วันพุธที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2560

≠ ( part 2)

             ในอดีต การ "สงเคราะห์" อาจจะ่งผลดีทางอารมณ์ความรู้สึก ทั้ง "ผู้สงเคราะห์" และ "ผู้รับสงเคราะห์" เพราะนอกจากช่วงเวลาแวบเดียวของการรับการสงเคราะห์แล้ว ขีีวิตของ "ผู้รับสงเคราะห์" ไม่ได้พ้องพานเข้าำปเกี่ยวข้องอะไรกับ "ผู้สงเคราะห์" เลย ดังนั้น การเป็นคนไร้ศักดิ์สรีรอรับของบริจาคจึงเป้นเรื่งอที่รับได้ รวมทั้ง "ผู้รับการสงเคราะห์" ก็รูสึกได้ถึงวาระพิเศษที่ได้รับการสงเคราะห์
           
ที่สำคัญ ความสัมพันธ์ลักษณะนี้คือ ลักษณะเด่นหนึ่งในความเป็นไทย ที่ปลูกฝงกันมา ที่ต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน และเป็นการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แบบ "ผุ้ใหญ่-ผู้น้อย"
             ในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมา ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชนบท ก่อให้เกิดการประกอบอาชีพในลักษณะใหม่ซึ่งทำให้มาตรฐานการดำรงชีวิตปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ความสามารถในการครอบครองสินค้าจำเป็นในชีวิตประจำวันเป็นเรื่องปกติธรรมดาไป หากท่านผุ้อ่านได้มีโอากสไปเดินเล่นตามห้างสรรพสินค้าหรือซูเปอร์มาเก็ตต่างจังหวัดจะพบเห็นถึงความสามารถในการคีอบครองสินค้าอุปโภค-บริโภคขยยตัวมากขึ้นอย่างมากมาย นีเป็นเหตุผลว่าทำไมห้างสรรพสินึ้า แลซูเปอร์มาร์เก็ตขยายตัวออกหัวเมืองไกลมากขึ้นตามลำดับ
             ความเปลี่ยนแปลงทางเศราฐกิจนี้ ได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ทางสังคมอย่างลึกซึ้งด้วย โดยเแาพอย่างยิ่งการให้ความช่วยเหลือในรูปแบบของการให้ความ"สงเคราะห์" ลักษณะเดิมกลายเป็นเรื่องที่ไม่จำเป็นและการรับของสงเคราะห์เป็นเรื่องของการไร้ซึ่งศักดิ์ศรีไป
            หากสำรวจกันจริงๆ ในเขตพื้นที่ที่มีความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเข้ามข้นนั้น หากมีพิธีการให้การสงเคราะห์ จะพบว่าจำนวนผุ้ที่เข้ารับการสงเคราะห์นั้นน้อยลง และมักจะเป็นการเกณฑ์หรือขอร้องจากเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ มากขึ้น แม้ว่าคนในพื้นที่นั้นอาจจะยังคงมีความยากจน หรือมีรายได้ไม่สูงมากนักก็ตาม ยกเว้นว่าในเขตห่างไกลมากๆ หรือในช่วงเวลาวิกฤติภัยธรรมชาติ การรับของแจกจึงไม่ใช่เรื่องพิเศษที่ควรจะรำลึกถึงบุญคุณผุ้ให้อีกต่อไป หากแต่เป็นเรื่องไร้ความหมายมากขึ้นๆ ที่สำคัญ นอกจากไร้ความมหายแล้ว ยังแฝงด้วยความรุ้สึกว่าถุกดูหมิ่นศักดิ์ศรีอีกด้วย
           กล่าวไ้ว่ ความเปลี่ยนแปลวทางเศรษฐกิจ ได้ทำให้เปลี่ยนแปลงลักษณะของความยากจน จากคยาม "ยากจนสมบูรณ์" มาสู่ความ "ยากจนเชิงสัมพัทธ์" และความเปลี่่ยนแปลงนี้ได้ทำให้ความคิดทางด้านความสัมพันธ์ทางสังคมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
           ความ"ยากจนสมบูรณ์" ต้อการและยอมรับการสงเคราะห์แต่ความ "ยากจนเชิงสัมพันธ์" ต้อวการโอากสและความเท่าเที่ยมกัน
           ในเขชตพื้นที่ความเปลี่ยนแปลงเช่นนี ระบบอุปถัมภ์ในชนบทที่ครังหนึ่งเคยเ็นการจัดความสัมพันธ์ทงสังคมเชิงผู้ใหญ่ ผู้น้อยและเป็นเชิวสงเคราะห์ ก็ต้องปรับเปลี่ยนอย่างลึกซึ้ง จากเดิมที่สามารถเรียกร้องความจงรักภักีได้ยาวนาน ก็เป็นเพียงแลกเปลี่ยนความจงรักภักดีกันเป็นครั้งๆ ไป จนอาจจะกล่วได้ว่าได้สูญเสียลักษณุะสำคัญของระบบอุปถัมภ์ไปหมดแล้ว
          ในขณะที่ความเจริญเติบโตทางเศราฐกิจผลักให้ประเทศไทยเข้าสู่กลุ่ม "ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง" ในนิยามของธนาคารโลก ขณะที่ผลประโยชน์ในภาคเกษตรตกอยู่กับพ่อค้าคนกลางและบิรษัทขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมเกษตรมากกว่าเกษตรกรรายย่อย ส่งผลให้ประชาชนในชนบทดิ้นรนแสวงหารายได้ทางอื่นนอกภาคเกษตร ครหลายล้านคนย้ายเข้ามาทำงานในตัวเมือง มีรายได้จากการเกษตรน้อยลงอย่างต่อเนื่อง
           ผศ.ดร. อภิชาติ สถิตนิรามัย จากคณธเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร ขยายความผลพวงของปรากฎการณ์นี้ที่มีต่อลักษณะของ "ระบบอุปถัมภ์" ในชนบทว่า
         
เมื่อเงินได้ส่วนใหญ่มาจากนอกภาคเกษตร สิ่งทนี้อย่งน้อยก็หมายความว่า แหล่งเงินได้ของชาวชนบทมีหลายแหล่งมากขึ้นรวมทั้งแหล่งเิงนกุ้ในระบบ เช่น กองทุนหมุ่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์ ธ.ก.ส. ก็เพ่ิมขึ้นด้วย ดังนั้นชาวชนบทจึงมีความจำเป็นที่จะต้องพึ่งพิงผุ้อุปถัมภ์ในภาคการเกษตรน้อยลบงด้วย ในอีกด้านหนึ่งนโยบายประชานิยมหลายแบบก็ทำให้ชาวชนบทไม่จำต้องพึ่งพิงผู้อุปถัมภ์ท้องถ่ินอีกต่อไป พุดอีกแบบคือ นโยบายประชานิยมทำหน้าที่แทนผุ้อุปถัมภ์ดั้งเดิม ในแง่นี้ ชาวชนบทส่วนใหญ่จึงหลายเป็นเสรชนที่หลุดออกจากเครือข่ายอุปถัมภ์แบบเดิมๆ แล้ว เขาไม่มีความจำเป็ฯใดๆ ที่จะต้องเชื่อฟังหัวคะแนนอีกต่อไป
          นอกจากระดับ "ความยากจนสัมพันธ์" (ความเลื่อล้ำ) จะส่งผลต่อความรุ้สึกว่าภาวะนี้ "รับไม่ได้" มากกว่าในอดีตแล้ว บรรดา "คนจน" และคนเฉียดจน" ในไทย ของประชากรทั้งประเทศ หรือ 19.6 ล้านคน) ยังมีความไม่มั่นคงในชีวิตสูงกว่าครึ่งศตวรรษก่อน เนื่องจากการดำรงชีวติของพวกเขาต้องพึ่งพาอาศัยระบบตลาดมากว่าเดิม
          ย้อนหลังกลับไปเมื่อปี พ.ศ. 2505 ประเทศไทยยังมีป่าไม้ราว 17.1 ล้านไร่ หรือร้อยละ 53.3 ของพื้นที่ทั้งประเทศสภาพแวดล้อมโดยรวมยังอุดมสมบูรณ์ คนในชนบทถึงแม้จะมีรายได้ต่ำก็ยังสามารถพึ่งพาธรรมชาติได้มาก ทั้งการหาอาหารและนำทรัพยากรมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในครัวเรือน ทำให้อยู่ได้อย่งไม่ขัดสนถึงแม้จะมีเงินสดน้อยก็ตาม
         ห้าทศวรรษหลังจากปี 2505  ประชากรไทยเพ่ิมขึ้นกว่า 2.3 เท่า ป่าไม้และสิ่งแวดล้อมถูกทำลายไปกว่าครึ่ง ไม่สามารถเป็นแหล่งยังชีพของผุ้คนได้เหมือนเคย ระบบเศราฐกิจเข้าสุ่ทุนนิยมอุตสาหกรรมและสังคมบริโภคนิยมอย่างเต็มตัว คนทุกระดับใช้จ่ายเพื่อการบริโภคมากขึ้น นอกจานี้คาครองชีพ (เงินเฟ้อ) ก็เพิ่มสูงขึ้นในเวลาเดียวกัน ส่งผลให้กำลังซื้อที่แท้จริงเพ่ิมขึ้นน้อยกว่ารายได้ที่เป็นตัวเงิน ทั้งหมดนี้หมายความว่า ถึงแม้คนไทยโดยเฉลี่ยจะมีรายไ้มากขึ้น "คนจน" และ "คนเฉียดจน" ก็น่าจะมีความไม่มัี่นคงในชีวิตสูงกว่าสมัยที่ปู่ย่าตายายของพวกเขายังเด็ก...

