วันศุกร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ASEAN new generation Part 2
นูร์ ฮุดา อสมาอิล นักวิจารความขัดแย้งรุ่นใหม่ชาวอินโดนีเซีย
อินโนีเซีย : การก่อตัวของกลุ่มหัวรุนแรง กับมุมมองใหม่เพื่อต่อสู้ปัญหาก่อการร้ายจากระดับรากหญ้า
อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซี และสิงคโปร์ คือกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พบความเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่ที่เดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงในตะวันออกกล่างอย่างต่อเนื่อง และอินโดนีเซียคืออีประเทศที่กำลังเผชิ(ญกับความขักแย้งทาง เชื้อชาติ ศาสนรา และการก่อการร้าย
นูร์ ฮุดา อสมาอิล คือนักวิจัยด้านความขัดแย้งรุ่นให่ช่าว อินโนีเซีย ที่เลือกที่จะแก้ไขปัญหาความคิดรุนแรงและากรก่อการร้ายในภูมิภาคนี้ด้วย มุมมองและวิธีการใหม่
การสัมผัสกับความตายและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ทำให้อิสมาอิลตั้งคำถามต่อสิ่งที่เกิดขึ้นว่า หากปัญหาเดิม ๆ ยังคงเกิดขึ้น แสดงว่าวิธีการแก้ไขปัญหาที่ใช้อยุ่อาจจะไม่ใช่ทางออก จากข้อสัวงเกตนี้ทำให้เขาตัดินใจไปศึกษาต่ด้านความมั่นคงและความขัดแย้ง แล้วกลับมาตั้งสถาบันวิจัยด้านสันติภาพและการแก้ปัญหาการร้ายในอินโดนีเซียน และเริ่มวิจัยและค้นคว้าถึงสาเหตุที่คนธรรมดาตัดสินใจเข้าร่วมกลุ่มหัว รุนแรง จนท้ายที่สุดนำปสู่การลงมือก่อเหตุ กระทั่งเขาพบค่าตอบว่า ไม่มีใครเกิดมาเป็นผุ้ก่อการร้าย
การค้นคว้าและวิจัยข้างต้นทไใ้กเขาพยายามแก้ปัญหาการก่อการร้ายแบบล่างสู่บน คือการเยียวยาความคิดของคนที่ก่อเหตุรุนแงให้กลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อีกค้ง และงเสริมสถาบันหน่วยล็กที่สุดอย่างครอบครัวและชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
"ตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ทีมงานของเราได้ลงพื้นที่ไปศึกษาใน 32 เมืองทั่วทุกหมู่เกาะของอินโนีเซีย รวมไปถึงผุ้มีแนวคิดรุนแรงหลายร้อยคนทั่วมาเลเซียและสิงคโปร์ และพบว่าหนทางที่ดีที่สุดในการป้งกันและเยียวยาความคิดรุนแรงคือการเข้าใจที่มาที่ไปของความคิดพวกเขาผ่านมการสัมผัสและพุดคุย รวมถึงสังเกตุกิจกรรมที่พวกเขาทำ
"ผมไม่ได้เข้าไปแล้วบอกให้พวกเขาเปลี่ยนอุดมการณืหรือความเชื่อ เพราะพวกเขาจะยิ่งต่อต้านทันที่ แต่เราพยายามเข้าใจกิจกรรมี่พวกเขาทำ รวมถึงทำให้ครอบครัวและชุมชนตระหนักว่านี้คือปัญหาของพวกเขาด้วย ซึ่งเป้นการแก้ไขปัญหาจากระดับรากหญ้า"
"ผมจำแนกการเข้าร่วมออกเป็น 3 สาเหตุ หนึ่ง ผุ้ก่อการร้ายที่ตัดสินใจเข้าร่วมหรือก่อเหตุเพราะอุดมกาณ์ สอง ผุ้ก่อการร้ายที่ตัดสินใจลงมือเพราะต้องการแก้แค้น ซึ่งสาเหตุยนี้กำลังมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ " ซึ่งที่ผ่านมาเขาได้เยียวยาความคิดของนักรบกลุ่มญิฮัดบางคนแล้ว
จากการพูดคุยกับอิสมาอิล เราสามารถกล่าวได้ว่า เขาเลื่อกที่จะเข้าใจ โครงสร้เางของปัญหา ก่อนที่จะลงเมือแก้ไขปัญหาก่อการ้ายที่เกิดขึ้น ซึ่งขณะนี้กำลังลุกลามบานปลายไปทุกภูมิภาคของโลก และครอบคลุมไปทั้งบริบททางการเมือง วัฒนธรรม และศาสนา
"ผมอย่างผลักดันแนวทางนี้ในระดับภูมิภาคและนานาชาติในภายภาคหน้า ขณะที่อาเซียนถูกมองว่าเป็นภูมิภาคแห่งความหวัง เรพาะเรายังไม่เผชิญกับสงครามรุนแรงเท่ากับภูมิภาคอื่น การที่พ้นที่นี้กลายเป็นพื้นที่เฝ้าระวังที่สำคัญนั้นจึงหมายความว่าโลกกำลังเผชิญปัญหานีอย่างแท้จริง
ในปี 2016 กรุงจากร์ตาของอินโดนีเซียเจอกับเหตุดจมตีด้วยระเบิดฆ่าตั้วตาย 6 ครั้ง และเหตุดจมตีล่าสุดในฟิลิปปินส์ ที่มีผุ้เสียชีวิตไป 22 คน ดดยผุ้ลงมือได้ประกาศสวามิภักดิ์ต่อกลุ่ม ไอ เอส
เมียนมา : สร้าง "การศึกษา" เสาหลักคานอำนาจรัฐที่ไม่เป้นธรรม
ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐ คือปัญหาที่เกือบทุกประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเแียงใต้เผชิญร่วมกันมาเป้นเวานราน และส่งผลกระทบต่อ
กระบวนการสร้างประชาธิไตยของแต่ละประเทศจนเกิดภาวะชะงัก ชะลอ หรือสะดุด ซึงบทบาทของ "องค์กรอิสระ" มีความสำคัญอย่างยิง เมื่อประชาชนเร่ิมตั้งคำถามกับความชอบธรรมของรัฐ
"ลิน เต็ต เน" คือนักศึกษาชาวเมียนมาที่ตัดสินใจก่อตั้งสหพันธ์นักศึกษาเมียนมา และ โครงการสนับนุการศึกษาทางเลือกใหกับเยาวชนในเมียนมา ก่อนหน้านี้เขาถูกรัฐบาลทหารเมียนมจับกุม 2 ครั้งครั้งแรกในปี 2007 จากการร่วมประท้วงเพื่อต่อต้านรัฐบาลทหารเมียนมา และครั้งที่สองในปี 2015 จากการประท้วงต่อต้าน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ (เร่ิมมีการบังคับใช้ในปี 2004) ที่ถูกนักศึกษาและภาคประชาสังคมมองว่ารัฐบาลทหารใช้อำนาจเบ็ดเสร็จในการควบคุมระบอบการศึกษา ไม่เปิดโอกาสให้ครุนักศึกษ และภาคประชาสังคมเข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อหลักสูตรและเนื้อหาวิชา ที่พวกเขามองว่ารัฐบาลละเลยวัฒนธรรมและภาษาของกลุ่มชาติพันธ์ุอื่นๆ รวมถึงปิดกั้นสิทธิเสรีภาพกาก่อตั้งองค์กรนักศึกษาอย่างเป็นอิสระ
"เผด็จการทหารต้องการควบคุมทุกภาคส่วน เพราะต้องการให้อำนาจยังอยุในมือพวกเขาพวกเขาจึงพยายามล้างสมองคนรุ่นใหม่อย่างเป้ฯระบบผ่านนโยบายการศึกษา อย่างเชนส่ิงที่เราเรียนในห้องเรียน หรือการรวมตัวของนักศึกษ และน่คือสาเหตุว่าทำไมพวกเขาจึงต้องมี พ.ร.บ.การศึาษาแห่งชาติ มีรวมอำนาจไว้ที่สูนย์กลาง ซึค่งทำให้พวกเขาควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับระบบการศึกษาได้เบ็ดเสร็จ และการศึกาษคือส่วนสำคัญที่จะทำให้ทหารสามารควบคุมประทศได้ง่ายขึ้น"
แม้วาวันนี้เมียนมาจะเปลี่ยนมาสุ่ระบอบประชาธิปไตยที่นำโยพรรค "เนชั่น ลีค ออฟ เดโมแครต" อำนาาจของทหารยังคงแทรกซึมผ่านรัฐรรมนูญ และเนื้อหาบางส่วนใน พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติฉบับนี้ที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข
"รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2008 ที่อำนาจของทหารยังแทรกแซงอยู่ในการเมือง ทำให้รัฐบาลของพรรค NLD ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนอะไรไ้ดมาก และเชื่อว่าการปฏิรูปการศึกษานั้นเป็นเรื่องยากเกนไปทีจะเปลียนในตอนนี้"
เมื่อประชาชนไม่อาจฝากความหวังทั้งหมดไว้กับนโยบายและการปฏิบัตของรัฐ การผลักดันความเปลี่ยนแปลงด้วยภาคประชาชนจึงสำคัญ และนี้คือสาเหตุที่ลินเลือกที่จะผลักดันการศึกษาต่อผ่าน "เดอะ วิงส์ แคปปิซิตั้ บิวดิ้ง สคูล" โครงการสนับสนุนการศึกษาทางเลือกให้กับเยาชนในเมียนมา เรพาะเขาเชื่อว่าการศึกษาจะช่วยสร้างสันตุภาพและสังคมประชาธิปไตยขณะที่สหพัฯธ์นักศึกาาเมียนมาที่เขาได้ก่อตั้งนั้นยังคงเกินหน้าต่อสู่เพื่อให้รัฐบาลเปลี่ยน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติฉบับนี้ โดยมีเป้าหมายให้คำนึงถึงภาษาและวัฒนธรรมขอวกล่มุชาติพันธุ์อื่นๆ มากขึ้น รวมถึงให้อำนาจกับภาคการศึกษาได้เข้าไปมีบทบาทในการกำหนดลักสูตและเนื้อหาวิชา
"ประเทศที่มีคุณภาพการศึกษาต่ำ ประชาธปิไตยไม่สามารถงอกเงยได้ การศึกษาควรถูกพัฒนาให้เป้ฯพื้นที่ที่สร้างวัฒนธรรมแห่งประชาธิปไตยให้กับประชาชน
กัมพูชา : ต่อกรภาครับด้วยการเปิพื้นที่การแสดงออกและให้ความรุ้ด้านสิทธิมนุษยชน
สุภาพ จัก ชาวกัมพูชา วัย 29 ปี เลือกที่จะชับเคฃื่อเรื่องสิทธิมนุษยชนในกัมพูชาผ่านองค์กรอิสระเช่นเดียวกัน เธอดำรงตำแหน่งผู้อำนวยกรบริหารศูนย์สิทธิมนุษยชนแห่งกัมพุชา เืพ่อต่อสู้และลบล้างความกลัวในการแสดงออกทงความคิด โดยเฉพาะการวิพากวิจารณ์การใช้อำนาจของรัฐบาลเนื่องจากกัมพุชาเป้นอีกประเทศที่ถุกปกครองโดยพรรค "คอมโบเดียน พีเพิล ปาตีย์" มาตั้งแต่ปี 1979 หรือเป็นเวลาทั้งหมด 38 ปี การเลือกต้้งที่เกิดขึ้นตลอกเวลาที่ผ่านมาจึงถภูกทั้งประชาชนและต่างชาติวิพากษวิจารณืว่าเป้นการเลือกตั้งที่ไม่โปร่งในและไม่ยุติธรรม
"การที่รัฐบาลกัมพุชาจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการรวมตัวของภาคประชาสังคมรวมถึงกวาดล้างและจับกุมนักเคลื่อนไหวได้สร้งบรรยากาศแห่งความหวาดกลัว สิ่งนี้ทำให้นักเคลื่อนไหวหลายคนถอดใจหรือหวาดกล้วที่จะรณรงค์เรื่องนี้" ซึ่งกัมพูชาได้ออกกฎหมายที่สามารถสั่งยุบองค์กรอิสระ และห้ามทำกิจกรรมเคลื่อไหวต่างๆ
กัมพุชากำลังจะมีการเลื่อกต้งทั่วไปในปี 2018 ซึ่งแน่นอนว่ารัฐบาลกัมพุชาพยายามรักษาอำนาจด้วยการจำกัดเสรีภาพการแสดงออก จักได้พยายามต่อสู้ให้กัมพูชามีการเลื่อกตั้งที่มีคุณภาพให้ได้มากที่สุด้วยการเปิดโอากสให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง เพราะจะเป็น "รากฐาน" สำคัญที่นำไปสู่การเลื่อกตั้งที่โปร่งใสและยุติธรรม
"องค์กรเราจัดรายการวิทยุ ที่เปิดโอกาสให้นักการเมืองจากทุกพรรคได้มานำเสนอนโยบายและถกเถียงกับผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั่วประเทศ เพื่อเปิดพื้นที่ให้กับฝ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากฝ่ายรัฐบาล รายการนี้กระจายเสียงไปทั่วประเทศและได้รับการตอบรับที่ดีมาก นอกจากนี้เรายังจะส่งเจ้าหน้าที่ไประจำการตามคูหาเลือกตั้งเพื่อป้องกันการทุจริต
ภารกิจและกลยุทธ์ของศูนย์สิทธิมนุษยชนแห่งกัมพุชาคือากรสร้างสังคมที่ตระหนักและเคารพต่อสิทธิมนุษยชนโดยการปูพื้นสิ่งเหล่านี้จากรากฐาน และเดินหน้าทำวิจัยสะท้อนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกัมพูชา ทั้งเรื่องการครอบครองที่ดิน สิทธิของชนกลุ่มนอยในกัมพุชา ผุ้หยิ่ง ไปจนถึงกลุ่ม LGBT
"เราให้ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในชุมชน และยังส่งเสริมให้พวกเขาร่วมสร้างความเปลี่ยนแปลงด้วยการแนะแนววิธีการ กลยุทธ์ และเครื่องมือที่จะสามารถขับเคลื่อนเรียองต่างๆ ได้ พวกเขาจะตระหนักตอเรืองการละเมิดสิทธิมนุษยชนมากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การเคลื่อนไหวที่มีพลังมากขึ้น
"ท้ายที่สุด เมื่อสิทะิมนุษยชนได้รับการเคารพ ประชาธิปไตยที่เข้มแข็งและยังยืนจะตามมา"
นี่คือเสียงจากคนรุ่ใหม่ 5 คน 5 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเียงต้ที่สะท้อนว่า ภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและศาสา เราต่างเผชิญกับความ ท้าทายและปัญหารที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
เสียงสะท้อนเหล่านี้ไม่เพียงทำให้เราเห็นความจริงและปัญหาชัดขึ้น แต่ยังช่วยส่งเสียงของประชาชนให้ดังและไกลออกไปจนถึงจุดที่ฐานเสียงของประชาชนซึ่งเป็นหัวใจของประชาธิปไตยเ้มแข็งและหนักแน่นมากพอ...https://thestandard.co/news-world-asean-democracy-human-right-education-and-terrorism/
"
ASEAN new generation
ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เมื่อสำรวจความเป้นไปในแต่ละภูมิภาคทั่วโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือภูมิภาคิที่หลายๆ ประเทศอยากจะกระชับความสัมพันธ์และขยายความร่วมมือ เพราะมองว่่าเป้นภูมิภาคแห่งความหวัง เนื่องจากปลดสงครามกลาางเมืองรุนแรงอย่างที่กำลังเกิดขึ้นในตะวันออกกลาง และยังเป็นภูมิภาคที่ขับเคลื่อนด้วยความรู้และพลังใหม่ๆ จนเป็นเขตเศราฐกิจน่าจับตามอง
แต่ภายใต้พลังใหม่ๆ ภูมิภาคนี้กำลังเผชิญปัญหาด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติและชาติพันธุื การใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐบาล และสิทะิเสรีภาพในการแสดงออกที่ถูกลิดรอน มีท้งประเทศที่กำลังเป้นประเทศประชาธิปไตยใหม่ ประเทศที่ประชาธิไตยยัคงสะดุด และประเทศที่ประชาธิปไตยยังถูกตั้งคำถาม แม้จะม่การเลือกตั้งเป้นประจำก็ตามรวมถึงยังเป็นภูมิภาคที่พบว่ามีคนเดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงอย่างต่อเนื่องจนกลายเป้นอีกพื้นที่ที่เฝ้าระวังกลุ่มก่อการร้ายที่สำคัญ
สิ่งเหล่านนี้คือความท้าทายที่ภูมภาคเรากำลังเผชิญร่วมกัน และ THE STANDARD เลือกที่จะสะท้อนความเป็นไปที่เกิดขึ้นผ่านการพูดคุญกับคนรุ่นใหม่ 5 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซย เมียนมา และกัมพุชา ที่เลือกเผชิญหน้าความท้าทายเหล่านี้ผ่านหมวกแต่ละใบที่พวกเขาสวม ตั้งแต่ นักข่าว นักวิจัย นักรณรงค์ ไปจนถึงนักการเมือง...
