกแบบระบบภาษีให้การเก็บภาษีบนฐานรายได้ซึ่งเป้นภาษีทางตรง ทดแทนภาษีทางอ้อมให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อให้ภาษีเป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ในประเทศ และสร้างรายรับให้กับรัฐบาลมากที่สุด
            ภายหลังวิกฤติเศราฐกิจโลกในทศวรรษ 1970 นักเศรษฐศาสตร์เร่ิมเปลี่นเป้าหมายของนโยบายภาษีมาสู่การส่งเสริมให้เกิดสร้างความเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจแทน ภายใต้แนวคิดนี้รัฐบาลมุ่งเก็บภาษีรายได้ในอัตราก้ายหน้าเพียงเล็กน้อย หรือเก็ฐในอัตราเดียว เพื่อเชื่อว่าการจัดเก็ฐภาษีเงินได้ในอัตราก้าวหน้า จะส่งผลบั่นทอนแรงจูงใจในการทำงาน อันจะส่งผลลบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการคิดค้นนวัตกรรมในภาคธุรกิจ รฐบบาลจึงหันมาให้ความสำคัญกับการเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมซึ่บมีฐานภาษีกว้างและสามารภจัดเก็บได้ง่ายกว่าแทน แนวคิดลักษณะนี้ได้กลายมาเป็นแนวคิดนโยบายภาษีกระแสหลักในหลายประเทศทุกวันนี้ ดดยเฉาพะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา รวมทั้งประเทศไทยด้วย....http://v-reform.org/v-report/tax_review1/
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)