          บางส่วนจาก "ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา", โดย สฤณี อาชวานันทกุล.

           ถ้าหากความเฃื่อมล้ำเกิดจาพฤติกรรมส่วนบุคคลล้วนๆ เราก็คงไม่มองว่าความเเหลื่อมล้ำระหว่างบุคคลทั้งสองนี้เป็น "ปัญหา" ที่ควรได้รับการแก้ไข แต่ในโลกแห่งความจริงความเลหื่อมล้ำไม่ว่าจะมิติใดก้ตามมัจะเป็นผลลัพธ์ ของเหตุััจัยต่าง ๆที่สลับซับซ้อนและซ้อนทับกัน หลายปัจจัยอยู่ นอกเหนือการกระทำของปัจเจก และเป็น "ปัญหาโครงสร้าง"ของสังคม
            มุมมองเรื่องความเหลื่อมล้ำว่ามิติใดเป็น "ปัญหา" บ้างและถ้าเป็นปัญหาเราควรแแก้ไข "อย่างไร" นั้นเป็ฯเรื่องที่ถกเถียงกันได้มาก แต่ประเด็นหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คื สังคมที่มีความเลื่อมล้ำสูงเป็นสังคมที่คนรู้สึกว่า "ไม่น่าอยู่" เพราะรู้สึกว่าคนจนขยับฐานะลำบากไม่ว่าจะขยันเพียงใด เพราะช่วองว่างใหญ่มาก ส่วนคนรวยที่ "เกิดมารวย" ก็ใช้ความมั่งคีั้งสะสมที่บิดามารดามอบให้เป็นมรดกสร้างความมั่งคั่งต่อไปได้อย่างง่ายดาย
            ความเลื่อมล้ำเป็น "ปัญหา" ในสังคมเพราะคงไม่มีใครอยากอยุ่ในสังคมที่สถานภาพและฐานะของผุ้คนถูกตอกตรึงตั้งแต่เกิด เพราะทุกคนเลื่อกเกิดไมได้ แต่อยากมีสิทธิแลเสรีภาพในการเลื่อกทางเดินชีวิตของตัวเอง ถ้าหากความเลื่อมล้ำส่วนหนึ่งเป้นผลลัพธ์ขอปัญาเชิงโครงสร้าง เราก็ย่อมบรรเทาหรือกำจัดมันได้ด้วยการแห้ปัญหาเชิงโครงสร้างเหล่านั้น
           
นพ.ประเวศ วะสี กล่าวใปี พ.ศ.2544 ว่า "คนไทยควรจะทำความเข้าใจว่า ความยากจนไม่ไ้เกิดจากเวรกรรแต่ชาติปางก่อน แต่เกิจากโครงสร้างที่อยุติธรรมในสังคม ต้องทำความเข้าใจโครงสร้างและช่วยกันปฏิรุปโตรงสร้างที่ทำให้คนจน"
             นิธิ เอียวศรีวงศ์ : ความเหลื่อมล้ำอาจเกิดได้ 4 ด้านด้วยกัน คือเหลื่อมล้ำทางสิทธิ-โอกาส-อำนาจ-ศักดิ์ศรี ไม่จำเป็นว่าความเหลื่อล้ำท้ง 4 ด้านนี้ต้องเกิดขึ้นจากกฎหมายเพียงอย่างเดียว ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากแนวทางการปฏิบัติ หรือพูดให้กว้างกว่านั้นคือเกิดในทาง "วัฒนธรรม"มากกว่
            เช่นคนที่ไม่มีหลักทรัพย์ย่อมเข้าถึงแหล่งเงินกู้ได้ยาก ไม่มีกฎหมายใดบังคับว่าธนาคารต้องให้กู้ได้เฉพาะผู้ที่มีหลักทรัพย์แต่ธนาคารกลัวเจ๊ง จึงเป้ฯธรรมดาที่ต้องเรียกหลักทรัยพืค้ำประกันเงินกู้ ในขณธเดียวกัน ธนาคารไทยไม่เห็นความจำเป็นจะทำไมโรเครดิตกับคนจน เพราะแค่นี้ก็กำไพอแล้วจึงไม่มีท้งประสบการณ์และทักษะที่จะทำ แม้รู้ว่าจะมีลูกค้าจำนวนมหึมารออยู่ก็ตาม..นี้คือโลกทัศน์ของในธนาคารซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ "วัฒนธรรม"
             "ความเหลื่อมล้ำ" ทางเศณาฐกิจนั้นมีอยู่จริง และตนิงจนน่าวิตกด้วย เพราะมันถ่างกว้างขึ้นอย่างน่าตกใจตลอดมา แต่เป็นหนึ่งใน "ความเหลื่อล้ำ" ด้านโอกาส ด้านอำนาจ ด้านสิทธิ จนทำให้คนส่วนหใหญ่ด้อยศํกดิ์สรี ไม่ใช่เรื่องจน-รวยเพียงด้านเดียว
             หรือในทางกลับกัน เรพาะมีอำนาจน้อย จึงถูกคนอื่นแย่งเอาทรัพยากรที่ตัวใช้อยุไปใช้ เหรือต้องคำพิพากษาว่าทำให้โลกร้อน ต้องเสียค่าปรับเป็นล้าน ทำมาหากินด้วยทุกษะทีตัวมีต่อไปไม่ได้ จึงหมดปัญญาหาส่งลูกเรียนหนังสือ ในที่สุดก็จนลง สิทธิก็ยิ่งน้อยบง โอกาสก็ยิ่งน้อยลง อำนาจก็ย่ิงน้อยลง และศักดิ์ศรีก็ไม่มีใครนับขึ้นไปอีก
              อีกด้านหนึ่งที่ลืมไม่ได้เป็นอันขาดคือ "ความเหลื่อมล้ำ" เป็นความรู้สึกนะครับ ไม่ใช่ไปดูว่าแต่เดิมเอ็งเคยได้เงินแค่วันละ 50 เดี่๋ยวนี้เองได้ถึง 200 แล้วยังจะมาเหลื่อล้ำอะไรอีก..
              เหตุผลร้อยแปดที่ทำให้ความพอใจในตนเองของแต่ละคนหายไป จะดูแต่รายได้ที่เป็นตัวเงินอย่างเดียวก็ไม่มีวันเข้าใจ เพราะความพอใจในตนเองนั้นมีเลื่อนไขทางสังคม วัฒนธรรมกำกับอยู่ด้วยเสมอ ยกเว้นแต่พระอริยบุคคล...(บางส่วนจาก นิธิเอียวศรวงศ์ "ความเหลื่อมล้ำ"มติชนสุดสัปดาห์ ฉบัยวันที่ 27 สิงหาคม -2 กันยายน 2553 ฉบับที่ 1567)
           
แนวคิดหลักว่าด้วยความเหลื่อมล้ำ
             ถึงที่สุดแล้ว คำถามที่ว่า ความเหลื่อล้ำในสังคมด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านเศราฐฏิจนั้นเป็น "ปัญหา" ที่เราต้องหาทางแก้ไขหรือไม่ และถ้าต้องแก้ควรใช้วิธีอะไร เป็นคำถามที่ขึ้นอยุ่กับอุดมกาณ์หรือจุยืนของคนในสังคม ปัจจุบันมีสำนักคิดหใญ่ 3 แห่งที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายและวิวาทะสาธารณธในกรอบของระบบเศราฐกิจแบบทุนนิยม ได้แก่ เสรีนิยม ความยุติธรรมทางสังคม และสมรรถภาพมนุษย์ ความแตกต่างระหว่างสำนัคิดทั้ง 3 ส่วนอยู่ที่การให้น้ำหนักกับ "เสีรภาพของปัจเจก" และความยุติธรรมในสังคม" ไม่เท่ากัน
             สำนักคิดทั้ง 3 นี้มีความ "เท่าเทียมกันทางศีลธรรม" กล่าวคื อไม่มีชุดหลักเกณฑ์สัมบูรณ์ใดๆ ที่จะช่วยเราตัดสินได้ว่าสำนักคิดใด "ดีกว่า" หรือ "เลวกว่า"กัน เนื่องจากต่างก็มีจุดยืนทางศีลธรรม้ดวยกันทั้งสิ้น เพียงแต่ให้นำหนักกับคุณต่าหรือคุณธรรมต่างๆ ไม่เท่ากัน การตัดสินว่าจะเชื่อหรือประยุกต์ใช้แนวคิดของสำนักคิดใดสำนักคิดหนึ่งจึงน่าจะตั้งอยุ่บนการประเมินผลได้และผลเสียของแต่ละเแนวคิดเปรียบเที่ยบกับสภาพเศณาฐกิจและสัคมที่เป้นจริง มากกว่าการใช้มาตรวัดทางศีลธรรมไดๆ ที่เป็นนามธรรมดดยไม่คำนนึงถึงสถานการณ์จริง...
         