เคิร์สเทน ฮาน นักขาวออนไลน์รุ่นใหม่ของสิงคโปร์
สิงคโปร์ : "เสียงทางเลือก" ในวันที่ พ.ร.บ.การออกอากาศ กดทบการมีส่วนร่วมของประชาชน
สิงคโปร์และมาเลเซีย คือสองประเทศที่ถูกปกครองโดยพรรคกาการเมืองเพียงพรรคเดียวมาอย่างยาวนาน ขณะที่สิงคโปร์ถูกปกครองโดยพรรค People's Action Party (PAP) มาตั้งแต่เป็นเอราชจากอังกฤษ มาเลเซยถูกปกครองโดยพรรค United Malas Nation Organisation (UMNO) ตั้งแต่เป็นเอกราชจากอังกฤษเช่นกัน จนประชาธิไตยของสองประเทศนี้ถูกตั้งคำถามจากการที่มีระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาด ถึงแม้จะมีการเลือกตั้งเกิดขึ้นเป็นประจำก็ตาม หรือท่นักวิชาการ อธิบายลักษณะระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียว่่าเป้นประชาธิปไตยครึ่งใบ ระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียสะท้อนไปถึงเรื่องของการเมืองแบบอัตลักษณ์ ที่ส่งผลใก้สองประเทศนี้เผชิญกับความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติภายในประเทศ
การมี "เสียงทางเลือก" จึงสำคัญในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉาพะในเวลาที่สิทธิในการออกเสียงของผระชาชนหรือ่ฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลถูกลิดรอน ซึ่ง เคิร์สเทน ฮาน เลือกที่จะป็นกระบอกเสียงนี้ผ่านบทบาทของนักข่าว เธอได้สะท้อนปัญหาเรื่องการลิดรอนเสรีภาพในการแสดงออกของประชาชนและความเหลื่อมล้ำทางชาติพันธ์ในสิงคโปร์ โดยเฉพาะเช้อชาติมาเลย์และอินเดียวทีนับว่าเป้นคนกลุ่มน้อยในสิงคโปร์ จนรายงานข่าวของเธอหลายชิ้นถูกเผยแพร่ผ่านเสื่อต่างชติ เพราะเธอเชื่อว่าข้อมูลที่เพียงพอและหลากหลายจะสร้างสังคมแห่งการถกเถียงและคิดวิเคราะห์
"ฉันไม่คิดว่าสิงคโปร์ต้องการ คนใดคนหนึ่ง ที่จะมาสร้างความเลี่ยนแปลง ฉันคิดว่ามันจะมีความมหยมากกว่าหากมีชาวสิงคโปร์ตระหนักสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ และมีการต้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น
"ฉันมองว่าการคิดวิเคราะห์นั้นแตกต่างจากการเยาะเย้ยถากถาง แต่คือการเปิดกว้างต่อคำวิพากษืวิจารณ์ เพราะเราไม่สามารถที่จะฝากความหวังไวกับใครคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มคนเพียงกลุ่มเดียวได้ แต่มันคอกาเรเปิดโอกาสให้คนเข้ามามีส่วนร่วมมกที่สุด"
เครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลสิงคโปร์ใช้เพื่อกดทับการมีส่วรวมของประชาชน คือ พ.ร.บ. การออกอากาศที่ควบคุมเนื้อหาที่เผยแพร่บนสื่อต่างๆ และจับกุมนักข่าวที่เผยแพร่เนื้อหาที่รัฐมองว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ จนกฎหมายฉบับนี้ถูกวิพากษ์วิจารณืจากทั้งในและต่างประเทศว่ารัฐบาลสิงคโปร์ลิดรอนสิทธิปละเสรีภาพของฝ่ายตรงข้าม รวมถึงประชาชนเองในการตรวจสอบและวิพากษืวิจารณืรัฐบาลของพรรค ได้เต็มที่ ซึ่งแท้จริงแล้วสิ่งนี้เป็น "บรรทัพฐาน" ที่สำคัญในสังคมประชาธิปไตย จนองค์กรผุ้สื่อข่าวไร้พรมแดนจัดอันดับเสรีภาพสื่อของสิงคโปร์อยู่ที่อันดับ 151 จาก ทั้งหมด 180 ประเทศ
ฮาน มองว่า หัวใจของการเป้ฯนักข่าวนั้นไม่ใช่เีพยงแค่การวิพากษืวิจารณ์รัฐบาล แต่คือการคำ้จุนหลักการแลยึดถือคุณค่าในสังคมประชาธิปไตย
"ความน่าเชื่อถือและความโปร่งใสคือสิ่งสำคัญในระบอบการปกครอง เพราะประชาชนมีสิทธิที่จะรู้ว่าคนที่อยู่ในอำนาจนั้บริหารจัดการกับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตพวกเขาอย่างไร หากทุกอย่างเป็นไปด้วยดี สิ่งเหล่านีก็จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับรัฐบาล แต่สิ่งเหล่านี้ก็จะสะท้อนออกมาเช่นกันหากมีความไม่ชอบมาพากลเกิดขึ้น และนี่คือสาเหตุว่าทำไมเราถึงจำเป็นต้องมีองค์กรอิสระ ไม่ว่าจะเป้นสื่อมวลชนหรือภาคส่วนอื่นๆ ก็ตาม"
มาถึงวันนี้ แม้ พ.ร.บ.การออกอากาศจะยังถุกบังคับใช้อยู่ในสิ.คโปร์ แต่เสียงของคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์ก็เร่ิมสะท้อนก้องดังมากขึ้นผ่านสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์หรือสื่อออนไลน์ และสิ่งที่สะท้อนออกมาในการเลือกตั้งทั่วไปของสิคโปร์ครั้งล่าสุดในปี 2015 ที่พรคการเมืองอื่นๆ เร่ิมมีพื้นที่และได้รับคะแนนเสียงมากขึ้น...
ดีอานา ซอฟยา นักการเมืองผู้หญิงรุ่นใหม่ในพรรคผ่ายค้าน มาเลเซีย
มาเลเซีย : ความกลัวของประชาขน - คอร์รัปชั่น ของนักการเมืองภายใตระบบการเมืองพรรคเพียวแบบผุกขาด
เช่นเดียวกับ ดีอานา ซอฟยา หญิงสาวชาวมาเลเซีย วัย 29 ปีเลือกจะเป็น "เสียงทางเลือก" ท่ามกลางกลุ่มอำนาจที่ปกครองประเทศมาอย่างยาวนานผ่านบทบาทของัการเมืองผุ้หญิงรุ่นใหม่ในพรรฝ่ายค้าน ที่สมาชิกพรรคมีความหลาหลายทางเชื้อชติมากที่สุด หลังจากมาเลเซียเผชิญกับปัญหาระบบพรรคการเมืองผุกขาดคล้ายคลึงกับสิงคโปร์ และควาเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติระหว่างมาเลย์ จีน และอินเดีย
"ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดสร้างความกลัวให้กับประชาชน ประชาธิปไตยไม่สามารถทำงานได้อย่างมประสิทธิภาพ หากระบอบกาเรมืองออแบบให้พรรคโดพรรคหนึ่งเป็นผุ้ชนะเสมอโดยใช้ประเด็นเรื่องเชื้อชาติมาสร้างความหวาดกลัว และระบบนี้ทำให้มีคนเพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านันที่ได้รับผลประดยชน์หรือเลือกที่เจะเข้าข้างรัฐบาลอย่างไม่สนใจความถูกต้องเพราะต้องการผลประโยชน์จากรัฐบาลเช่นกัน และสิงที่นำไปสู่การขาดสังคมที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และท้ายที่สุดเราจะได้รับฐาลที่ทำเพื่อตัวเองมากว่าประชาชน" ซึ่งปีที่แล้วมีรายงานข่าวที่พบว่ามีการโอนเงินจากองทุนจำนวน 900 ลาดอลลาร์สหรัฐ เข้าบัญชีส่วนตัวของประธานาธิบดี นาจิบ ราซัด
ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดในมาเลเซียยังนำมาสูปัญหาความไม่เท่าเที่ยมทางเชื้อชาติ เรพาะว่ทกรรมเรื่องเกี่ยวกับเชื้อชาติเป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลให้พรรคการเมือง "อันโน่" ปกครองประเทศมายาวนาน ซึ่งดีอานามองว่าการมี ส.ส. ที่เป้นตัวแทนของแต่ละเชื้อชาติให้ได้มากที่สุดนั้น แท้จริงไม่ใช่คำตอง แต่ตัวแทนเหล่านั้นจะต้องเป็นตัวแทนของประชาชนทุกคนโดยไม่จำกัดเชื้อชาติหรือสีผิว
"ฉันคิดว่าวิธีคิดแบบนี้มันไม่ได้ตอบโจทย์อีกต่อไป เชื้อชาติของ ส.ส. ไม่ควรจะเป้นปัจจัยด้วยซ้ำ เพราะตราบใดที่ ส.ส. นั้นเป้นตัวแทนและทำงานเพื่อประชาชนชาวมาเลเซียทุกเชื้อชาติทุกสีผิว และไม่ว่าประชาชนคนนั้นจะมีความเชื่อแบบไหนก็ตาม ตราบใดที่ผุ้ที่ถุกเลือกตั้งเข้าไปทำงานนั้นเป้นกระบอกเสียงให้กับทุกคนอย่างเป็นธรรม รับฟังประชาชนถึงความลำบากและความต้องการของพวกเขา เสียงของทุกคนก็จะได้รับการรับฟังอย่างเท่าเที่ยมเอง"
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 14 ที่จะเกิดขึ้นในปี 2018 จะเป็นบททดสอบครั้งสำคัญของการเมืองมาเลเซียที่เผชิญกับระบอบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดประเทศมาอย่างยานาน..to be contineus
https://thestandard.co/news-world-asean-democracy-human-right-education-and-terrorism/
แต่ภายใต้พลังใหม่ๆ ภูมิภาคนี้กำลังเผชิญปัญหาด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติและชาติพันธุื การใช้อำนาจในทางที่ผิดของรัฐบาล และสิทะิเสรีภาพในการแสดงออกที่ถูกลิดรอน มีท้งประเทศที่กำลังเป้นประเทศประชาธิปไตยใหม่ ประเทศที่ประชาธิไตยยัคงสะดุด และประเทศที่ประชาธิปไตยยังถูกตั้งคำถาม แม้จะม่การเลือกตั้งเป้นประจำก็ตามรวมถึงยังเป็นภูมิภาคที่พบว่ามีคนเดินทางไปร่วมรบกับกลุ่มหัวรุนแรงอย่างต่อเนื่องจนกลายเป้นอีกพื้นที่ที่เฝ้าระวังกลุ่มก่อการร้ายที่สำคัญ
สิ่งเหล่านนี้คือความท้าทายที่ภูมภาคเรากำลังเผชิญร่วมกัน และ THE STANDARD เลือกที่จะสะท้อนความเป็นไปที่เกิดขึ้นผ่านการพูดคุญกับคนรุ่นใหม่ 5 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซย เมียนมา และกัมพุชา ที่เลือกเผชิญหน้าความท้าทายเหล่านี้ผ่านหมวกแต่ละใบที่พวกเขาสวม ตั้งแต่ นักข่าว นักวิจัย นักรณรงค์ ไปจนถึงนักการเมือง...
เคิร์สเทน ฮาน นักขาวออนไลน์รุ่นใหม่ของสิงคโปร์
สิงคโปร์ : "เสียงทางเลือก" ในวันที่ พ.ร.บ.การออกอากาศ กดทบการมีส่วนร่วมของประชาชน
สิงคโปร์และมาเลเซีย คือสองประเทศที่ถูกปกครองโดยพรรคกาการเมืองเพียงพรรคเดียวมาอย่างยาวนาน ขณะที่สิงคโปร์ถูกปกครองโดยพรรค People's Action Party (PAP) มาตั้งแต่เป็นเอราชจากอังกฤษ มาเลเซยถูกปกครองโดยพรรค United Malas Nation Organisation (UMNO) ตั้งแต่เป็นเอกราชจากอังกฤษเช่นกัน จนประชาธิไตยของสองประเทศนี้ถูกตั้งคำถามจากการที่มีระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาด ถึงแม้จะมีการเลือกตั้งเกิดขึ้นเป็นประจำก็ตาม หรือท่นักวิชาการ อธิบายลักษณะระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียว่่าเป้นประชาธิปไตยครึ่งใบ ระบอบการเมืองของสิงคโปร์และมาเลเซียสะท้อนไปถึงเรื่องของการเมืองแบบอัตลักษณ์ ที่ส่งผลใก้สองประเทศนี้เผชิญกับความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติภายในประเทศ
การมี "เสียงทางเลือก" จึงสำคัญในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉาพะในเวลาที่สิทธิในการออกเสียงของผระชาชนหรือ่ฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลถูกลิดรอน ซึ่ง เคิร์สเทน ฮาน เลือกที่จะป็นกระบอกเสียงนี้ผ่านบทบาทของนักข่าว เธอได้สะท้อนปัญหาเรื่องการลิดรอนเสรีภาพในการแสดงออกของประชาชนและความเหลื่อมล้ำทางชาติพันธ์ในสิงคโปร์ โดยเฉพาะเช้อชาติมาเลย์และอินเดียวทีนับว่าเป้นคนกลุ่มน้อยในสิงคโปร์ จนรายงานข่าวของเธอหลายชิ้นถูกเผยแพร่ผ่านเสื่อต่างชติ เพราะเธอเชื่อว่าข้อมูลที่เพียงพอและหลากหลายจะสร้างสังคมแห่งการถกเถียงและคิดวิเคราะห์
"ฉันไม่คิดว่าสิงคโปร์ต้องการ คนใดคนหนึ่ง ที่จะมาสร้างความเลี่ยนแปลง ฉันคิดว่ามันจะมีความมหยมากกว่าหากมีชาวสิงคโปร์ตระหนักสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ และมีการต้งคำถามกับสิ่งที่เกิดขึ้น
"ฉันมองว่าการคิดวิเคราะห์นั้นแตกต่างจากการเยาะเย้ยถากถาง แต่คือการเปิดกว้างต่อคำวิพากษืวิจารณ์ เพราะเราไม่สามารถที่จะฝากความหวังไวกับใครคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มคนเพียงกลุ่มเดียวได้ แต่มันคอกาเรเปิดโอกาสให้คนเข้ามามีส่วนร่วมมกที่สุด"
เครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลสิงคโปร์ใช้เพื่อกดทับการมีส่วรวมของประชาชน คือ พ.ร.บ. การออกอากาศที่ควบคุมเนื้อหาที่เผยแพร่บนสื่อต่างๆ และจับกุมนักข่าวที่เผยแพร่เนื้อหาที่รัฐมองว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ จนกฎหมายฉบับนี้ถูกวิพากษ์วิจารณืจากทั้งในและต่างประเทศว่ารัฐบาลสิงคโปร์ลิดรอนสิทธิปละเสรีภาพของฝ่ายตรงข้าม รวมถึงประชาชนเองในการตรวจสอบและวิพากษืวิจารณืรัฐบาลของพรรค ได้เต็มที่ ซึ่งแท้จริงแล้วสิ่งนี้เป็น "บรรทัพฐาน" ที่สำคัญในสังคมประชาธิปไตย จนองค์กรผุ้สื่อข่าวไร้พรมแดนจัดอันดับเสรีภาพสื่อของสิงคโปร์อยู่ที่อันดับ 151 จาก ทั้งหมด 180 ประเทศ
ฮาน มองว่า หัวใจของการเป้ฯนักข่าวนั้นไม่ใช่เีพยงแค่การวิพากษืวิจารณ์รัฐบาล แต่คือการคำ้จุนหลักการแลยึดถือคุณค่าในสังคมประชาธิปไตย
"ความน่าเชื่อถือและความโปร่งใสคือสิ่งสำคัญในระบอบการปกครอง เพราะประชาชนมีสิทธิที่จะรู้ว่าคนที่อยู่ในอำนาจนั้บริหารจัดการกับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตพวกเขาอย่างไร หากทุกอย่างเป็นไปด้วยดี สิ่งเหล่านีก็จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับรัฐบาล แต่สิ่งเหล่านี้ก็จะสะท้อนออกมาเช่นกันหากมีความไม่ชอบมาพากลเกิดขึ้น และนี่คือสาเหตุว่าทำไมเราถึงจำเป็นต้องมีองค์กรอิสระ ไม่ว่าจะเป้นสื่อมวลชนหรือภาคส่วนอื่นๆ ก็ตาม"
มาถึงวันนี้ แม้ พ.ร.บ.การออกอากาศจะยังถุกบังคับใช้อยู่ในสิ.คโปร์ แต่เสียงของคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์ก็เร่ิมสะท้อนก้องดังมากขึ้นผ่านสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์หรือสื่อออนไลน์ และสิ่งที่สะท้อนออกมาในการเลือกตั้งทั่วไปของสิคโปร์ครั้งล่าสุดในปี 2015 ที่พรคการเมืองอื่นๆ เร่ิมมีพื้นที่และได้รับคะแนนเสียงมากขึ้น...
ดีอานา ซอฟยา นักการเมืองผู้หญิงรุ่นใหม่ในพรรคผ่ายค้าน มาเลเซีย
มาเลเซีย : ความกลัวของประชาขน - คอร์รัปชั่น ของนักการเมืองภายใตระบบการเมืองพรรคเพียวแบบผุกขาด
เช่นเดียวกับ ดีอานา ซอฟยา หญิงสาวชาวมาเลเซีย วัย 29 ปีเลือกจะเป็น "เสียงทางเลือก" ท่ามกลางกลุ่มอำนาจที่ปกครองประเทศมาอย่างยาวนานผ่านบทบาทของัการเมืองผุ้หญิงรุ่นใหม่ในพรรฝ่ายค้าน ที่สมาชิกพรรคมีความหลาหลายทางเชื้อชติมากที่สุด หลังจากมาเลเซียเผชิญกับปัญหาระบบพรรคการเมืองผุกขาดคล้ายคลึงกับสิงคโปร์ และควาเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติระหว่างมาเลย์ จีน และอินเดีย
"ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดสร้างความกลัวให้กับประชาชน ประชาธิปไตยไม่สามารถทำงานได้อย่างมประสิทธิภาพ หากระบอบกาเรมืองออแบบให้พรรคโดพรรคหนึ่งเป็นผุ้ชนะเสมอโดยใช้ประเด็นเรื่องเชื้อชาติมาสร้างความหวาดกลัว และระบบนี้ทำให้มีคนเพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านันที่ได้รับผลประดยชน์หรือเลือกที่เจะเข้าข้างรัฐบาลอย่างไม่สนใจความถูกต้องเพราะต้องการผลประโยชน์จากรัฐบาลเช่นกัน และสิงที่นำไปสู่การขาดสังคมที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และท้ายที่สุดเราจะได้รับฐาลที่ทำเพื่อตัวเองมากว่าประชาชน" ซึ่งปีที่แล้วมีรายงานข่าวที่พบว่ามีการโอนเงินจากองทุนจำนวน 900 ลาดอลลาร์สหรัฐ เข้าบัญชีส่วนตัวของประธานาธิบดี นาจิบ ราซัด
ระบบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดในมาเลเซียยังนำมาสูปัญหาความไม่เท่าเที่ยมทางเชื้อชาติ เรพาะว่ทกรรมเรื่องเกี่ยวกับเชื้อชาติเป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลให้พรรคการเมือง "อันโน่" ปกครองประเทศมายาวนาน ซึ่งดีอานามองว่าการมี ส.ส. ที่เป้นตัวแทนของแต่ละเชื้อชาติให้ได้มากที่สุดนั้น แท้จริงไม่ใช่คำตอง แต่ตัวแทนเหล่านั้นจะต้องเป็นตัวแทนของประชาชนทุกคนโดยไม่จำกัดเชื้อชาติหรือสีผิว
"ฉันคิดว่าวิธีคิดแบบนี้มันไม่ได้ตอบโจทย์อีกต่อไป เชื้อชาติของ ส.ส. ไม่ควรจะเป้นปัจจัยด้วยซ้ำ เพราะตราบใดที่ ส.ส. นั้นเป้นตัวแทนและทำงานเพื่อประชาชนชาวมาเลเซียทุกเชื้อชาติทุกสีผิว และไม่ว่าประชาชนคนนั้นจะมีความเชื่อแบบไหนก็ตาม ตราบใดที่ผุ้ที่ถุกเลือกตั้งเข้าไปทำงานนั้นเป้นกระบอกเสียงให้กับทุกคนอย่างเป็นธรรม รับฟังประชาชนถึงความลำบากและความต้องการของพวกเขา เสียงของทุกคนก็จะได้รับการรับฟังอย่างเท่าเที่ยมเอง"
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 14 ที่จะเกิดขึ้นในปี 2018 จะเป็นบททดสอบครั้งสำคัญของการเมืองมาเลเซียที่เผชิญกับระบอบการเมืองแบบพรรคเดียวผูกขาดประเทศมาอย่างยานาน..to be contineus
https://thestandard.co/news-world-asean-democracy-human-right-education-and-terrorism/
วันพฤหัสบดีที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Homeless
คนไร้บ้านเพิ่ม ผลสะท้อนความเหลื่่อมล้ำทางสังคม
"คนไร้บ้าน" ยังคมมีให้เห็นอยุ่ทั่วพื้นที่ กทม. ปม้ว่าหลายหน่วยงานจะยื่อมือให้ความเชื่อยเหลื่อ แต่ "คนไร้บ้าน" ก็ยังเป็นหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความเหลื่อมล้ำทางสังคม และผลพวงจากการเข้าไม่ถึงสวัสดิการที่รัฐบาลจัดไว้
เผยสถิตคนไร้บ้าน
ข้อมูลจากมูลนิธิอิสรชน ที่สำรวจนำนวนคนไร้บ้านทั่ว กทม. ปี 2559 พบว่า มีจำนวน 3,486 คน เป็นชาย 2,112 คน หญิง 1,374 คนแยกเป็นปลุ่มเร่รอ่นไปมา 993 คน กลุ่มผุ้ติสุรา 858 กลุ่มผู้นอนหลับชั่วคราว 853 คน ซึ่งมีทั้งเป็นผู้เพิ่งพ้นโทษ เป็นผู้ป่วยข้างถนนถึงมีนไร้บาต่างชาติ 25 คน กลุ่มแรงงานเพื่อนบ้านต่างชาติ 25 คน กลุ่มแรงงานเพื่อนบ้านต่างชาติ 51 คน และผุ้ให้บริการทางเพศ 28 คน
มูลเหตุหนึ่งที่มุลนิธิอิสรชนชีชัดว่าเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้จำนวนคนไร้บ้าเพ่ิมขึ้นมากว่า ปี 2558 ถึง 175 คน คือผลกระทบจาก พ.ร.บ.ธุรกิจรักษาความปลดภัย พ.ศ. 2558 ที่กำหนดคุณสมบัติเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต้องมีวุฒิการศึกษาขั้นต่ำ ระดับ ม. 3 ส่งผลห้มีผุ้ตกงาน หรือต้องออกจากงานมใช้ชีวิตในที่สาธารณะเพ่ิมขึ้น
ปัญหาสูงวัย สุขภาพ ต้องเร่งแก้ไข
ขณะที่สำนกงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนวจพบว่ มีคนไร้บ้านใน กทม. ทั้งที่อยุ่ในพื้นที่สาธารณะและศูนย์พักพิง ชัวคราวจำนวน 1,307 คน สวนใหย ประมาณ 32.5% มีอายุระหว่าง 40-49 ปี และมีผุ้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) สูงถึง 22% ถือได้ว่าสังคมคนไร้บ้าน เป็นสังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ก่อนผุ้สูงอายุปกติในสังคม และยังพบว่าคนไร้บ้านเป็นกลุ่มประชากรที่มีปัญหารทงสุขภาพมกกว่าค่าเฉลี่ยของสังคมไทยโยรวม คือมีปัญหาโรคประจำตัวโดยเฉพาะความดันโลหิตสูง ถึง 51% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 20% มีปัญหาสุขภาพจิตที่ไม่รุนแรง (ไม่เป็นอันตรายต่อสังคม) ประมาณ 70% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 17 % มีโรคประจำตัวโดยเฉาพะโรคไม่ติต่อเรื้อรัง 31% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 22% และมีปัญหาสุขภาพช่องปาก 70% ขณะที่คนทั่วไปอยู่ที่ 50%
นอกจากนี้ ยังพบว่าการอยุ่นพื้นที่สาะารณะในระยะเวลานาน เป็นปัจจัยเสียงสำคัญที่ทำให้สุขภาพแย่งลง ดดยมากว่า 50% มีปัญหาการเข้าถึงบริาการสุขภาพที่ครอบคลุมและมีประสทิธภาพ ซึ่งมาจาก 2 ปัจจัยหลักคือ ไม่มีบัตรประชาชน 28% มีปัญหารเรื่องการเข้าถึงบริการสุขภาพ 22%
คนไร้บ้านกระจุกตัวบริเวณเกาะรัตนโกาสินร์
จากสถานะการณืที่คนไร้บ้านที่มีจำนวนเพ่ิมขึ้น รัฐบาลจึงได้มอบหมยให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานตำรวจแห่งชติ กรุงเทพมหานคร กรระทรวงสาธารณุข และภาคประชาสังคม ร่วมกันสำรวจผุ้เร่รอน ไร้ที่พึ่ง ขอทาน เพื่อให้ความช่วยเหลือคุ้มครองโดยเร่ิมดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2017
โดยผลสำรวจล่าสุดช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่ารมาพบว่ มีกลุ่มคนไร้ที่พึ่ง จำนวน 484 ราย โดยกลุ่มคนเห่านี้จะอาศัยอยู่ตามสถานีขนส่งสถานีรถไฟ ปและส่วนใหญ่กระจุกตัวอยุ่ในพื้นที่กาะรัตนโกสินทร์ สาเหตุมาจากความยากจน 271 ราย การไม่มีที่อยู่อาศัย 108 ราย ส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 57 ราย และส่งเข้ารับความุคุ้มครองเพื่อฟื้นฟู พัฒนาคุณภาพชีวิต 344 ราย