ความเหลื่อมล้ำกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
            มุมองของคนเกี่ยวกับความเหลื่อล้ำแต่ละด้านว่าอะไรเป็น "ปัญหา" และถ้าเป็นปัญหาควรแก้ไข "อย่างไร" นั้นไม่ได้เป็นส่ิงที่หยุดนิ่งตายตัว ท่าผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงทางเศณาฐกิจแลสะสังคม
            สินค้าอุปโภคบริโภคที่คนมองว่าเป็นเรื่่องปกติธรรมดาในวิถีชีวิตปัจจุบัน ไม่ใช่สิ่งทีอยู่นอกเหนือจินตนาการของคนไทยส่วนใหญ่ เนื่องจากการเติบโตทางเศณาฐกิจของไทยซึ่งสามารถเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 7 ต่อปี เป้นเวบลานานหว่า 25 ปี ส่งผลให้ "ความยากจนเชิงสัมบูรณ์" ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ความเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ ประกอบกับการขยายตัวของบริการทางการเงิน สงผลให้แม้แต่ประชากรที่มีรายได้เพียง สีถึงห้าพันบาท ต่อเดือนก็สามารถมีสิ่งอำนวนความสะดวกสมัยใหม่นอกเหนือจากปัจจัยสี่ ได้อย่างไม่ลำบาก
           การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่กล่าวถึงข้างต้นทให้ปัจจุบัน "ความยากจนสัมพัทธ์" มีน้ำหนักมากว่า "ความยากจนสัมบูรณ์" ในการประกอบสร้างเป็น "ความเหลื่อมล้ำที่คนรู้สึก" แต่ความเหลื่อล้ำที่คนรุ้ึกนั้นก็ใขช่ว่าจะรู้สึกเหมือนกันหมดในบทความเรื่อง "ความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางสังคมในสังคมไทย" ในหนังสือพิมพ์ กรุเพทธุรกิจ พฤษภาคม 2553 รศ.ดร. อรรถจักร์ สัตยนุรักษ์ จากคณธมนุษยศาสตร์ ม.เชียวใหม่ ได้อธิบายมุมมองเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำที่แตกต่างกันมากระหว่างชนชั้นไว้อย่างชัดเจนดังต่อไปนี้
         
"ถึงวันนี้ ผมเชื่อว่าทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่าความเหลื่อมล้ำทางเศณาฐกิจ เป็นรากฐานของความขัดแย้งในสังคมไทย เพียงแต่ว่ามุมมองของความเหลื่อล้ำนี้แตกต่างกันไปตามสถานะและชนชั้น
            ชนชั้นนำและชนชั้นกลางที่ได้รับประโยชน์จากความเหลื่อมล้ำนี้ จะเห็นว่สังคมไทยรับรู้เรื่องนีดีอยุ่แล้ว และรัฐก็พยายามชวยเหลืออยุ่ และมักจะสรุปว่าสภาพความเหลื่อมล้ำก็ดีกว่าเดิมมาก แม้วากลุ่มนี้จะมีความปรารถนาดีต่อคนจนอยุ่ แต่ก็เป็นลักษณะของการ "มองลงต่ำ" หรือเป็นการเห็นและช่วยคนจนในรูปแบบของการ "ก้มหัว" ลงไปช่วยเหลือเป็นหลัก รูปแบบการ "ก้มหัว" ลงไปช่วยเหลือคนจนปรากฎ ก็คือ การ "สงเคราะห์" เป็นครั้งเป็นคราวไป...(To be Countinue...)

             - "ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา" โดย สฤณี อาชวานันทกุล, หน้า 17-33
         
         

วันอังคารที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Income Distribution

           การกระจายรายได้ หมายถึงการแบ่งสันปันส่วนผลผลิตมวลรวมของประเทศ ในหมู่ประชากรของประเทศ โดยใช้เป็นปัจจัยชี้วัดความเท่าเที่ยมทางสังคม ความเท่าเที่ยมทางเศราฐกิจ และการพัฒนาเศราฐกิจอย่างสมดุล
           การกระจายรายได้เป็นัชนีตัวหนึ่งที่ใช้ในการวัดค่าความไม่เท่าเที่ยมทางเศราฐกิจ ซึ่งมิใช่เรื่องเดียวกันกับความยากจน ความไม่เท่าเที่ยมในเชิงเศรษฐกิจที่วัดโดยใช้การกระจายรายได้นั้นจะดูจากการแบ่งสันปันสวนผลผลิตมวลรวมของประเทศโดยแบ่งประชาชนออกเป็นส่วน แล้วดุว่าประชาชนสวนที่ได้รับรายได้สูงสุดนั้นได้ับรายได้มากว่า ประชาชนส่วนที่ได้รับรายได้น้อยที่สุดเ่าไร แลวคิดออกมาเป้นสัดส่วนที่บ่งชี้ความมไ่เท่าเที่ยมทางเศรฐกิจ
           ดังนั้น แม้จะมีความไม่เท่าเที่ยมทางเศราฐกิจก็มิได้หมายคึวามว่าจะมีความยากจนเพราะประชาชนส่วนที่มีรายได้น้อยที่สุดอาจจะมีรายได้เหือเส้นความยากจน หรือแม้แต่มีชีวิตความเป็นอยุ่ที่ดีก็ได้ เพรียงแต่มีรายได้น้อยกว่าประชาชนที่มีรายได้มากที่สุดของประเทศอย่างมากเท่านั้น โดยวิธีการคิดคำนวณเช่นนี้อาจมิได้คำนึงถึง หรือละเลยส่ิงที่เรียกว่า "ช่อง่างระหว่างรายได้" อันเกิดมาจากการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเทียมกัน ซึ่งทำให้ความแตกต่างระหว่งผุ้ที่มีรายได้มากที่สุด กับผุ้ที่มีรายได้น้อยที่สุดของประเทศไทย มีความแตกต่างกันหล่ายยเท่า เพราะประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่อยู่เหนือระดับเส้นความยากจนก็อาจเป็นประเทศที่มีช่องว่างในการกระจายรายได้สูงหลายสิบเท่าได้ด้วยเช่นกัน
            วิธีที่นิยมใช้กันในการวัดการกระจายรายได้คือค่าสัมประสิทธิ์จีนี ซึ่งเป้นวิะีวัดการกระจายทางสถิติวิธีหนึ่ง ค่านี้จะบ่งชี้การกระจายรายได้โดยคิดออกมาเป้นอัตราส่นการกระจายรยได้ระหว่าง 0 กับ 1 "0" หมายถึงประชากรทั้งหมดมีรายได้เท่าเที่ยมกันอย่างแท้จริง และ "1" หมายถึงถ การเหลื่อมล้ำสมบูรณ์แบบซึ่งมีบุคคลเพียงคนเดียวมีรายได้ทังหมดขณะที่คนที่เหลือไม่มีรายไ้ดเลย (องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ) สัมประสิทธิ์จีนี จะถูกเปลี่ยนเป็นร้อยละเพื่อคิดเป็นดัชนีจีนีสำหรับวัดการกระจายรายได้ เช่น ประเทศเอยรมนีมีสัมประสิทธิ์จีนี จากการกระจายรายได้เท่ากับ 0.283 ดัชนีจีนีของเยอมนีจะเท่ากับร้อยละ 28.3
            ดัชนีจีน จะทำการชี้ยวัดการกระจายรายได้เพื่อวัดความเท่าเที่ยมทางเศราฐกิจของทังประเทศ ส่วนอัตราส่วนคนรวยคนจนที่แบ่งประชาชนออกเป็นกลุ่มๆ นั้นจะให้ข้อมูลของความแตกต่างระหว่างคนที่มีรายไ้มากที่สุดกับทคนที่มีรายได้น้อยที่สุดว่าความไม่เท่าเทียมมีความรุนแรงเพียงใด (โครงการ
พัฒนาแห่งสหประชาชาติ) เมื่อเรานึกถึงรูปภาพแก้วแชมเปญ เราสามารถเห็นภาพของปัญหาการกระจายรายได้และการถือครองทรัพยากรของประขากรโลกที่ไม่เป็นธรรม กล่าวคือ คนรวยที่สุด 20 เปอร์เซ็นต์ มีสวนแบ่งในด้านรายได้และทรัพยากรเพียง 1.4 เปอร์เซ็นต์ เท่านั้น ภาพแก้วแชมเปนปากกว้างและก้านเรียวเล็ก สะท้อนความไม่สมดุลในการกระจายรายได้ของประชากรโลกได้เป็นอย่างดี
           ดัชนีจีนีของประเทศไทย ซึ่งจัดทำโดยสหประชาชาติในปี ค.ศ.2013  อยู่ที่ 0.4 ส่วนสำนักงานข่าวกรองกลางสหรัฐอเมิรกาให้ค่านในปีเดียวกันไว้ที่ 0.536  ทั้งนี้ค่าความเหลื่อมล่้ำในการกระจยรายได้ของประเทศถูกตั้งไว้ตั้งแต่ 0-1 โดยยิ่งมีค่าเพ่ิมจาก 0 มากเท่าไหร่ก็ย่ิงแสดงให้เห็นถึวความเลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มาเท่านั้น
           ปัจจัยจำนวนมากสามารถก่อให้เกิดความไม่เท่าเที่ยมของรายได้ ตั้งแต่โคงสร้างทางสังคม เพศ เชื้อชาติ วัฒนธรรมการศึกษาทักษะของกแรงงาน จนถึงนโยบายของภาครัฐ อย่างนโยบายด้านภาษี นโยบายเศณาฐฏิจ นโยบายแรงงาน นโยบายการเงิน รวมถึงระบบเศราฐกิจ เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติในการผลิต จนถึงอิทธิพลจากโลกาภิวัตน์แต่โดยพื้นฐนแล้วการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเที่ยมhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89
กันนั้นมีสาเหตุมาจากธรรมชาติของการสั่งสมต้นทุนทางเศณาฐกจของผุ้เข้าแข่งขันในระบบตลาดเสรีทีจะได้เรียบผุ้ที่มีต้นทุนทางเศณาฐกิจที่น้อยกว่าอยุ่แล้ว ปัจจัยอื่นๆ จึงเป็นเพยงตัวเร่ง และขยายควาไม่เท่าเที่ยมดังกล่าวนี้ให้มากและรุรแรงมากยิ่งขึ้นไปเท่านั้น สำหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุสำคัญที่ตุ้นให้ความไม่เท่าเทียมนั้น สำหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุสำคัญที่กระตุ้นให้ความไม่เท่าเที่ยมดังกล่าวนี้ทวีความรุนแรงมากย่ิงขึ้นก็คือ ความไม่เท่าเที่ยมในโอกาศทางการศึกษา ซึ่งส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่ต้องกลายเป้นประชาชนผู้รายได้ต่ำ และมีโอกาสเข้าสู่ระบบเศราฐฏิจขนาดใหย่เพื่อแสวงหาความมั่งคั่งและความเจริญก้าวหน้าทางเศณาฐฏิจได้น้อยกว่าคนอื่นๆ แม้รัฐบาลจะพยายามแก้ไขปัญหาด้วยการจัดให้มีการศึกษาภาคบังคับ และโครงการค่าเรียนฟรีแล้วก็ตา แต่ด้วยข้อจำกันางเศราฐฏิจของครอบครัวที่บีบบังคับ ทำให้ผุ้คนเหล่านี้ท้ายที่สุต้องผันตัวมาเ็นแรงงานรับจ้างที่มีรายได้ต่ำปัญหาที่ว่านี้ถูกสงต่อไปยังบุตรหลานรุ่นต่อๆไปของพวกเขา ในขณะที่ผุ้มีรายไ้สูงก็จะสามารถเข้าถึงและขยับขยายโอากสในการแสวงหาความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจได้อยู่เสมอ และส่งต่อโอกาสที่ว่านี้ไปยังลูกหลานได้ด้วยเช่นกัน ความแตกต่างในโอากสทางการศึกษาผลิตซ้ำความเหลื่อมล้ำดังกล่าวนี้ให้ห่างมากขึ้นเรื่อยๆ หลายคนมองว่าความเลหื่อมล้ำที่ถุกผลิตซ้ำส่วนหนึ่งเพราะรัฐไม่มีการจัดเก็บภาษีที่ดิน และภาษีมรดกในอัตราก้าวหน้า หากสามารถบังคัยช้กฎหมายภาษีทั้งสองประเภทได้ ช่องว่างในการถือครองทรัพย์สินคื อที่ดิน และการส่งต่อความมั่งคั่งคือมรดก ก็จะลดลงจาเดิม และจะสามารถตอบโจทย์ที่เป็นพื้นฐานสำคัญของปัญหารการกระจายรายไ้ดของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี...