ทั้งนี้ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดการ (พส.) ในฐานะหน่วยงานหลักที่ขับเบื่อน พ.ร.บ. คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557 มีการดำเนินในด้านที่พักอาศัยชัวคราว บ้านมิตรไม่ตรี ให้บริการปัจจัย 4 แก่คนไร้ที่พึ่ง มีการช่วยเหลือประสานสืบหาข้อมูลทางทะเบียน ซึ่งหากเป้นบุคคลสัญชาติไทย จะช่วยประสานสืบค้นข้อุลเอกสาร เพื่อคืนสิทธิความเป็นคนไทย และหากข้อมูลไม่เีพยงพอ จะประสานกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เพื่อยื่นทำประวัติทะเบียบในการับสิทะิด้านต่างๆ ตามหลักสิทธิมุนษยชน
รัฐต้องเข้าใจปัญหาและแก้ให้ถุกจุด
อย่างไรกฌค่ททฝุบริธีกระจกเง แดสงความเห้นว่า แนวทางที่รัฐบาทำอยุ่ ยังไม่ตรงจุด การจัดระเบียบของรัฐมีผลกระทบต่อกลุ่มคนไร้บาน บางคนเดิมเลื่อกอยู่อาศัยในจุดที่ใกล้แหล่งอาหารก็ต้องโยกย้าย รัฐใช้ พ.ร.บ. คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ร.บ. รักษาความสอาดเป็นตัวควบคุม มีเจ้าหน้าที่ลงพท้นที่บังคับให้คนไร้บ้านไปอยู่ในสภานพักพิงต่างๆ ซึ่ง 70% เป็นสถานจิตเวช บางแห่งก้็มการฝึกทักษะอาชีพที่ไ่ตรงกับความถนัด
ในต่างประเทศ มีมุองต่อกลุ่มคนไร้บ้าน 2 แบบ แบบแรกมอง่าเป้นกลุ่มคนที่เข้าไม่ถึงสวัสดิการพื้นฐานแบบที่สองคือ มองเป็นวิถีชีวิต เป็นทางเลือกในอีกรูปแบบหนึ่ง แต่ไม่ใช่วิถีชีวิตที่ย่ำแย่ เพราะมีรฐสวัสดการรองรับ ทำให้ยังมีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งตรงนี้
แตกต่างกับประเทศไทย เพราะคนไทยแม้จะมทำงานมาก แต่ด้วยค่าครองชีพ ภาวะเศราฐกิจทำให้รยได้ไม่เีพยงพอก็ป็นปัญหาหนึ่ง เรื่องการเข้าถึงสิทธิและบริการด้านต่างๆ เรื่องการขาดสถานะทางสังคม หางานไม่ได้ไม่มีบัตรประชาชน ล้วนเป็นปัจจัยที่ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี ส่งผลให้กลายเป้นคนไต้บ้านไร้ที่พึ่ง ซึ่งทางภาครัฐต้องเข้าใจที่มาของปัญหา ต้องหารูปแบบการช่วยเลหือที่เหมาะสม ซึ่งการแก้ปัญหาก็จะแตกต่างไปตามบุคคล เปิดเหว้างรับฟังและให้โอากสให้ภาคสังคม มูนิธิต่างๆ ที่คลุกคลีกับคนไร้บ้านเข้าไปข่วยวางแนวทางและดำเนิการแก้ไขด้วย
ขณะนี้มูลนิธิกระจกเงา ร่วมกันศูนย์วิจัยสังคม สุฆาลงกรณืมหาวิทยาลัย ร่วมกันสำรวจข้อมูล
ความต้องการทั้งด้านที่พักอาศัย และความช่วยเหลือต่างๆ เพื่อนำมาสรุปหาแนวทางทเ่เหมาะสม โดยจะมีการประชุมประมวลผลกันในวันที่ 5 สิงห่คนที่จะถึงนี้ จากนั้นจะรวมข้อมุลนำเสนอในหน่วยงานที่เีก่ยชวข้องับทราบเพื่อที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญาอย่างยั่งยืนต่อไป
เห็นได้ว่า "คนไร้บ้าน " เป็นปรากฎการณืหนึ่ง ที่ไม่ได้ต้องการเพียงควมเข้าจ การให้โอกาสของคนในสังคม แต่ต้องได้รับโอกาสการทำงานการสร้างายได้ที่มั่นคงเพียงพอ ลดช่องว่างจากปัญหาความเลหื่อมล้ำทางสังคม เปิดโอกาใการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานให้กว้างขึ้จจากรัฐบาลคนไร้http://www.bltbangkok.com/News/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1
บ้านจะได้มีชีิวตที่มีคุณภาพที่ดีขึ้นได้.....
วันพุธที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Tax structure
โดยทั่วไปแล้วภาษีเป็นเครื่องมือของรัฐบาลเพื่อบรรลุเป้าหมายหลากหายประการ เช่น เพื่อการายได้ให้แก่รัฐบาล เพื่อส่งเสริมและจำกัดกิจกรรมทงเศราฐกิจบางประเภท เืพ่อรักษาเสถียรภาพของระบบเศราฐกิจเพื่อลดความเหลื่อล้ำในการกระจายรายได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามความสำคัยของแต่ละเป้าหมายมีพัฒนาการและเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา โดยความสำคัยของเป้ากมายในการดำเนินนโยบายภาษีถูกเปลี่ยนไปจากขช่วงแรกที่เน้นการสร้างความเท่าเที่ยมกนไปเน้นที่การสร้างความเจริญเติบโตทางเศราบกิจ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากแรงกดดันที่มาควบคู่กับกระบวนการโลกาภิวัตน์ึ่งทำให้การเคลื่อนย้ายทรัพยากรมีลักษณะไร้พรมแรนมากขึ้น
ศักยภาพของการใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อเป็นเครื่งอมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มีความแตกต่างกันไปนแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนาจะมีข้อจำกัดมาก และสำหรับกรณีของไทนนั้น คึวามสามารถ ของภาาีเงินได้บุคคลธรรมดาในการแก้ไขปัญหากระจายรายได้ยังคงมีข้อจำกัดมาก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือทางด้านรายจ่ายเพ่อลดวามเหลื่อมล้ำในสงคมได้มากนัก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบลไทยไม่าสามถใช้เคื่องมือทางด้านรายจ่ายเพื่อลดความเหลื่อล้ำในังคมได้มากนัก
ระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทยนอกจากจะมีผุ้มีงานทำจำนวนมากที่ไม่อยู่ในระบบภาษีแล้วการกระจายภาระภาษีระหว่งผุ้มีเงินได้สุทธิในชั้นเงินได้ต่างๆ มักมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่มาก และภาระภาษีมีการกระจุกตัวอยุ่ที่คนส่วนน้อย ทั้งนี้ การใช้มาตรการทางภาษีเงินได้บุคคลธรรมดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสงคมจะสามารถทำได้ก็ต่อเมือระบบการจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพและผุ้มีงานทำส่วนใหญ่ในสังอยู่ในระบบภาษีแต่ด้วยเหตุที่เงื่อนไขดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นกับกรณีของประเทสไทย ดังนั้น กรใช้มาตรการภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและช่วยเหลือผู้มีรายไ้ด้น้อยจึงควรใช้ควบคู่ไปกับมาตรการทางด้านรายจ่ายด้วย
นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความสนใจมาเป้นเวลาช้านานเกี่ยวกับบทบาทของเครื่องมือทางภาษีอากรในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ของไทย ซึ่งแม้ว่าแต่ละประเทศจะมีส่วนปสมขององค์ประกอบระหว่างภาษีชิดต่างๆ แตกต่างกันไป และในปัจจุบันก็ยังคงไม่มีทษฎีเกี่ยวกับส่วนผสมของภาษีที่เหมาะสม ใดที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย แต่อาจกล่าวได้ว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็เนครืองมือสำคัญที่สุดในการทำนห้าที่ลดควมเลหื่อมล้ำดังกล่วในสวนนี้จึงมุ่งตรวจสอบว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาาีเงินได้บุคคลธรรมดเป็เนครื่องมือสำคัญที่สุดในการทำหน้าที่ลดความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ในส่วนนี้จึงมุ่งตรวจอบว่า ในกรณีของประเทศไทยนั้นการใช้ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาเพื่อทำหน้าที่กระจายรายไ้ดได้มากน้อยเพียงใดโดยทั่วไปแล้วภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป้นองค์ประกอบที่สำคัญัของระบอบประชาธิปไตยและทุนนิยม ซึ่งแม้ว่าภาษีดังกล่วจะมีข้อจำกัดอยูมาก แต่ก็ถือได้ว่าเป็น "สัญลักษณ์" ที่สำคัญของความใส่ใจในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรยไ้อนเกิดจกระบบเศราฐกิจแบบตลาด อย่างไรก็ตามผุ้วิจัยมีข้อสังเกตต่อภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างน้อย 2 ประการ คือ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรดาของไทยช่วยบลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายไ้ได้น้อยมา ทั้งนี้เพราะฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามิได้มีความครอบคลุมผุ้เสียภาษีไ้ด้มากเท่าที่ควรและมิได้มีความก้าวหน้ามากนัก โดยเฉพาะิย่างิย่ง ภาษีดังกล่าวักจำกัดอยุ่ที่การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากลูกจ้าง ี่อยู่ในระบบการทำงานที่เป้ทางการ ซึ่งบทบาทอันจำกัดของภาษีดังกล่าวสะท้อนออกมาทั้งในรูปของสัดส่วนของรายได้จากภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อรายได้ภาษีทั้งหมด และสัดส่วนของรายไ้ดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อ GDP
และ จากงานศึกษาในกรณีของประเทศไทยเกี่ยวกับผลของการใช้เครื่องมือทางการคลังต่อากรกระจายรายได้นั้ เกือบทั้งหมดมัจะเน้นไปที่การศึกษาเี่ยวกับระบบภาษี ซึ่งงานเหล่านั้นมัตั้งคภถามว่า ระบบภาษีของไทยเป็นระบบก้าวหน้าหรือถดถอย ซึ่ง "ปีเตอร์ วาว์(2003) ได้ให้ความเห้นว่าการตั้งคำถามในลักษระดังกล่าวเป้นเรื่องที่น่าประหลาดมาก กล่าวคือ รายได้ภาษีของไทยส่วนใหญ่มาจากภาษีทางอ้อม ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่คาดหมายได้อยู่แล้วว่า เป็นไปไม่ได้ที่ระบบภาษีของไทยจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการกระจายรายได้ ซึ่งผลการศึกษาต่างๆ ก็ยนยันปรากฎการณ์ดังกล่ว ด้วยเหตุนี้ผุ้วิจัยเห็นว่า การใช้มาตการทางด้านรายจ่ายเป็นส่ิงสำคัญในการส่งเสริมให้เกิดการกระจายรายได้ โดยรัฐบบาลไทยควรต้องพัฒนาระบบประกันสังคมและพัฒนาสวัสดิการ เช่น การนำระบบการเครดิตภาาีเงินได้เนพื่องจากการทำงาน มาใช้ ซึ่งเป็นการใช้ระบบภาษีควบคู่กับการโอนเงิน อันจะสามารถรบุตัวผุ้รับประโยชน์ ไดอ้ยอ่างมี
ประสิทธิผล เช่น สามารถกำหฟนดรายได้ของครอบครัวจำนวนเด็กในครอบครัว หรือคุณลักษระอื่นๆ
สำหรับประเทศไทย แม้ว่จะมีการปรับโครงส้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรมดหลายครั้ง แต่ก้ยังคงเป็นโครงสร้างอัตราแบบก้ายหนา มาโดยตลอด เพรียงแต่เป็นการปรับช่วงเงินได้ในแต่ละชั้นให้กว้างขึ้น และลดจำนวนชั้นของเงินได้พร้อมทั้งปรับลดอัตราภาษีในแต่ละขึ้นลง การที่ความก้าวหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลดต่ำลงเรื่อยๆ ในด้านหนึ่งย่อมเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ
ของระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะเป้นการจูงใจให้ผุ้มีรายได้สุงทำงานมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามก้ทำให้ความเลหือล้ำในการกระจายรายได้สูงขึ้น ทั้งนี้เพราะผุ้มีรายได้สุงจะได้รับประโยชน์จาการลดความก้าวหน้าของภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดมากกว่าผุ้มีรายได้ต่ำ
ตลอด 30 ปีที่ผ่านม ประเทศไทยปรับโครงสร้างภาษีอัตราภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดามาแล้ว 4 ครั้ง โดยสามารถแบ่งเป็นช่วงต่างๆ ดังนี้
- ตั้งแต่ปี พ.ศ.2525 ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ข่วงนั้นโรงร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเน้นหนักไปที่เรื่องการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม โครงสรางอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจึงเป็นระบบภาษีอัตราก้าวหน้าแบบขั้นบันได มีทั้งหมด 13 ขั้นอัตรา โดยเร่ิมเก็บภาษีจากคนจนที่มีรายได้สุทธิไม่เกิน 30,000 บาท เสียภาษีอัตรา 7% จนกระทั่งถึงคนรวยที่มีรายไ้ดสทุธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เสียภาษีที่อัตรา 65%
- ช่วงปี พ.ศ. 2529 - 2531 ได้มีการปรับคึวามหว้างของแต่ละขั้นเงินได้ให้กว้างขึ้น และปับลดขั้นเงินได้สุทธิจาก 13 ขึ้นอัตราเหลือเพียง 11 ชั้น โดยชั้นอัตราภาษีอยู่ระหวาง 7-55%
- ปี พ.ศ. 2529 ช่วงปลายสมัยรัฐบาลพลเอกปรม มีการปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรดาอีกครั้ง จากเดิม 13 ขันอัตรา ปรับลดลงมาเหลือ 11 อัตรา โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างภาษีใหม่ เป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูงลงมาจนถึงกลุ่มคนที่มีรายได้ปานกลางได้รับส่วนลดภาษีไป 10% เช่น ผุ้ที่มีรายได้สุทธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เดิมเสียภาษีที่อัตราลดลงจากโครงสร้งางเดิม 10% ขณะที่กลุ่มผู้มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท ไ่ได้ประโยชน์จากการปรับคร้งนี้ ยังคงเสียภาษีในอัรา 7% เท่าเดิม
- ปี พ.ศ. 2532 ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัฒ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการปรับโครงร้า
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครั้งใหญ่ โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการปรับโครงสร้างภาษีครั้งนี้ยังคงเป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูง เช่น (ุ้ที่มีรายได้เกิน 2 ล้านบาทขึ้นไ เดิมเสียภาาีทีอัตรา 55 % ลดเหลือ 50% ผุ้ที่มีรายได้อยู่ในช่วง 1-2 ล้านบาท จาก 50% ลดเหลือ 40% รายได้ 7.5 แสนบาท - 1 ล้านบ้า จาก 45% ลดเหลือ 30% รายได้ 5.5 แสนบาท -7.5 แสนบาท จาก 40% ลดเหลือ30%1 ...
- ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน ประเทศไทยมีการนำระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมาใช้แทนภาษีการต้า พร้อมกับปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเหลือเพียง 5 ขั้นอัตรา โดยกลุ่มที่ได้รับอานิสงส์มากสุดยังตกอยุ่กับกลุ่มคนที่มีรายได้ดี เช่น มีรายได้ เกิน 4 ล้านบาทขึ้นไป จาก 50% ลดเหลือ่ 37% ...
หลังจากปี พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี หรือช่ว
ของเงินได้สุทธิในแต่ละชั้น แต่ก็ยังมีการออกมาตรการภาษีเพื่อบรรเท่าภาระภาษีของกลุ่มผุ้มีารยได้น้อย และมีการปรับเพ่ิมช่วงเงินได้สุทธิที่ไม่ต้องเสียภาาีมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับ..ซึ่งลักษณะดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า ในกรณีของไทยนั้น ภาษีนอกจากจะเป็นเครื่องมือในการหารายได้ให้แก่รัฐแล้ว ยังเป็นเครื่องือที่สำคัญในการกำหนดนโยบายทางังคมอีกด้วย...http://v-reform.org/u-knowledges/taxreform/
ศักยภาพของการใช้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพื่อเป็นเครื่งอมือในการลดความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้มีความแตกต่างกันไปนแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกำลังพัฒนาจะมีข้อจำกัดมาก และสำหรับกรณีของไทนนั้น คึวามสามารถ ของภาาีเงินได้บุคคลธรรมดาในการแก้ไขปัญหากระจายรายได้ยังคงมีข้อจำกัดมาก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบาลไทยไม่สามารถใช้เครื่องมือทางด้านรายจ่ายเพ่อลดวามเหลื่อมล้ำในสงคมได้มากนัก การมีภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ทำให้รัฐบลไทยไม่าสามถใช้เคื่องมือทางด้านรายจ่ายเพื่อลดความเหลื่อล้ำในังคมได้มากนัก
ระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทยนอกจากจะมีผุ้มีงานทำจำนวนมากที่ไม่อยู่ในระบบภาษีแล้วการกระจายภาระภาษีระหว่งผุ้มีเงินได้สุทธิในชั้นเงินได้ต่างๆ มักมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่มาก และภาระภาษีมีการกระจุกตัวอยุ่ที่คนส่วนน้อย ทั้งนี้ การใช้มาตรการทางภาษีเงินได้บุคคลธรรมดเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสงคมจะสามารถทำได้ก็ต่อเมือระบบการจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพและผุ้มีงานทำส่วนใหญ่ในสังอยู่ในระบบภาษีแต่ด้วยเหตุที่เงื่อนไขดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นกับกรณีของประเทสไทย ดังนั้น กรใช้มาตรการภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและช่วยเหลือผู้มีรายไ้ด้น้อยจึงควรใช้ควบคู่ไปกับมาตรการทางด้านรายจ่ายด้วย
นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความสนใจมาเป้นเวลาช้านานเกี่ยวกับบทบาทของเครื่องมือทางภาษีอากรในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรายได้ของไทย ซึ่งแม้ว่าแต่ละประเทศจะมีส่วนปสมขององค์ประกอบระหว่างภาษีชิดต่างๆ แตกต่างกันไป และในปัจจุบันก็ยังคงไม่มีทษฎีเกี่ยวกับส่วนผสมของภาษีที่เหมาะสม ใดที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลาย แต่อาจกล่าวได้ว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็เนครืองมือสำคัญที่สุดในการทำนห้าที่ลดควมเลหื่อมล้ำดังกล่วในสวนนี้จึงมุ่งตรวจสอบว่่า ในทางทฤษฎีแล้ว ภาาีเงินได้บุคคลธรรมดเป็เนครื่องมือสำคัญที่สุดในการทำหน้าที่ลดความเหลื่อมล้ำดังกล่าว ในส่วนนี้จึงมุ่งตรวจอบว่า ในกรณีของประเทศไทยนั้นการใช้ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาเพื่อทำหน้าที่กระจายรายไ้ดได้มากน้อยเพียงใดโดยทั่วไปแล้วภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป้นองค์ประกอบที่สำคัญัของระบอบประชาธิปไตยและทุนนิยม ซึ่งแม้ว่าภาษีดังกล่วจะมีข้อจำกัดอยูมาก แต่ก็ถือได้ว่าเป็น "สัญลักษณ์" ที่สำคัญของความใส่ใจในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายรยไ้อนเกิดจกระบบเศราฐกิจแบบตลาด อย่างไรก็ตามผุ้วิจัยมีข้อสังเกตต่อภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างน้อย 2 ประการ คือ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรดาของไทยช่วยบลดความเลหื่อมล้ำในการกระจายรายไ้ได้น้อยมา ทั้งนี้เพราะฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดามิได้มีความครอบคลุมผุ้เสียภาษีไ้ด้มากเท่าที่ควรและมิได้มีความก้าวหน้ามากนัก โดยเฉพาะิย่างิย่ง ภาษีดังกล่าวักจำกัดอยุ่ที่การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากลูกจ้าง ี่อยู่ในระบบการทำงานที่เป้ทางการ ซึ่งบทบาทอันจำกัดของภาษีดังกล่าวสะท้อนออกมาทั้งในรูปของสัดส่วนของรายได้จากภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อรายได้ภาษีทั้งหมด และสัดส่วนของรายไ้ดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อ GDP
และ จากงานศึกษาในกรณีของประเทศไทยเกี่ยวกับผลของการใช้เครื่องมือทางการคลังต่อากรกระจายรายได้นั้ เกือบทั้งหมดมัจะเน้นไปที่การศึกษาเี่ยวกับระบบภาษี ซึ่งงานเหล่านั้นมัตั้งคภถามว่า ระบบภาษีของไทยเป็นระบบก้าวหน้าหรือถดถอย ซึ่ง "ปีเตอร์ วาว์(2003) ได้ให้ความเห้นว่าการตั้งคำถามในลักษระดังกล่าวเป้นเรื่องที่น่าประหลาดมาก กล่าวคือ รายได้ภาษีของไทยส่วนใหญ่มาจากภาษีทางอ้อม ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่คาดหมายได้อยู่แล้วว่า เป็นไปไม่ได้ที่ระบบภาษีของไทยจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการกระจายรายได้ ซึ่งผลการศึกษาต่างๆ ก็ยนยันปรากฎการณ์ดังกล่ว ด้วยเหตุนี้ผุ้วิจัยเห็นว่า การใช้มาตการทางด้านรายจ่ายเป็นส่ิงสำคัญในการส่งเสริมให้เกิดการกระจายรายได้ โดยรัฐบบาลไทยควรต้องพัฒนาระบบประกันสังคมและพัฒนาสวัสดิการ เช่น การนำระบบการเครดิตภาาีเงินได้เนพื่องจากการทำงาน มาใช้ ซึ่งเป็นการใช้ระบบภาษีควบคู่กับการโอนเงิน อันจะสามารถรบุตัวผุ้รับประโยชน์ ไดอ้ยอ่างมี
ประสิทธิผล เช่น สามารถกำหฟนดรายได้ของครอบครัวจำนวนเด็กในครอบครัว หรือคุณลักษระอื่นๆ
สำหรับประเทศไทย แม้ว่จะมีการปรับโครงส้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรมดหลายครั้ง แต่ก้ยังคงเป็นโครงสร้างอัตราแบบก้ายหนา มาโดยตลอด เพรียงแต่เป็นการปรับช่วงเงินได้ในแต่ละชั้นให้กว้างขึ้น และลดจำนวนชั้นของเงินได้พร้อมทั้งปรับลดอัตราภาษีในแต่ละขึ้นลง การที่ความก้าวหน้าของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลดต่ำลงเรื่อยๆ ในด้านหนึ่งย่อมเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ
ของระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะเป้นการจูงใจให้ผุ้มีรายได้สุงทำงานมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามก้ทำให้ความเลหือล้ำในการกระจายรายได้สูงขึ้น ทั้งนี้เพราะผุ้มีรายได้สุงจะได้รับประโยชน์จาการลดความก้าวหน้าของภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดมากกว่าผุ้มีรายได้ต่ำ
ตลอด 30 ปีที่ผ่านม ประเทศไทยปรับโครงสร้างภาษีอัตราภาษีเงินไ้บุคคลธรรมดามาแล้ว 4 ครั้ง โดยสามารถแบ่งเป็นช่วงต่างๆ ดังนี้
- ตั้งแต่ปี พ.ศ.2525 ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ข่วงนั้นโรงร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเน้นหนักไปที่เรื่องการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม โครงสรางอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจึงเป็นระบบภาษีอัตราก้าวหน้าแบบขั้นบันได มีทั้งหมด 13 ขั้นอัตรา โดยเร่ิมเก็บภาษีจากคนจนที่มีรายได้สุทธิไม่เกิน 30,000 บาท เสียภาษีอัตรา 7% จนกระทั่งถึงคนรวยที่มีรายไ้ดสทุธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เสียภาษีที่อัตรา 65%
- ช่วงปี พ.ศ. 2529 - 2531 ได้มีการปรับคึวามหว้างของแต่ละขั้นเงินได้ให้กว้างขึ้น และปับลดขั้นเงินได้สุทธิจาก 13 ขึ้นอัตราเหลือเพียง 11 ชั้น โดยชั้นอัตราภาษีอยู่ระหวาง 7-55%
- ปี พ.ศ. 2529 ช่วงปลายสมัยรัฐบาลพลเอกปรม มีการปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรดาอีกครั้ง จากเดิม 13 ขันอัตรา ปรับลดลงมาเหลือ 11 อัตรา โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างภาษีใหม่ เป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูงลงมาจนถึงกลุ่มคนที่มีรายได้ปานกลางได้รับส่วนลดภาษีไป 10% เช่น ผุ้ที่มีรายได้สุทธิเกิน 2 ล้านบาทขึ้นไป เดิมเสียภาษีที่อัตราลดลงจากโครงสร้งางเดิม 10% ขณะที่กลุ่มผู้มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท ไ่ได้ประโยชน์จากการปรับคร้งนี้ ยังคงเสียภาษีในอัรา 7% เท่าเดิม
- ปี พ.ศ. 2532 ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัฒ เป็นนายกรัฐมนตรี มีการปรับโครงร้า
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครั้งใหญ่ โดยผุ้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการปรับโครงสร้างภาษีครั้งนี้ยังคงเป็นกลุ่มคนที่มีรายได้สูง เช่น (ุ้ที่มีรายได้เกิน 2 ล้านบาทขึ้นไ เดิมเสียภาาีทีอัตรา 55 % ลดเหลือ 50% ผุ้ที่มีรายได้อยู่ในช่วง 1-2 ล้านบาท จาก 50% ลดเหลือ 40% รายได้ 7.5 แสนบาท - 1 ล้านบ้า จาก 45% ลดเหลือ 30% รายได้ 5.5 แสนบาท -7.5 แสนบาท จาก 40% ลดเหลือ30%1 ...
- ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน ประเทศไทยมีการนำระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมาใช้แทนภาษีการต้า พร้อมกับปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเหลือเพียง 5 ขั้นอัตรา โดยกลุ่มที่ได้รับอานิสงส์มากสุดยังตกอยุ่กับกลุ่มคนที่มีรายได้ดี เช่น มีรายได้ เกิน 4 ล้านบาทขึ้นไป จาก 50% ลดเหลือ่ 37% ...
หลังจากปี พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี หรือช่ว
ของเงินได้สุทธิในแต่ละชั้น แต่ก็ยังมีการออกมาตรการภาษีเพื่อบรรเท่าภาระภาษีของกลุ่มผุ้มีารยได้น้อย และมีการปรับเพ่ิมช่วงเงินได้สุทธิที่ไม่ต้องเสียภาาีมาอย่างต่อเนื่องตามลำดับ..ซึ่งลักษณะดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า ในกรณีของไทยนั้น ภาษีนอกจากจะเป็นเครื่องมือในการหารายได้ให้แก่รัฐแล้ว ยังเป็นเครื่องือที่สำคัญในการกำหนดนโยบายทางังคมอีกด้วย...http://v-reform.org/u-knowledges/taxreform/
วันจันทร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2560
So what ? Inequality
แต่ที่ผุ้เขียนคิดว่าน่าวิตกยิ่งกว่าภัยต่อเศราฐกิจคือ ภัยต่อการอยุ่ร่วมกันในสัคมอย่งสงบสุข
ตัวอย่างการ "เฟรม" แบบน้คือสิ่งที่ OECD พยามจะผลักดัน รายงาน จาก OECD ชี้นนี้ชี้ว่า เราควรลดความมเหลื่อล้ำเพราะความเหลื่อ้ล้ำทำให้เศรษฐกิจโตด้วยอัตราที่ต่ำลง (ถึงแม้ว่านักวิจัยจะยังไม่สามารถตกลงกันด้วยหลักานได้ว่าเป็นเพราะเหตุใด...) โดยผ่านแนวทางที่นักเศราฐกศาสตร์ตั้งสมมติฐานไว้เช่น 1.ความเหลื่อล้ที่มากขึ้นทำให้ประชาชนเรียกร้องให้ขึ้นภาษีธุรกิจ ขอให้ทำการกำกับดูแลที่รัดกุมขึ้น หรือประท้วงไม่เอานดยบายที่เป้นการช่วยเหลือกกลุ่มธุรกิจ 2" ความเหลื่อมล้ำที่มากข้นในังคมที่มี "ไฟแนลเชียล มาร์เก็ต อิมเพอร์เฟคชั่น" อยุ่แต่เดิมแล้วจะทำให้คนที่ฐานะไม่ดีไม่สามารถลงทุนในส่ิงที่ควรลงทุนเพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนอันมหาศาลต่อทั้งผุ้ลงทุนและผลผลิตของชาติ (ิช่นการลงทุนในการศึกาที่มีคุณภาพ)
อย่างไรก็ตาม ผุ้เขียนก็เข้าใจว่าทำไมหลายองค์กรค์ที่ต้องการลดระดับความเหลื่อล้ำถึงมักตีกรอบ ปัญหาความเหลื่อล้ำให้เป็นปัญหาเศราฐกิจ การframe ปัญหาความเหลื่อมล้ำในมุมองของการเติบโตของเศรษบกิจทำให้หลายคนเลิกกังวลว่าการที่ภาครัฐดำเนินนโยบยเพื่อลดความเหลื่อมล้ำที่เข้มขนขึ้นนัน ถึงแม้อาจเป็นการลดแรงจูใจในการทำงานแต่บวกลบออกมาแล้วมีผลป้นบวกต่อัตรการเติบดตของเศราฐกิจ และมันคงจะเป็นวิธี "เฟมส์" ที่เป็นไปในทางปฏิบัติ ที่สุดแล้วในการมัใจผุ้คน (และผุ้มีอิทธิพล) ให้หันมาเหลี่ยวแลปัญหานี้ได้
ขระที่หลายฝ่ายกำลังให้ความสนใจกับภัยจากระดับความเหลื่อล้ำสุงใน 2 ด้านหลักๆ คือ ภัยต่อเศรษฐกิจ และภัยต่อสังคม ในอีกมุมองหนึ่ง (ผู้เขียน) คิดว่าการเจิรญเติบโตของเศรษฐกิจเป็นเรื่องสำคัญ แต่ในขณะเดียวกันเราไม่ควรคิดจะแ ก้ปัญหาความเหลื่อล้ำเพียงแค่เพราะว่ามันจะทำให้เศราฐกิจโตเร็วขึ้นหรือต่อเนื่องขึ้น โดยมองว่า หนึง เศราบกิจที่โตวันดตคืน คือจุดหมายที่แท้จริงของการแก้ไขปัญหาความเหลื่อล้ำ และ สอง หากวันดีคืนดีเราเกิดไปเจอวิะีเพ่ิมอัตราเติบโตของเศรษฐฏิจที่ทำได้ง่ายกว่าการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำคภถามที่น่าคิดคือ จะยังมีใครยอมเหน็นดเหนื่อยเพื่อแก้ปัญหานี้อีกหรือไม่ และสาม คือ ผุ้เขยนเป็นห่วงย่าเรายังไม่เข้าใจความเหลื่อมล้ำดีพอที่จะตอบคำถามว่า แล้วเมื่อเศราฐกิจเติบโตขึ้นแล้วจะเกิดอะไรขึ้นกับความเหลื่อมล้ำในอนาคต งานวิจัยทางเศราฐกศาสตร์ด้านความเหลื่อมล้ำที่ใช้ข้อมูลคุณภาอย่างที่ทีมวิจัยของ ปีเคตตี ใช้นั้นยังมีไม่มาก แม้ว่าพักหลังนี้เร่ิมมีงานวิจัยที่นำเสนอหลักฐานจากการหาความสัมพันธ์ทางสถิติระหวางมาตรการเพื่อลดความเหลื่อล้ำกับความต่อเนื่องในอัตราเติบโตของเศรษกบิจ เราคงยังต้องรอดุกันต่อไเพราะว่าการหาความสัมพันะ์กับการเป็นเหตุเป็นผลกันมันไม่ใช่อย่างเดียวกัน
ตัวอย่างการ "เฟรม" ปัญหาควมเลหื่อล้ำในมุมองของการเติบโตของเศราฐกิจทำให้หลายคนเลิกกังวบลว่าการที่ภาครัฐดำเนินนโยบายเพื่อลดความเหลื่อล้ำที่เข้ามข้นขึ้นนั้น ถึงแม้อาจเป้นการลดแรงจูงใจในการทำงานแต่บวกลบออกมาแล้วมีผลเป็นบวกต่ออัตรการเติบโตของเศราฐฏิจ และมันคงจะเปป้นวิธี "เฟรม" ที่เป้นไปในทางปฏิบัติ ที่สุดแล้นวในการมัใจผู้คน (และผุ้มีอิทธิพล) ให้หันมาเหลียวและปัญหานี้ได้
ที่จริงแล้วการที่ใครบางคนร่ำรวยกว่าคนส่วนมากมันก็ไม่้ได้เปนปัญหาในัวมันเองมากนักตรอบใดที่คนส่วนมากยงมีรายได้พอกินพอใช้ แต่สิ่งนี้จะเป้นปัญหาได้ก็เพราะว่ามัมีความเป้นปได้สูงที่คนกลุ่มอภิมหารวยกลุ่มนี้จะสามารถยึดคองสิ่งอื่นๆ ในสังคมนอกจกแค่เม็ดเงินได้ด้วย
มุมมองนี้เป้น มุมมองที่ "โจเซฟ อี. สทิจลิทซ์" เขียนเอาไว้ในหนังสื่อของเขา สองเล่ม โดยมองว่า การที่ความมั่งคั้งเกินครึ่งไปกระจุกอยู่บนยอดปลายแหลมของพีระมิดสังคมจะมีผลทำให้ระบอบประชาธิปไตยขัดข้องและถดถอยจากระบบ "วัน เพอร์เซน วัน โหวต" ไปเป็น วัน ดอลล่าร์ วัน โหวต" ที่กลุ่มธุรกิจหรืกลุ่มที่มั่งคั่งกว่าสามารถล็อบบี้หรือแม้กระทั่วกดดันรัฐบาลเพื่อให้ออกกฎหมายที่สามารถดยกย้ายทรัพยากรเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง แทนที่ว่าการกรำทำของรัฐบาลจะสะท้อนความต้องการของประชากรอมู่มาก และสุดท้ายความเลหื่อล้ำนี้จะทำให้ความแค้นสั่งสมในหมู่ประชาชนจนกลางเป้นชนวนก่อให้เกิดวิกฤติความขัดแย้งกทางการเมืองได้ในที่สุด
ในสังคมอเมริกันทุกวันนี้ "สติจลิทซ์" ยกตัวอย่างทีเ่ห็นได้ชัดคือแม้ว่าประชาชนจะห็นวาระบบการเก็บภาษีเงินได้นั้นไม่แฟร์แต่ไปๆ มาๆ บุคคลที่ร่ำรวยที่สุด 400 คนกลับจ่ายภาษีเงินได้น้อยกว่า 20% ของรายได้ทั้งๆ ที่จริงๆ แล้วควรจะจ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์ที่สูงกว่านั้นตามระบบภาษีแบบ ก้าวหน้าที่สหรัฐฯ เป็นประเทศแรกๆ ที่ริเริ่มมัน อีกทั้งลริษัทยักษ์ใหญ่มากมาย เช่นบริษัท เจอรืเนอรอล อีเลกทริก นั้นลททุนไปกับการหาช่วงโหว่ของกฎหมายภาษีถึงขั้นที่ว่าในสิบปีระหว่างปี เจอร์เนอรัล อีเล็ทริก จ่ายภาษีไปแค่เฉลี่ยแล้วปีละ 1.8%ผุ้เขียนไม่แน่ใจจริงๆ ว่าควรจะชมว่าเก่งหรือโกงดี เพราะว่าเขาไม่ได้ทำผิดกฎหมาย (คงทั้งคู่)
ในสายตาของ สติจลิทซ์ สังคมในอุดมคิที่ชาวอเมริกันเคยภาคภูมิใจนั้นกลับหลายเป็นสังคมที่คนรวยมีโอกาสได้เข้าถึงการศึกษาคุณภาพที่ดีกว่าคนจนเป้นสังคที่คนจนมีอุปสรรคเมื่อต้องกาเข้ารักษาสุขภาพ เป็นสังคมที่ถึงแม้คนรวยจะฉีกตัวห่างจากคนจนไปจนไม่เห็นฝุ่นแต่ค่าแรงขึ้นต่ำขณะนี้ดันน้อยกว่าสมัยเมื่อ 50 ปีที่แล้ว ทั้งๆ ที่เศรษฐกิจปัจจุบนก็โตช้ากว่าและคนก็ไม่ได้ว่างงานน้อยกว่าด้ยเท่านี้ยังไม่พอคน่วนมากยังจ่ายภาษี เป็นเปอร์เซ็นต์มากกว่คนที่ฐานะดีอีกด้วย
สิ่งที่หนังสื่อ "แคปปิตอล" กำลังเตือนเราก็คือ หลายสังคมบนโลกโดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมอเมิรกัน หรือสังคมที่พยายามทำตัวให้คล้ายสังคอเมริกัน คล้ายกับว่าระดับความเหลื่อมล้ำที่สูงนั้นทำให้ยิ่งคนเราอยู่ใกล้เชิงบันได อเมริกัน ดรีม เท่าไร แต่ละขั้นบันไดมันย่ิงห่างกันมากขึ้น นั้นก็คือ การเราเกิดร่วงลงไป หรือโชคไม่ดีเกิดมาแถวๆ เชิงบันไดขึ้นมา มันจะทำให้เราปีนกลับขึ้นมาได้ยากมาก ส่วนเด็กๆ ที่โชคดีนั้นเกิดมาอยุ่บนปลายบันไดเลย ต่อให้ไ่ปีนป่ายเลยสักขั้นเดียวก็คงจะไม่เป็นไรนัก
บางคนอาจมาอง่าแบบนี้ก็ดีแล้วสัคมจะได้รีดเค้นเอาหัวกะทิออกมาจากกองมนุษย์ะรรมดา ๆ ทังหลาย ไ่ต่างจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ที่จะทำให้มนุษย์ที่เหลือยุ่มีแต่พวกที่ "สมควรอยู่กว่า" ...https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/
วันอาทิตย์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Cause of inqaulity II