วันจันทร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Tax and Reducing social gap

         ระบบภาษีถือเป็นกลไกที่มีความสำคัญยิ่งในการบริหารและพัฒนาประเทศ และมีความเกี่ยวของสัมพันธ์กับการลดความเหลื่อมล้ำทงเศณาฐกิจโดยตรง ในแง่หนึ่งภาษีคือแหล่งรายได้สำคัญที่สุดของรัฐบาล รายได้จาากภาษีมีควาสัมพันธ์โดยตรงกับโครงสร้างรายจ่ายภาครัฐ หากรัฐบาลมีความต้องการทีจะใช้จ่ายภาครัฐ หากรัฐบาลมีความต้องการที่จะใช้จ่ายเพ่ิมขึ้น ก็มีควาจำเป็นที่จะต้องเก็บภาษีเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในแง่่นั้นนโยบายภาษีจึงมีผลต่อความสามารถในการดำเนินนโยบายต่างๆ เืพ่อลดความ
เหลื่อมล้ำในสังคมในอีกแง่หนึ่ง นโยบายภาษีสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการลดความเลื่อมล้ำไ้ในตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ ทั้งนี้ระบบภาษาีที่ดีควรเป้ฯระบบที่สามารถสร้างความเป้นธรรมให้กับประชาชนทุกคนในประเทศได้
            บทความนี้จะกล่าวถึงสถานการภาพรวม การวิเคราะห์ปัญหาความเหลื่อล้ำในระบบภาษีของประเทศไทยในปัจจุบัน และแนวทางในการปฏิรูประบบภาษาีให้มีความเป็นธรรม และเป็นเครื่องมือลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผ่านการสรุปองค์ควมรู้จากงานศึกษาของนักเศราฐศาสตร์และนักวิชาการรุ่นหมสามท่าน ได้แก่ คร. ภาวิน สิริประภานุกูล อาจารย์ประจำคณะเศรษฐ่ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในงานศึกษารเื่อง "ระบบภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ" (2554), ดร. ปัณณ์ อนันอภิบุตร หัวหน้าฝ่ายพัฒนโครงร้างภาษี สำนักนโยบายภาษี สำนักงานเสราฐกจิการคลัง กรทรวงการคลัง ในงาน
ศึกษาเรื่อง "การปฏิรูปภษาีเพื่อสังคมไทยเสมอหน้า" (2555) และคุณสฤณี อาชว่านั้นทกุล นักเขียนอิสระผุ้เขียนหลังสื่อ "ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา"(2554) ซ฿่งงานศ฿กษาทั้งสามช้ินนีเป็นงานช้ินล่าสุดที่น่ำเสนอประเด็นต่างๆ เีก่ยวกับระบบภาษีของไทยอย่างครอบคลุม ทำให้ผุ้อ่านเข้าใจสาถนการณ์ปัญหาและความสำคัญของระบบภาษีต่อการลดควมเหลื่อมล้ำของสังคมได้เป็นอย่างดี
               ระบบภาษีและควมเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ในช่วง ประมาณ 5 ทศวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ประเทศไทยจะมีอัตราการเจริญเติบโตของเศราฐกิจค่อนข้างสุง จากการปรับโครงสร้างทางเศราฐกิจสู่ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ แต่ความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ กล่าวคือ ผลประโยชน์จากการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจไทยส่วนใหย๋ตกอยุ่กับคนกลุ่มเล็กๆ ในสงคม..ซึ่งโดยทั่วไปแล้วความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้เป็นส่ิงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการพัฒนาเศณาฐกิจของประเทศ แต่ความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ที่สูงเกินไป อาจส่งผลให้เกิดการกระจุกตัวของอำนาจ และทำลายความมันคงของระบบทุนนิยมประชาธิปไตยได้
            เครื่องมือทางการคลังนั้นแบ่งออกำป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือเครื่องมือด้านรายนรับซึ่งคือภาษี และเครื่องมือด้านรายจ่าย ซึ่งคือการใช้จ่ายผ่านงลประมาณผ่านโครงการและนโยบายต่างๆ เครื่องมือสองประเภทนี้เป็นเสมอนเหรียญสองด้านที่แยกชขาดจากกันไม่ได้ ในประเทศซึ่วงบประมาณของรัฐบาลพึ่งพิงรายๆด้จากภาษีเป้นสวนใหญ่เช่นประเทศไทย
          ที่ผ่านมารัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือด้านรายจ่ายในการลดความเลื่อมล้ำของสังคดดยตรงได้ไม่มากนัก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 งบประมาณยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมคุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม คิดเป็นสัดส่วนเพียงประมาณร้อยละ 8 ของจีดีพี เท่านั้น ในขณะทีค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการของโลกมีค่าเฉลี่ยอยุ่ที่ร้อยละ 13.2 ทั้งที่การมช้จ่ายต่างๆ มีความสำคัญอย่งยิงต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชน ดดยเฉาพะอย่างยิ่งคนจนและผุ้ด้อยโอากสทางสังคม เหตุผลส่วนหนึ่งอาจมาจากการไม่ให้ความสำคัญของรัฐบาลเอง แต่อีกส่วนหนึ่งเป็นเพราะรัฐบาลมีข้อจำกัดในการใช้งบประมาณรายจาย ซึ่งเป็นผลจากความจำกัดของรายได้จากภาษี โดยเฉพาะอยางยิ่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
            ท่ามกลางปัญหาการพัฒนาเศรษฐกิจไทยที่ขาดการกระจายผลประดยชน์จากากรเจริญเติบโตทางเศราฐกิจอย่งเท่าเทียม ประกอบกับยความจำกัดในการใช้มาตรการรายจ่ายภาครัฐเพื่อแก้ปัญหาความเลหื่อมล้ำนี้เอง มาตรการทางภาษี คือกลไกทางการคลังทมี่มีความสำคัญอย่างยิ่งและไม่ควรถูกละเลยในการเติมเต็มช่องว่างและแก้ปัญหาต่างๆ ดังกล่าว
          แต่..ระบบภาษีที่พึงปรารถนานั้นควรมีหน้าตาอย่างไร ในทางทฤษำีระบบภาษาีที่ดีนั้นควรเป้นระบบที่มีคุณสมบัติต่างๆ เืพ่อบรรลลุเป้าหมายที่หลาหลาย เช่น ควรสร้างรายได้ที่สร้างรายได้ให้เพียงพอกับต่อการใช้จ่ายของรัฐบาล ควรสร้างควาบิดเบือนให้กับระบบเศรษฐกิจที่น้อยที่สุด ควรเอื้อให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ควรมีความง่ายและก่อให้เกิดต้นทุนในการบริการจัดการที่น้อยทีุ่สด และที่สำคัญ ซึ่งเป้นคุณสมบัติที่อยุ่ในความสนใจของบทความช้ินนี้คือ ระบบภาษาีควรมีความเป้ฯธรรมต่อประชาชนทุกคนในประเทศ
         