ปัจจัยที่หลายคนคิดว่าเป็นต้นตอของความเหลื่อล้ำนั้นมีตั้งแต่ความบ้ำมเหลวงของสมาคึมแรงงานในยุคหลังๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนลโยีซึ่งทำให้เกิดความต้องการแรงงานที่มีลทักษะสุงและกิดการ "โละ" แรงงานทักษระต่ำ ไปจนถึงความเหลื่อล้ำทางโอกาสการศึกษา ซึ่งวทั้งหมดนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห้นว่าเป้นปัจจัยสำคัญ แต่ไม่สามารถอธิบายระดับความเหลื่อล้ำที่เราเห้นอย่างในกรณี "รวยกระจุกแล้วแยกวง" ที่ ปิเคทตี้ นำเสนอใน หนังสือ "แคปปิตอล"
แนวคิดของ Piketty ทีเกี่ยวข้องเหนื่อกับต้นตอของปัญหานี้ โดยกล่งถึงบทยาทของความสัมพันธืระหว่างอัตราผลตอบแทนจากทุนกับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจในการทำให้เกิดป็ญหาความเหลื่อล้ำ
Piketty คิดว่าบทบาทของอัตราผลตอบแทนของทุนและอัตราเติบโตของเศราฐกิจมีส่วนสำคญในการก่อให้เกิดความเหลื่อล้ำ เขาเขียน 3 fundamental laws ไว้ในหนังสือ Capital ดังนี้
1. a _ r x β —– ซึ่งแปลเป็นภาษาคนว่าส่วนแบ่งของรายได้ประชาชาติในเศราฐกิจที่ตกเป้นของผุ้ถือครองทุน (a) นั้นจะเท่ากับอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) คุนกับอัตราส่วนระหว่างปริมาณทุนต่อปริมาณรายได้ (β )
2. ในระยะยาว β = s/g —– นั่นคือ อัตราส่วนระหว่างปริมารทุนต่อปริมาณรายได้ (β) จะต้องเท่ากับอัตราการออกม (s) หารด้วยอัตราเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ (g) ในระยะยาว
3. หาก r > g เมื่อไหร่ ผุ้ที่ถือครองทุนจะค่อยๆ ได้รับสัดสวนรายได้ท้งหมดของเศราฐกจที่เพ่ิมขึ้นโดยไม่่รุ้จบและจะก่อให้เกิดความเลื่อล้ำมากขึ้นเรื่อยๆ
Piketty เร่ิมต้นด้วยการใช้ข้อมุลที่ชี้ให้เห็นวา อัตราส่วนระหวางประมาณทุนต่อประิมาณรายได้ (β) ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐฯ และฝรั่งเศสนั้นเพ่มิขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1050 จนเกือบเท่ากับในสมัยศตวรรษที่ 19 และคาดว่าจะขึ้นจาก 4.5 ในปี ค.ศ. 2010 ไปถึง 6.5 เมื่อสิ้นศตวรรษนี้
ลองสมมติว่ามีเศณาฐฏจที่ดตปีละ 5% (g) และมีการออม (s) 10% ของรายได้ทั้งหมดของประเทศ หากเศราฐฏิจปีนี้มีรายได้ประชาชาติ หนึ่งร้อยบาท แสดงวาเราจะได้ออม 10 บาท(ซึ่ง ปีเคทตี้ เรียกแบบหลวมๆ ว่า "แคปปิทอล" หรือทุน) การที่อัตราสวนระหว่างปริมาณทุนต่อปริมาณรายได้ (β) จะคงที่ไปตลอดกาลตามกฎข้อสองได้นั้นทุนที่ออมไว้จะต้องมีปริมาณเท่ากับ 200 บาท ปีนี้ β จึงจะเท่ากับ 2 (นำมาหารกัน) เมื่อเราได้เข็มนาฬิกาเดิน ปีหน้ารายได้ประชาชาติจะเป็น 105 (โต 5%) และทุนจะเป็น 210 (เพ่ิมขึ้นมาด้วยเงินที่ออกมาจากรายได้ประชาชาติ 100 บาท) β จึงจะคงที่ที่ 2 ไปเร่อยๆ ตลอดกาล ทั้งนี้ เขามองว่าดลกข้างหนาน่าจะมีอัตราออมเฉลียประมาณ 10% และอัตรเจิรญเติบโตทางเศณาฐฏิจน่าจะลดลงไปเหลือราวๆ 1 ถึง 2% จนทำให้ β บีขึ้นไปเกือบึง 7
ชั้นถัดไปคือ ตามกฎข้อแรกหากคุณเอาอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) ในเศณาฐกิจมาคุณกับ β ที่เราคำนวณไว้เมื่อครู่ก็จะได้สิ่งที่เรียกว่า "ส่วนแบ่งของทุนจากรายได้ประชาชาติ (a)" จากตัวอย่าง β = 2 จะเห็นว่าหากคุณคาดว่า r จะมีค่าประมาณ 4% ต่อปี ส่วนแบ่งของทุนจะเป็น 9$( 2*4%) ของรายได้ประชาชาติ แต่ในตัวอย่าง คาดว่า β จะสูงขึ้นไปเฉียด7 ในอนาคต ส่วนแบ่งของทุนจะพุ่งขึ้ไปถึง 28% (7*4%) ของรายได้ประชาชาติ และจะขึ้นไปมากกว่านี้อีกหาก r สูงกว่า 4% ด้าคิดเล่นๆ ว่ r จะขึ้นไปถึง 6% ขึ้นมา ส่วนแบ่งของทุนจะขึ้นไปถึง 42% (7*6%) ของรายได้ประชาชาติเลยที่เีดยว ส่วนที่เหลื่อ 58% คือส่วนแบ่วของรายได้ที่มาจากการทำงาน (ที่มนุษย์เงินเดือนและแรงงานปกติเป็นผุ้ถือครอง)
นี้คอกรรีที่ชี้ให้เห็นถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมืออัตราผลตอบแทนจากทุนมากกว่าอัตราเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ (r>g) ใน กรณีที่ β = 7 และ r = 6% > g หากมีคนแค่ไม่กีคนถือครองทุนส่วนมาก ก้จะแปลว่าคนกลุ่มเล็กๆ นี้จะได้รับส่วนแบ่งจากการที่เศราฐกิจเติบโตทุกปีไปเต้ฒๆ 42% ของรายได้ประชาชาติ คนกลุ่มนี้อาจรวนกลุ่มเล็กๆ นี้จะได้รับส่วนแบ่งจากการที่เศณาฐกิจเติบโตททุกปีไปเต็มๆ 42% ของรายได้ปรชาชาติ คนกลุ่มนี้อาจรวยมากไม่ต้องทำงานเลยก็จะยังเห้ฯรยได้จากทุนโตขึ้นราว r = 6% ต่อปี ซึ่งสูงกว่อัตราที่รายได้จากหยาดเวื่อในการทำมาหากินโดยคนส่วนใหย่ที่จะโตได้แค่อย่างมากเท่ากับอัตราเติบโตของเศราฐกิจ ซึ่งหลายคนคาดว่าจะต่ำลงเรื่อยๆ
หนังสือ Capitalไม่ได้เน้นเรื่องพฤติกรรมการออมมากนัก มันเป้นไปได้ที่คงามเหลื่อล้ำที่กฎข้อสามทำนายไว้จะไม่เกิดขึ้นหากชนชั้นกลางออมเก่งเพื่อไเอาประดยชน์จาก r > gและพวกทอป 1% กลับไม่ยอมออมเลย อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้คงเกิขึ้นยากมาก ในชีวิตจริงคนที่ร่ำรวยมากๆ มักจะมอัตราการออมที่สุงกว่าคนส่วนมาก เพราะว่า พวกเขามีรายได้สุงเกินพอให้เหลื่อใช้ และพวกเขาเลื่อทีจะออมภาพที่ "ปิเคทตี้ เห็นจึงเหมือนเป็นการกลับมาของทุนนิยมมรดกท่จะเข้ามามีบทบาทแทนที่การขยันทำงานขยันประดิษญ์อะไรใหม่ๆ เพื่อหาเงินจากรายได้ที่มีอัตราเติบดตน้อยกว่าอัตราผลตอบแทนจากทุน
"ปิเคทตี้" พบว่า r>g เป็นจริง ยกเว้นในช่วงสงครามโล กตแ่จะเป้นจริงไปเรื่อยๆ หรือไม่คงไม่มีใครทราบได้ แม้ว่ามุมมองของ "ปิเคทตี้" ฟังดูเหมือนว่าต้นตอของปัญหาอยู่ทีระบบทุนนิยม แต่ผุ้เขียนไม่คิดว่าทุนนิยมคือผุ้ร้ายตัวจริง ทุนในที่นี้เป็นเพียงพาหนะของความเหลื่อล้ำในระบบเศราฐกิจที่พัฒนาไปในทางที่สามารถรองรับปริมาณที่มากขึนพร้อมๆ กับทำให้อัตราตอบแทนของทุนไม่ตกลง...https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/
แนวคิดของ Piketty ทีเกี่ยวข้องเหนื่อกับต้นตอของปัญหานี้ โดยกล่งถึงบทยาทของความสัมพันธืระหว่างอัตราผลตอบแทนจากทุนกับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจในการทำให้เกิดป็ญหาความเหลื่อล้ำ
Piketty คิดว่าบทบาทของอัตราผลตอบแทนของทุนและอัตราเติบโตของเศราฐกิจมีส่วนสำคญในการก่อให้เกิดความเหลื่อล้ำ เขาเขียน 3 fundamental laws ไว้ในหนังสือ Capital ดังนี้
1. a _ r x β —– ซึ่งแปลเป็นภาษาคนว่าส่วนแบ่งของรายได้ประชาชาติในเศราฐกิจที่ตกเป้นของผุ้ถือครองทุน (a) นั้นจะเท่ากับอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) คุนกับอัตราส่วนระหว่างปริมาณทุนต่อปริมาณรายได้ (β )
2. ในระยะยาว β = s/g —– นั่นคือ อัตราส่วนระหว่างปริมารทุนต่อปริมาณรายได้ (β) จะต้องเท่ากับอัตราการออกม (s) หารด้วยอัตราเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ (g) ในระยะยาว
3. หาก r > g เมื่อไหร่ ผุ้ที่ถือครองทุนจะค่อยๆ ได้รับสัดสวนรายได้ท้งหมดของเศราฐกจที่เพ่ิมขึ้นโดยไม่่รุ้จบและจะก่อให้เกิดความเลื่อล้ำมากขึ้นเรื่อยๆ
Piketty เร่ิมต้นด้วยการใช้ข้อมุลที่ชี้ให้เห็นวา อัตราส่วนระหวางประมาณทุนต่อประิมาณรายได้ (β) ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐฯ และฝรั่งเศสนั้นเพ่มิขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1050 จนเกือบเท่ากับในสมัยศตวรรษที่ 19 และคาดว่าจะขึ้นจาก 4.5 ในปี ค.ศ. 2010 ไปถึง 6.5 เมื่อสิ้นศตวรรษนี้
ลองสมมติว่ามีเศณาฐฏจที่ดตปีละ 5% (g) และมีการออม (s) 10% ของรายได้ทั้งหมดของประเทศ หากเศราฐฏิจปีนี้มีรายได้ประชาชาติ หนึ่งร้อยบาท แสดงวาเราจะได้ออม 10 บาท(ซึ่ง ปีเคทตี้ เรียกแบบหลวมๆ ว่า "แคปปิทอล" หรือทุน) การที่อัตราสวนระหว่างปริมาณทุนต่อปริมาณรายได้ (β) จะคงที่ไปตลอดกาลตามกฎข้อสองได้นั้นทุนที่ออมไว้จะต้องมีปริมาณเท่ากับ 200 บาท ปีนี้ β จึงจะเท่ากับ 2 (นำมาหารกัน) เมื่อเราได้เข็มนาฬิกาเดิน ปีหน้ารายได้ประชาชาติจะเป็น 105 (โต 5%) และทุนจะเป็น 210 (เพ่ิมขึ้นมาด้วยเงินที่ออกมาจากรายได้ประชาชาติ 100 บาท) β จึงจะคงที่ที่ 2 ไปเร่อยๆ ตลอดกาล ทั้งนี้ เขามองว่าดลกข้างหนาน่าจะมีอัตราออมเฉลียประมาณ 10% และอัตรเจิรญเติบโตทางเศณาฐฏิจน่าจะลดลงไปเหลือราวๆ 1 ถึง 2% จนทำให้ β บีขึ้นไปเกือบึง 7