 ระบบภาษีที่มีความเป็นธรรม
           แนวคิดเกี่ยวกับระบบภาษีเป็นธรรมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบหลัก ได้แก่ แนวคิดการจัดเก็บภาษีตามหลักผลประโยชน์ และแนวคิดการจัดเก็บภาษีตามความสามารถในการจ่าย ทั้บงองรูปแบบนี้มีเหตุผลที่ได้รับประโยชน์ต่างๆ เหล่านั้นในระดับที่นอยกว่า อย่างไรก็ตามแนวคิดนี้มีความขชัดแย้งเป้าหมายในการลดความเลหื่อล้ำในสังคม ดังนั้นบทความนี้จึงให้ควาใสใกับแนวคิดความเป็นธรรมในลักษณที่สองมากกว่า ซึ่งตามหลักการนี้ ระบบภาษีที่เป็นธรรมควรนำมาซึ่งการจัดเก็บภาษีในระดับที่สูงกว่จากผุ้จ่ายภาษีที่มีความสามารถในการจ่ายที่สูงกว่า โดยไม่คำนึงถึงประดยชน์ที่ผุ้เสียภาษาีแล่ละคนได้รับเป็นการแยกการพิจารณาระบบภาษาีออกจากกิจกรรมและภาษีในระดับที่สูงกว่จากผุ้จ่ายภาษีที่มีความสามารถในการจ่ายที่สุงกว่า โดยไม่คำนึ่งถึงประดยชฯน์ที่ผุ้เสียภาษีแต่ละคนได้รับ เป้ฯการแยกการพิจารณาระบบภาษีออกจากิจกรรมและมาตรการต่างๆ ของรัฐยาล การจัดเก็บภาษีตามหลักการนี้จึงมีความสอดคล้องกับบทบาทของภาษีมในฐานะเป้นเครื่องมือในกาลดความเหลื่อมล้ำโดยตรง
           ตามหลักการการจัดเก็บภาษีบนฐานแนวคิดความสามารถในการจ่าย ระบบภาษีที่เป้นธรรมควรมีลักาณมีความเป้นธรรมตามแนวนอน และมีความเป้นธรรมตามแนวดิ่ง โดยระบบภาษาีที่มีความเป้ฯธรรมตามแนวนอนนั้น (ุ้เสียภาษีที่มีความสามารถในการจายเท่าเที่ยมกันควรต้องจ่ายภาษีในระดับที่เท่กัน ในขณะที่ระบบภาษาีที่ความเป้นธรรมดามแนวดิ่ง ผุ้ที่มีความสามารถในการจ่ายภาษีมีมากว่าควรต้องรับภาระในการจ่ายภาษีในระดับที่สูงกว่า ทั้งนี้รัฐบาบลมีความจำเป้นที่จะต้องมีมาตวัด "ความสสามารถในการจ่าย" ที่เป็นธรรมให้แก่ผุ้จ่ายภาษีทุกคน ซึ่งดดยทั่วไปแล้วความสามารถในการจ่ายของผุ้เสียภาษีจะถูกวัดจากตัวแปรหลัก 3 รูปแบบ ได้แก่ รายได้ของผุ้จ่ายภาษี, ระดับการบริโภคของผุ้จ่ายภาษีและระดับความมั่งคั่ง ของผุ้จ่ายภาษี
            ภาษีในฐานเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำ แนวคิดในการใช้นโยบายภาษีเป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้เร่ิมเป็นที่นิยมในช่วงประมาณ ทศวรรษที่ 1950-1960 โดยให้ความสำคัญกับการเก็บภาษีจากฐานเงินได้ในอัตราก้าวหน้าสูงๆ ทั้งนี้เพราะรายได้ เป็นสิ่งสะท้อนถึงฐานะและความสามารถทางเศราฐกิจของบุคคลในการเสียภาษีได้ดีที่สุด ภายใต้แนวคิดนี้ รัฐบาลควรออกแบบระบบภาษีให้การเก็บภาษีบนฐานรายได้ซึ่งเป้นภาษีทางตรง ทดแทนภาษีทางอ้อมให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อให้ภาษีเป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ในประเทศ และสร้างรายรับให้กับรัฐบาลมากที่สุด
            ภายหลังวิกฤติเศราฐกิจโลกในทศวรรษ 1970 นักเศรษฐศาสตร์เร่ิมเปลี่นเป้าหมายของนโยบายภาษีมาสู่การส่งเสริมให้เกิดสร้างความเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจแทน ภายใต้แนวคิดนี้รัฐบาลมุ่งเก็บภาษีรายได้ในอัตราก้ายหน้าเพียงเล็กน้อย หรือเก็ฐในอัตราเดียว เพื่อเชื่อว่าการจัดเก็ฐภาษีเงินได้ในอัตราก้าวหน้า จะส่งผลบั่นทอนแรงจูงใจในการทำงาน อันจะส่งผลลบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการคิดค้นนวัตกรรมในภาคธุรกิจ รฐบบาลจึงหันมาให้ความสำคัญกับการเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมซึ่บมีฐานภาษีกว้างและสามารภจัดเก็บได้ง่ายกว่าแทน แนวคิดลักษณะนี้ได้กลายมาเป็นแนวคิดนโยบายภาษีกระแสหลักในหลายประเทศทุกวันนี้ ดดยเฉาพะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา รวมทั้งประเทศไทยด้วย....http://v-reform.org/v-report/tax_review1/
           

วันอาทิตย์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Tax

          ประเทศไทยนี่ภือว่าสัดส่วนรายได้จากภาษีตือ จีดีพี ยังต่ำมาก เมื่อเที่ยวกับรายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร แต่ที่นี้ผมเข้าใจว่าเสียงบ่นเรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาส่วนใหญ่มักจะเป็นกลุ่มคนที่มีอยู่ไม่มากนัก เพราะฉะนั้นถ้าจะจัดเก็บเพิ่ม มันก็จะโดนคนส่วนใหญ่..
          ถ้าดูจากพัฒนาการขอโครงสร้างภาษีที่ผ่านมาจะเห็นได้ชขัดๆ เลยว่า เราเสียภาษีกันน้อยเกินไป และไม่ใช่ลักษณะอัตราก้าวหน้า ซึ่งมันไม่น่าจะเป็นแบบนั้น แล้วอีกประเด็นหนึ่งคื อถ้าหากไม่อยากเสียภาษีมากขึ้นก็ต้องไปกดดันรัฐบาลว่า อย่าเอาเงินไปใช้จ่ายเยอะ หรือทำในส่ิงที่ไม่จำเป็น เพราะรายจ่ายของรัฐบาลกับการเก็บภาษีมันมาคู่กันเสมอ
        ในความเป็นรัฐ ัฐบาลก็มีความชอบธรรในการเรี่ยไรเงินจากประชาชนเพื่อนำไปบริหารจัดการไม่ใช่หรือ ต้องพึคงระึกไว้ว่ รายได้หลักของรับบาลประมาณร้อยละ 90 มาจากการจัดเก็บภาษีจากพวกเราเอง ยิ่ง้าเราเรียกร้องให้รัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้นเท่าไหร่ รัฐบาลก็จำเป็จะต้องเก็บภาษีเรามากขึ้นเท่านั้น ถ้ามองประเทศไทยในภาพรวม รัฐบาลก็คล้ายกับ เอเจนต์ คนหนึ่งที่เอาเิงนของพวกเราไปซื้อของแทนเราหรือไปจัดการอะไรบางอย่าง ขณะเพียวกัน กิจกรรมอะไรก็ตามถ้าเราทำกันเองได้ก็อาจจะประหยัดกว่าหรือมีประสิทธิภาพมากกว่าที่รัฐบาลทำ
        มองในมุมที่ง่ายที่สุดอย่งเช่นอาหารการกิน ถ้าเราซื้อขายกันเองได้ อาจจะสะดวกกว่า รวดเร็วกว่าและได้อะไรที่เราต้องการมากว่า โดยที่เราอาจไม่จำเป็นต้องพึงรัฐบาล เพราะบางอย่างถ้าให้รัฐบาลทำแทนมนจะมีข้อเสียก็คือ ต้องผ่านระบบระเบียบขั้นตอนหลายขั้น เช่น ถ้าจะให้รัฐบาลซื้อข้าวแทนเราก็ต้องผ่านการอนุมัติจาก ครม. แล้ว ครม. จึงจะสั่งการให้หน่วยปฏิบัติไปหาข้าวให้เรามาจานหนึง ซึ่งมันส้ินเปลื่อง นียังไม่นับปัญหาเรื่องคอร์รัปชันอีก ซึ่งท้ายที่สุดเราอาจจะไม่ได้ของที่เราต้องการอย่างแท้จริง
         ในมุมองทางเศรษฐศาสตรื เราจึงต้องพยายามจำกัดหน้าที่ของรัฐบาลให้ทำอะไรเท่าที่จำเป็นเพราะเราไม่อยากให้เกิดการสิ้นเปลืองในระบบเศณาฐกิจมากนัก เและบทบาทหนึ่งที่เราคิดว่าเป็นหน้าที่ที่จำเป็นของรัฐบาลก็คื อการลดความเหลื่อล้ำ ถ้ารัฐบาลไม่ทำ เอกชนก็จะไม่มีแรงจูงใจที่จะทำด้วยัวเอง

          กลไกทางภาษีจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้อย่างไร...
          การลดความเหลื่อมล้ำในมุมมองเชิงเศรษฐศาสตร์ เริ่มต้นง่ายๆ คือดูที่รายรับกับรายจ่าย ทุกคนในสังคมควรจะมีรายรับกับรายจ่ายในลักษณะที่ใกล้เียงกัน รัฐบาลสามารถเข้ามามีบทบาทหน้าที่นี้ได้โดยใช้เครื่องมือหลักๆ 2 ส่วนคือ หนึ่ง การใช้จ่ายตามโครงการต่าง ๆ อาทิ โครงการ 30 บาทฯ โครงการเรียนฟรี..ซึ่งจะเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลจะใช้ในการลดความเหลื่อมล้ำได้
          การลดความเหลื่อมล้ำโดยใช้ภาษี มีแนวคิดง่ายๆ คื อคนที่มีความสามารถในการใช้จต่าเพื่อการอุปโภคบริโภคมากกว่า ควรที่จะเสียภาษีในอัตราที่สุงกว่า ส่วนคนที่มีความสามารถในการใช้จ่ายน้อยกว่าก็ควรที่จะเสียภาษีในอัตรที่ต่ำกว่า
           หมายความว่าถ้าคนที่รวยมากๆ มีรายได้ปีหนึ่งเป็นล้าน เขาบริโภคเพียงพออยุ่แล้ว เพราะฉะนั้นเขาก็ต้องมีความสามารถในการจ่ายภาษีเยอะกว่าคนที่มีรายได้ทั้งปี แค่ ห้าหมื่น ถ้าคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ตามสัดส่วนของรายได้ คนที่มีฐานะดีกว่าก็ควรจ่ายสัก 30-40 % ในขณะที่คนที่มีรายได้ต่ำมากๆ อาจจ่ายแค่ 0-10% ไปเลยก็ได้ หรือจ่ายแค่ภาษีมูลค่าเพ่ิม (VAT) 7% โครงสร้างแบบนี้มันจะทำหน้าที่ในการลดความเหลื่อมล้ำได้
           โครงสร้างภาษีของประเทศไทย หลักๆ มี 2 ประเภท ประเภอแรกคือ ภาษีเงินได้ ซึ่งเก็บจากคนที่มีรายได้หรือนิติบุคคล เช่น ดรงงานหรือกิจการที่มีรายได้โดยตรง แบบที่สองคือ ภาษีทางอ้อม ซึ่งจะจัดเก็บผานการอุปโภคบริโภคต่างๆ เช่น VAT
           ความแตกต่างของภาษีทั้ง 2 ประเภทนี้ก็คือ ภาษีทางตรงมันหลักถภาระไปให้ใครไม่ได้ เพราะเป็นการจัดเก็บจากผู้ที่มีรายได้โดยตรง ส่วนภาษีทางอ้อมอย่างเช่น VAT แม้ในทางทฤษฎีรัฐบาลจะจัดเก็บจากธุรกิจที่ขายสินค้า แต่ในทางปฏิบัติผู้บริโภคกลับเป็นคนจ่าย เพราะภาษีในลักษณะนี้ผุ้ขายสินค้าสามารถผลักภาระไปให้ผุ้บริโภคได้โดยการขึ้นราคา ถ้าเก็บภาษีเพ่ิมเขาก็ขึ้นราคา "ฉะนั้น การลดความเหลื่อมล้ำด้วยภาษีทางตรงจะสามารถทำหน้าที่ได้ดีกว่า แต่ภาษีทางอ้อมนี่ไม่ใช่เพราะถ้ายิ่งไปจัดเก็บกบสินค้าที่จำเป็นต่อการอุปโภคบริโภค มันจะมีผลกระทบกับทุกคน ไม่ว่าคนรวยหรือคนจน..https://waymagazine.org/interview-pawin/

วันเสาร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Zakat

             ซะกาด หรือ ทานประจำปีหมายถึงทรัพย์สินส่วนเกนจำนวนหนึ่ง ซึงมุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผุ้มีสิทธิได้รับเมือ่ครบรองปี ถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สิน เงินทาง สินค้าที่เหลือในรอบปีแล้วไม่ทำการบริจาก ผุ้นั้นก็ผู้หนึ่งที่ทำผดบัญญัติของอิสลานและยังถือเป็นการผิดกฎหมายในบางประเทศที่ใช้กฎหมายอิสลามในประเทศไทยมุสลิมจำเป็นต้องจายทั้งซะกาตและภาษี ในอัลกุรอานได้กล่าวถึงการบริจาคฐะกาตว่า "หัวใจของการบริจาคทานคื อการเสียสละเพื่อคนขัดสนและยากจน คล้ายกับการเสียสละเผยแผ่คำสอนอันศักดิ์สิทธิ์ของกุรอาน")
           ซะกาตเป้นส่วนหนึ่งที่จะมาควบคุมความสมดุลทางเสราฐกจิ จริงหรือไม่ และแตกต่างจากภาษีอย่างไร
           ตอบว่าจริง เพราะซะกาตจะช่วยให้ผุ้คนมีความเท่าเที่ยมกัฯ เช่นผุ้ที่รวยก็จำเป็นต้องจ่ายซะกาตให้กับผุ้ที่ยากจน แต่ผุ้ที่ยากจนไม่ต้องจ่ายและการที่คนจนได้รับซะกาตเขาจะไม่ต้องร้องขอแต่เป็นสิทธิของเขาที่เขาจะได้รับอยู่แล้ว

           ซะกาตเป็นส่นนหนึ่งี่จะมาควบคุมความสมดุลของเศราฐกิจ โดยรัฐเปนผุ้ควบคุม นักวิชาการ ในรัฐอิสลามได้วินิจฉัยแะเห็นพร้มกันว่า "ระบบเสณฐกิจอิสลาม"คือวิธีการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ
            ความสำคัญขอซะกาตที่มต่อเศราฐกิจและสังคมผลของซะกาตทางด้านเศณาฐกิจ
            - ผลต่อการงานที่ก่อให้เกิดการผลิต โดยปกติแล้วซะกาตมีแนวโ้มที่จะให้นทำงานก่อผลผลิต เพราะทรัพย์สินที่ไม่ไ้นำมาใช้ประโยชน์นั้นย่อมต้องจ่ายซะกาตเช่นเดียวกน จึงเป้นแรงกระตุ้นให้บุคคลนั้นทำงานอยุ่ในตัว ท่านร่อซู้ลกล่าวว่า "จงนำทรัพย์สินของเด็กกำพร้าไปประกอบธุรกจ อย่าปล่อยให้หมดไป เื่องจาการออกซะกาต"
             ถ้าหากท่านร่อซู้ลกำชับให้คนดุแลทรัพย์สินของเด็กกำพร้า นำไปก่อให้เกิดประโยชน์คนอื่นๆ ที่มีทรัพย์สินก้ต้องทำการค้าขายหรือนำไปลงทุนจนเกิดผลประดยชน์เช่นกันเพราะซะกาตนั้น เป้นส่งิที่บังคับให้จ่าย ไม่วาจะเป็นผุ้นำทรัพย์สินไปประกอบกิจการในการลงทุนหรือเก็บทรัพย์สินของตนไว้เฉยๆ  การแจกจ่ายซะกาตแก่ผุ้ที่เีก่ยว้องกับ 8 จำพวกตามที่อัลกุรอ่านได้ระบุไว้ มีผลทางเศณาฐกจิมากมาย เช่นคนที่รับซะกาตจะใช้ไปเพื่ออุปโภค บริโภค ซึ่งจะกระตุ้นให้ผลผลิตทำการผลิตตามความต้องการของผุ้บริโภคนั้นได้
             ผู้ที่มีหนี้สินล้นตัวจนไม่อาจกู้ฐานะกลับสภาพเดิมได้นั้น เปฯผุ้หนึ่งในบรรดาผุ้มีสิทธิ์รับซะกาต จึงมีหลักประกันและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผุ้ให้กู้ว่าทรัพย์สินที่เขาให้กู้นั้นจไม่สูญเปล่า การกุ้ยืมเพื่อนำปลงทุนประกอบกิจการการต้าก็สามารถดำเนินงานต่อไปได้
            - ผลต่อการกระจายรายได้ ซะกาตมีบทบาทสำคัญในการกระจายรายได้ในสังคม ด้วยการเอาบางส่วนจากทรัพย์สินขงผู้มังคั่งในสังคมไปแจกจ่ายแก่ผู้มีสิทธิ์ได้รับนั้น ก็หมายถึงสังคมส่วนใหญ่จะมีอำนาจซื้อที่สามารถกระตุ้นให้เกิดการผลิตทางอ้อม
           - ผลของซะกาตต่องาน ซะกาตมีผลสนับสนุนห้คนมีงานทำ ทั้งนี้เพราะคนที่ไม่มีงานทำจริงๆ จะได้รับซะกาต เืพ่นำไปลงทุนทำงานด้วยตนเอง
           ซะกาต คือ ทรัพย์สินส่วนหนึ่งที่บุคคลผู้ที่มีหน้าที่ต้องจ่ายไปในหนทางของอัลลอฮ์ และจ่ายให้แก่ บุคคลที่มีสิทธ์ที่จะรับคือ บุคคล 8 จำพวก ได้แก่ คนยากไร้ คนขัดสนเจ้หน้าที่ซะกาต คือพวกคนงาน หรือเจ้าหน้าที่เก็บซะกาต ผุ้ศรัทธาใหม่ ใช้ในการไถ่ทาสคนมีหนี้สิน ที่ไม่สามารถชดใช้ได้ พวกนักรบอาสาในสงครามเพื่อปกป้องศาสนาและคนเดินทางที่มีวัตถุประสงค์ที่ไม่ผิดต่อหลักศาสนา
            วิธีการจ่ายซะกาตแก่ผุ้มีสิทธิ์ ให้จ่ายซะกาตแก่ผู้มีสิทธิ์จาก 8 จำพวกในท้องถ่ิน
            - ถ้าหากมีครบ 8 จำพวก จำเป็นจะตองจ่ายให้ครบทุกจำพวก ไม่ยินยิมให้งดเว้นจำพวกใดจำพวกหนึ่ง
            - ถ้าหากไม่ครบ 8 จำพวก ก็ให้จ่ายแก่จำพวกที่มีอยุ่
            - ถ้าหากส่วนแบ่งขชองจำพวกใด ที่แต่ละคนในจำพวกนั้นได้รับมากเกิดนความต้องงการแล้ว ให้จ่ายส่วนเกินแก่จพวกอื่นๆ
            - ให้แบ่งซะกาตแ่กจพวกที่มีอย่างเท่เที่ยมกัน แม้ว่าความจำ
           สวนภาษี คือ สิ่งที่ผุ้มีรายได้ทุกคนต้องจ่ายเืพ่อพัฒนาท้องถิ่น สังคม หรือประเทศชาติจ่ายให้กับรัฐ
           บทบาทและเป้าหมายของซะกาต เป้ฯที่ประจักษ์ว่า เป้าหมายระบบเศรษฐกิจั้งหลายต่างมุ่งมั่น สร้างความสมดุลขึ้นในสังคม อิสลามถือได้ว่าเป็นระบบการดำเนินชีวิตแรกสุดที่พยายามทุกวิถีทางที่จะผลักดันเป้าหมายดังกล่าวสู่ภาคปฏิบัติอย่างจริงจัง ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งบทบัญญัติต่างๆ ที่มีระบุไว้ในอัลกุรอาน บทบัญญัติเบพื้อต้นในระบบเสราฐกจิอสลาม จึงกำชับให้รัฐเป็นผุ้ทำหน้าที่ในการณรงค์แก้ปัญหาความยากจน มิได้ดำเะนินการโดยจิตสำนึกของชนชั้นที่ครอบครองผลประโยชน์ภายในัฐ อิสลามจึงกำหนดซะกาตต่างๆ เืพ่อสนองเป้าหมายดังกล่าวทั้งนี้เพื่อเจตนารมร์อันสุงสุด ในการประทานอัลกุรอาน นั้นเพื่อสถาปนาประชาชาติแบบอย่างและจัดการระเบีบวสังคม เพื่อพิทักษ์ดลกให้อยุ่ในระบบที่ถุกต้องมั่นคง การเรยกร้องเชิญชวนในอัลกุรอานจึงมีลักษณะสากลเพื่อให้มนุษย์โลกทั้งมวล โดยใช้หลักการศรัทะาเป็นแกนนำในการสร้างความผุกพัน
         
ด้วยเหตุนี้อัลกุรอานจึงนำเสนอหลักการต่างๆ ประกันความเป็นปึกแผ่นระหว่างสมาชิกสังคม และระหว่างสังคมทั้งหลายทำให้สังคมทุกระดับ มีความสงบสุขและเชื่อมั่นในการติดต่อและพันธสัญญา
            ส่วนหนึ่งจากหลักการดังหล่าวคื อหลักสวัสดิการสังคมซ฿่งแทรกซึมอยุ่ใระบบอิสลาม ซึ่งเร่ิมจาหน่วยทีเล็กที่สุดของสัคม คื อครอบครัวไปสู่สาะารณะชน
           อิสลามถือว่าวัตถุนั้นคื สือสงเสริมการปฏิบัติทางจิต เตพื่อบรรลุถึงความรักต่ออัลลอฮ์ จึงเสนอกฎเกณฑ์แห่งสัญชาติญาณ การปลดอล่อยมุนษย์จากความเป้ฯทาศจนกระทั้งมนุษย์มีอสิรภาพด้านวิถตถุ หลุ่มพ้นจาการอัปยศแห่งการของและความไม่เป็นธรรมในสังคม
          ซะกาตมีความแกต่างจากภาษี เพราะซะกาต จะเก็บจากผุ้มั่งมีให้กับผุ้ยากไร้ที่กำหนดสิทธิในการเป้นผุ้รับตามศาสนบัญญัติ ได้แก่ พวกคนจน คนอนาถา คนเดินทง ผุ้เข้ารับอิสลามใหม่ ในการไถ่ทาส ผุ้ที่มีหนี้สินท่วมตัว ผุ้ทำหน้ามี่รวบรวมซะกาต และในหนทางของอัลลอฮ์(นักรบในศาสนา)
           ส่วนภาษี รัฐจะเรียกเ็บจากผุ้ที่มีรายได้ต่างๆ เช่นภาษีรายได้จากบุคคล ภาษีโรงงาน ภาษาที่ดิน และภาษีอื่นๆ ซึ่งจะต้องประเมินจากอัตราของรายได้ และมีโอกาสเรียกเก็บย้อนหลังได้ ดดย ที่มิได้กำหนดภาษีว่าจะต้องตายตัว แพระาจาการประเมนิส่ิงเียวที่คล้ยกับซุกาตก็คือ รายได้แตกต่างกันตรงหลักการ....http://muslimchiangmai.net/index.php?topic=3355.0;wap2

วันศุกร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2560

Gap and problem...

             ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็นระบบเศราฐกิจที่ให้เสรีภาพแก่ภาคเอกชนนการเลือกดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจโดยเอกชน มีกรรมสิทธิในทรัพย์สินและสามารถเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต รวมถึงเศรษฐทรัพย์ต่างๆ ที่ตนหามาได้ มีเสรีภาพนการประกอบะุรกิจ ส่วนผุ้บริโภคสามารถที่จะเลือกอุปโภคบริโภคสินค้า และบิรการต่างๆ ได้อย่างอิสระเสรี แต่ทั้งนี้เสรีภาพดังกล่าวจะต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายหรือการดำเนินการใดๆ จะต้องไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของบุคคลอื่น
             โดยระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจะขับเคลื่อนได้ด้วยระบบการแข่งขันางด้านราคาและระบบตลอดา ซึงเป้นกลไกสำคัญในการจัดสรรทรัพยากร และกำหนดเศราฐกิจว่า จะผลิตอะไร เพื่อใคร และอย่างไร ส่วนการกระจายสินค้าและบริการ ขึ้นอยู่กับความต้องการของผุ้บริโภค ทั้งนี้ความต้องการของผุ้บริโภคจะบอกถึงมูลค่า หรือเป็นตัวกำหนดราคาสินค้าและบริการ....
              โดยรัฐบาลจะมีหน้าที่ควบคุมกฎ กติกาและดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองเพื่อให้กลไกตลาดทำงานได้ และห้ามเข้ามาแทรกแซงหรือำหน้าที่จัดสรรทรัพยากรแทนตลาด ปล่อยให้ตลาดจัดสรรทรัพยากรเองไปตามธรรมชาติ และทำหน้าที่ป้องกันประเทศเท่านั้น
              ระบบทุนนิยคม ทำให้เกิดการพัฒนาทางเศราฐกจิที่รวดเร็ว เพราะประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจ สามารถเลือกตัดสินใจดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามที่ตนถนัน กำไร และกรรมสิทธิในทรัพย์สิน เป้ฯแรงจูงใจที่ทำให้การทำงานเป็นไปอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากผลิตได้มากน้อยเท่าไร ก็จะได้รับผลตอบแทนเท่าใน ซึ่งในขณะเดียวกันระบบทุนนิยมก็มีข้อบกพร่องเช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป้ฯความเหลื่อมลำทางเศษรฐกิจที่เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนมาก มีลักษณะการกระจุกตัวของรายได้หรือ "รวยกระจุก จนกระจาย" ซึ่งส่งผลให้เกิด ความยากจน การว่างงาน ความไม่เสมอภาค จนเกิดการแย่งชิงทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียมกันอันเนื่องจากความสามารถที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคล ผุ้ที่มีความสามารถสูงกว่าจะเป็นไดเปรียบ ตลอดจนราคาหรือกลไกตลาดยังไม่ใช่เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเพียงพอสำหรับการจัดสรรทรัพยากรของระบบเศราฐกิจเรพาะสินค้าและบริการบางอย่างมีการผูกขาดหรือเ็ฯสินค้าสาธารณะซึ่งจะต้องใช้เงินลงทุนมาก อาจ เสี่ยงกับภาวะขาดทุน หรือไม่คุ้ค่าในเชิงเศราฐกิจ ..ราคาจึงไม่สามารถเข้ามาทำหน้าที่ในการจัดสรรพทรัพยากรได้ อีกทั้งระบบการแข่งขันหรือกลไกราคาอาจทำให้การใช้ทรัพยากรทางเศณฐกิจอย่างสิ้นเปลือง...และอื่นๆ อีกมากมากย ดังนั้นหลายท่านึงเชื่อว่า การพัฒนาที่ยังยืนเป้นอีกแนวคิดหนึ่งที่จะสามารถเข้ามามีบทบาทในการจัดการแก้ไขปัญหาของระบบทุนนิยมได้http://oknation.nationtv.tv/blog/HotTopic/2011/10/30/entry-1
           
 ปัญหาจากช่องว่าทางสังคม
             นักบวชท่านหนึ่งซึ่งศึกษาทางด้านปริญญาเอกจากสถานทบันการศึกษาต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และบวชพระอยุ่ 25 พรรษา ได้เคยอธิบายคำว่า "ทุกข์" ความจริงความหมาย "ทุกข์" มาจากสิ่งที่เรียกว่าช่องว่างที่ไม่ดี ตัวอย่างเช่น การล่าสัตวืมาแต่ละครั้งจะต้องมีการจัดสรรปันส่วนอย่างยุติธรรมมากน้อยตามลำดับ แต่เมื่อใดก้ตามคนที่อยุ่ระดับเีดยวกันที่ควรจะได้เท่ากันได้รับส่วนแบ่งไม่เท่ากันก็จะเกิดช่อง่าง ซึ่งแน่นอนย่อมนำไปสู่ความไม่พอใจอาจนำไปสู่ความขัดแย้ง แลเป็นเหตุแห่งทุกข์
            ทุกข์ในแง่นี้จึงมาจากการเกิดช่องว่า วิะีการแก้ปัญหาก็คือพยายามปิดช่องว่าง เช่นคนที่ได้รับเงินเดือนๆ ละ หมื่นห้าพันบาท แต่คาดหวังว่าจะได้ เป็นสองหมื่นห้าพันบาทเมื่อไม่สามาถจะขอให้ขึ้นเงินเดือนได้ตามที่ต้องการก็อาจหางานใหม่ที่มีรายได้ใกล้เคียนี้คือวิะีการปิดช่องว่าง อีกวิะีกนึ่งก็คือการยอมรับสภาพโดยไม่เรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงแล้วอยุ่กับความเป้นจริงอันนั้น อันนี้เท่ากับเป้นการทำใจหรือปลงเพื่อมไ่ให้เกิดชอง่าง ซึ่จะไม่นำไปสู่ความเกิดการทุกข์ใจ
            สำหรับช่องว่างของคนที่ยอยุ่ในสังคมเดียวดัน และเมื่อใดที่เกิดชองว่างก็มักจจะนำไปสู่ปัญหา..โดยเฉาพะอย่าฝยิ่งคำว่า "ยุติธรรม" ความยุติธรรมสำหรับคนๆ หนึ่งอาจเป็นความไม่ยุติะรรมสำหรับอีกคน หนึ่ง กลับกันฉันใดก็ฉันนั้น ช่องว่างจึงเป็นที่มาของปัญหาโดยมีลักษณะต่างๆ ดังนี้ คือ
            - ช่องว่างระหว่างวัย ความแตกต่างระหว่างมุมมองปัญหา วิธีการแก้ปัญหา เป็นต้น
            - ช่องว่างระหว่างความรุ้ ความแตกต่าอาจเนื่องมาจากพื้นฐานทางความรุ้และภูมิหลัง รวมทั้งระบบความคิดซึ่งไปคนละทิศละทาง
            - ช่องว่างระหว่างความคิด เมื่อความรู้ต่างกัน ความคิดก็อาจจะต่างกัน หรือแม้ความรุ้ใกล้เคียงกัน ก็อาจจะต้างอุดมการณ์ ต่างประสบการณ์ ต่างความเชื่อ ต่างค่านิยม ซึงจะนำมาสุความคิดที่ไม่สามารถจะเข้ากันได้ ช่องว่างระหว่างความคิดเป็นของความขัดย้วงที่รุนแรงเพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับนามะรรม ความถุกผิด ความดีชั่ว ซึ่งทุกคนมีจุดยืนของตนเอง มีค่านิยมที่ตนต้องการรักษา มีศรัทะาและความเชื่อที่ไม่อยากให้ใครมาเปลี่ยนแปลง ช่องว่างระหว่างความคิดมีอยู่ในสังคมทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมระยะเปลี่ยนผ่าน
           - ช่องว่างระหว่างมาตรฐานศีละรรม
           -ช่องว่างระหว่าเงินตรา
           - ช่องว่างระหว่างการบริหารจัดการ
           - ช่องว่างระหว่างวัฒนะรรม
           - ช่องว่างระหว่างเทคโนโลยี
           แต่สิ่งที่จะเกิดขึ้นในสังคมก็คื อความขัดแย้งระหว่างช่องว่างต่างๆ เช่น คนรวยกัยคนจนมีความขัดแย้งเรื่องเงินตร แต่คนจนก็รู้ภุมิหลังคนรวยว่าเป็นคนไร้ศีลธรรม และถ้าหากคนที่มีรายได้น้อย เป็นมีความรุ้ มีการศึกษา ในขณะที่คนที่ร่ำรวยกว่านั้นอาจจะมีระดับการศึกษาที่ไม่สุง มีความคิดทีตื้นเขินและผิวเผิน ก็จะกลายเป็นช่องว่างระหว่างความรุ้และความคิด ..ย่อมเห็นว่แม้ช่องว่างทางการเงินจะต่างกันแต่ช่องhttps://www.siamrath.co.th/n/1832
ว่างทางด้านอื่นๆ ระหว่างสองคนนี้ก็สามารถทำในมีความภาคภูมิใจในส่วนที่ดีของตน ในแต่ละคน...
           
ปัหาช่องว่างความแตกต่างอีกปัญหาคือ ปัญหาอันเนหื่องมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนดลยี เกิดขึ้นเนืองจากความจริงที่ว่าประชาชนทุกคนไม่มีความรุ้และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนดลยี หรือไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อรับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของภาครัฐในครั้งนี้
            ภาพที่เกิดคื อกลุ่มประชาชนผุ้ไม่มีความรุ้ความสามารถ หรือไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี ได้อย่างเท่าเทียม มีแนวโน้มที่จะถูกละเลยและไม่ได้รับบริการจากภาครัฐอย่างเหมาะสมหรือเท่าที่ควร
            ลักษณะความรุนแรงของปัญหานี้ในแต่ละประเทศ เป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยสะท้อนความมีวิสัยทัศนืและควาต้ั้งใจจริงของภาครัฐบาล รวมถึงเหตุผลเบื้องหลัง การลงทุนในโครงการทางเทคโนดลยี ที่มีมุลค่ามหาศาลในครั้งนี้ ของประเทศนั้นๆ ว่ามีการงางเป้าหมายสูงสุดยอุ่ที่สิ่งใด ซึ่งโดยทัวไปอาจถูกปบ่งออกได้เป็นสองประเภท
           - เพื่อยกระดับการทำงานของระบบงานภาครัฐทั้งระบบ โดยการปรับให้มีระบบการทำงานพื้นฐานอยุ่บนระบบคอมพิวเตอร และเชื่อมดยงระหว่างหน่วยงานผ่านระบบอินเตอร์เนต ซึ่งเชื่อว่าจะทำให้ประสิทธิภาพในการทำานของภาครัฐ มีการพัฒนาขึ้น
           - การทำให้ทั้งประเทศได้รับประโยชน์ จากการลงุทนในครั้งนี้ ึ่งแนนอนว่าหนึ่งในตัวแปรชี้วัดความสำเร็จของโครงการนี้ จักต้องรวม การวัดความสำเร็จของการทำให้ภาคประชาชน สามารถเขาถึงหรือเข้ารับบริการภาครัฐบนเครือข่ายอินเตอร์เนต รวมทั้งการให้ความรุ้แลสร้างความสามารถ ให้กับภาคประชาชนในการใช้งานเทคโนดลยีที่เกี่ยวข้อง ได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันนั้นหมายคึวามว่า โครงการ อี-กอปเวอร์เม้นต์ ในหลายๆ ประเทศ กำลังประสบความล้มเหลว เนื่องจากไม่สามารถตอบสนองเป้าหมายสูงสุดของโครงการได้....
            ....ปัญหาดิจิตทัล เป็นปัญหาที่ทุกประเทศต้องให้ความใส่ใจและำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วนแลเท่าทันเนื่องจากเป็นปัญหาที่มีต้องพิจารณาแก้ไขจากด้านอื่นๆ นอกเนหือจากเทคโนโลยี และต้องใช้ระยะเวลานานในการดำเนินแก้ไข...https://blogazine.pub/blogs/sensemaker/post/1542
             

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...