ชั้นถัดไปคือ ตามกฎข้อแรกหากคุณเอาอัตราผลตอบแทนจากทุน (r) ในเศณาฐกิจมาคุณกับ β ที่เราคำนวณไว้เมื่อครู่ก็จะได้สิ่งที่เรียกว่า "ส่วนแบ่งของทุนจากรายได้ประชาชาติ (a)" จากตัวอย่าง β = 2 จะเห็นว่าหากคุณคาดว่า r จะมีค่าประมาณ 4% ต่อปี ส่วนแบ่งของทุนจะเป็น 9$( 2*4%) ของรายได้ประชาชาติ แต่ในตัวอย่าง คาดว่า β จะสูงขึ้นไปเฉียด7 ในอนาคต ส่วนแบ่งของทุนจะพุ่งขึ้ไปถึง 28% (7*4%) ของรายได้ประชาชาติ และจะขึ้นไปมากกว่านี้อีกหาก r สูงกว่า 4% ด้าคิดเล่นๆ ว่ r จะขึ้นไปถึง 6% ขึ้นมา ส่วนแบ่งของทุนจะขึ้นไปถึง 42% (7*6%) ของรายได้ประชาชาติเลยที่เีดยว ส่วนที่เหลื่อ 58% คือส่วนแบ่วของรายได้ที่มาจากการทำงาน (ที่มนุษย์เงินเดือนและแรงงานปกติเป็นผุ้ถือครอง)
นี้คอกรรีที่ชี้ให้เห็นถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมืออัตราผลตอบแทนจากทุนมากกว่าอัตราเจริญเติบโตทางเศณาฐกิจ (r>g) ใน กรณีที่ β = 7 และ r = 6% > g หากมีคนแค่ไม่กีคนถือครองทุนส่วนมาก ก้จะแปลว่าคนกลุ่มเล็กๆ นี้จะได้รับส่วนแบ่งจากการที่เศราฐกิจเติบโตทุกปีไปเต้ฒๆ 42% ของรายได้ประชาชาติ คนกลุ่มนี้อาจรวนกลุ่มเล็กๆ นี้จะได้รับส่วนแบ่งจากการที่เศณาฐกิจเติบโตททุกปีไปเต็มๆ 42% ของรายได้ปรชาชาติ คนกลุ่มนี้อาจรวยมากไม่ต้องทำงานเลยก็จะยังเห้ฯรยได้จากทุนโตขึ้นราว r = 6% ต่อปี ซึ่งสูงกว่อัตราที่รายได้จากหยาดเวื่อในการทำมาหากินโดยคนส่วนใหย่ที่จะโตได้แค่อย่างมากเท่ากับอัตราเติบโตของเศราฐกิจ ซึ่งหลายคนคาดว่าจะต่ำลงเรื่อยๆ
หนังสือ Capitalไม่ได้เน้นเรื่องพฤติกรรมการออมมากนัก มันเป้นไปได้ที่คงามเหลื่อล้ำที่กฎข้อสามทำนายไว้จะไม่เกิดขึ้นหากชนชั้นกลางออมเก่งเพื่อไเอาประดยชน์จาก r > gและพวกทอป 1% กลับไม่ยอมออมเลย อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้คงเกิขึ้นยากมาก ในชีวิตจริงคนที่ร่ำรวยมากๆ มักจะมอัตราการออมที่สุงกว่าคนส่วนมาก เพราะว่า พวกเขามีรายได้สุงเกินพอให้เหลื่อใช้ และพวกเขาเลื่อทีจะออมภาพที่ "ปิเคทตี้ เห็นจึงเหมือนเป็นการกลับมาของทุนนิยมมรดกท่จะเข้ามามีบทบาทแทนที่การขยันทำงานขยันประดิษญ์อะไรใหม่ๆ เพื่อหาเงินจากรายได้ที่มีอัตราเติบดตน้อยกว่าอัตราผลตอบแทนจากทุน
"ปิเคทตี้" พบว่า r>g เป็นจริง ยกเว้นในช่วงสงครามโล กตแ่จะเป้นจริงไปเรื่อยๆ หรือไม่คงไม่มีใครทราบได้ แม้ว่ามุมมองของ "ปิเคทตี้" ฟังดูเหมือนว่าต้นตอของปัญหาอยู่ทีระบบทุนนิยม แต่ผุ้เขียนไม่คิดว่าทุนนิยมคือผุ้ร้ายตัวจริง ทุนในที่นี้เป็นเพียงพาหนะของความเหลื่อล้ำในระบบเศราฐกิจที่พัฒนาไปในทางที่สามารถรองรับปริมาณที่มากขึนพร้อมๆ กับทำให้อัตราตอบแทนของทุนไม่ตกลง...https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/
วันเสาร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2560
Cause of inqaulity
ตั้งแต่หนังสือ Capital วางแผงไปก็ได้ มการถกเถียงและแลกเปลี่่ยนความคิดเห็นกันอย่างมาก ปัจจัยที่หลายคนคิดว่าเป็นต้นตอของความเหลื่อล้ำนั้นมีตั้งแต่ความล้มเหลวของนสมาคมแรงงานในยุคหลังๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนดลยีซึงทำให้เกิดความต้องการแรงงานที่มีทักษระสูงและเกิดการ "โละ" แรงงานทักษะต่ำ ไปจนถึงความเหลื่อมล้ำทางโอกาสศึกษา ซึงทั้งหมดนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็น่าเป็นปัจจัยสำคัญ แต่ไม่สามารถอธิบายระดับคาวามเหลื่อมล้ำที่เราเห็นอย่างในกรณี"รวยกระจุกตัวแล้วแยกวง" บทความความจึงขอนำ แนวคิดที่เกี่ยวเนื่องกับตัตอของปัญหานี้....เช่น
แนวคิดของ Stiglitz ในบทความนีใช้คำว่า "ปัญหา" คูกับ "ความเหลื่อล้ำ" แต่จากการสนทนากับผุ้คนที่หลากหลายแล้วพบ่่ามีจนจำนวนไม่น้อยที่ไม่คิดว่่าความเหลื่อมล้ำเป้นปัญหารและคิดวย่าสังคมควรเลิกเสียเวลาด้วยซ้ำ
งานวิจัย จาก Economic Policy Institute พบว่าผุ้บริหารระดับสุงในสหรัฐฯ มีรายได้มากกว่าลูกจ้าทั่วไป 303 เท่าในปี ค.ศ. 2914 (เทียบกัยราวๆ แค่ 20 เท่าในปี ค.ศ. 1965) หากแปลงสัดส่นนี้เป็นเงินดอลลาร์แล้วผุ้บริหารระดับสูงเหล่านี้มีรายได้โดยเฉลี่ยราว 16 ล้านดอลลาร์ต่อปีเทียบกับแค่ 5 หมื่นดอลลาร์ที่ลูกจ้างทั่วไปได้รับ
บางคนคิดว่า การที่ผุ้บริหารระดับสูงเหล่านี้มีรายได้มากกว่าหลายเท่านั้นเป็นเรื่องธรรมชาิตที่เป็นไปตามหลักเศรษฐศาสตร์ทีตลาดแรงงานจะให้ค่าตอบแทนที่สุงกว่ากับแรงงานที่มีวามสามารถสูงกว่าและมีผลิตภาพมากกว่าแรงงานท่วไป และอาจมองได้อีกว่ารายได้และโบนคัสเหล่านี้เป็น "รางวัล" มีผุ้ประกอบสมควรได้รับ หารเป็นเช่นนี้จริงการไปลงโทษพวกเขาก้วยการไล่เก็บภาษีมากขึึ้นมากขึ้นนั้นเท่ากับเป็นการลแรงจูงใจนให้พวกเขาทำให้ทั้งบริษัทและเศรษฐฏิจมีการพัฒนาเติบโตขึ้น แต่ทว่าตัวเลข 300 เท่นนี้มีเหมาะสมกับสิ่งที่ผุ้บริหารระดับสุงทำให้กบบริษัทและเศณษฐกิจจริงๆ หรือไม่ หนื่องจากเศรษฐกจในปัจจุบันมีความซับซ้อนสูง จึงขอนำไปสู่เศรษฐกิจแบบง่ายๆ ก่อน
สมมติว่าเศรษฐฏิจนี้มีคนอยุ่แค 3 คน นาย ก. นายข. และนาย ค. ทุกวันทุกคนมีหน้าที่ออกไปล่าไก่ป่าซึ่งเป็นสินค้าชนิดเดียวในเศณาฐกิจนี้เพื่อเอามาเป็นอาหารประทังชีวิต ตอนเริ่มแรกไม่มีใครมีเครื่องมือใดๆ ต้องลาไก่ด้วยมือเปล่า ทั้บวันได้ไก่ป่าแค่คนละตัวเดียวเท่านั้น จากเช้าจรดเย็น 3 คนนี้จึงไม่ได้ทำอะไรเลยนอกจากล่าไก่ป่ามาเป็นอาหารเพียงเพื่อที่จะได้อยู่รอดไปถึงวันถัดไป สรุปคือเศณาฐกิจนี้ผลิตไก่ไปได้ 3 ตัวต่อวันด้วยคน 3 คน
ต่อมา นาย ก. เกิดมีไอเดียบรรเจิรขึ้นมาว่าจะทำกับดักหลุมพรางด้วยกิ่งไม้และการขุดดิน ปรากฎว่า "นวัตำรรม" หรือ "เทคโนโลยี" ที่นาย ก. คิดค้านขึ้นมานั้นสามารถทำให้นาย ก. จับไก่ได้วันละ 3 ตัว แทนที่จะเป็นแค่วันละตัวเดียว เที่ยบกัยเมืองวานกลายเป็นว่าเศราฐฏิจนี้สามารถผลิตไก่ป่าได้วันละ 5 ตัวด้วยคน 3 คนแล้ว (นาย ก.ส จับได้ 3 นาย ข. และนาย ค. จับได้คนละ 1) วัดถัดๆ ไปนาย ก. ก็จะเริ่มีเวลาว่างเอาไปทำอย่างอื่นได้โยไม่อดตายเพราะมีไก่เหลือจากเมื่อว่าและบางที่ไก่ป่าไก่ป่าก็เดินมตหลุ่มพรางเอง นาย ก. ซึ่งแต่เดิมเป็นผู้ชื่นชอบความงดงามของบทกวีอยุ่แล้วจึงสามารถใช้เวลาบางส่วนของวันไปเพื่อการแต่งกวี ทำให้เศราฐกิจชาวป่านี้นอกจากจะมีไก่เพิ่มขึ้นทวีคูณแล้วยังมีบทกวีเพิ่มขึ้นวันละบทอีกด้วย ไปเรื่องย นายก . อาจเสนอให้นาย ข. และนาย ค. เลิกจับไก่แล้วไปผลิตอย่างอื่น เช่น ไปหากล้าวมาแลกกับไก่ เป็นต้น พอเวลาผ่านไปหลายพันปี เศรษฐกิจก็จะซับซ้อนขึ้นเป็นแบบที่เห็ฯกันอยู่ทุกวันนี้
นี้คือคำอธิบายแบบสั้นๆ ว่าเศณาฐฏิจเติบโตได้อย่างไร
หากเหล่าผู้บริหารระดับสุงที่มีรายได้มากกวาลูกจ้างะรรมดา 300 เท่าสามาถทำให้ "พายเศรษฐกิจ" ก้อนนี้ขยายใหญ่ขึ้นหลายต่อหลายเท่าด้วยความสามาถของคนอยางที่ นาย ก. นำมาสู่เศราฐฏิจชาวป่า ทำไม่สังคมจึงจะมาประฌามเหล่าผุ้บริหารระดับสูงทั้งๆ ที่หลายคนในกลุ่มนี้ไม่เคยทำตัวให้เป็นภาระสังคมา แต่สังคมกลับไปแบกอุ้มคนที่ฐานะไม่ดีบางคนที่มีพฤติกรมเสี่ยง..
แต่ในทางกลับกันหากเราพิสูจน์ได้ว่าเหล่าผู้บริหารระดับสูงไม่ได้มีผลิตภาพมากว่าแรงงานปกติทั่วไป เป็นเพีงแรงงานธรรมดาๆ อย่างเช่น นาย ข. และนายค. แล้วเงินตอบแทนที่มากว่า 300 เท่ามัมาได้อย่างไรกัน
จุดสำคัญจึงอยุ่ตรงที่ว่ามันเป็นกรณี 1) ผู้บริหารระดับสุงเหล่านี้ได้รับรายได้สูงเพราะว่าตลาดแรงงานยอมจ่ายเพื่อแลกกับความสามารถของพวกเขาหรือว่าเป้นกรณี 2) ผู้บริหารระดับสุงเหล่านี้ใช้อำนาจของตำแหน่งของตนในการนำมาซึ่งรายได้อันมหศาลเกินกว่าที่เป้็นมุลค่าของความสามารถของเขา
กรณีที่ 2 นั้น Stiglitz เรียกมันเป้นพฤติกรรม "เร้นท์ ซีคกิ้ง" ซึ่ง "เร้นท์" ในที่นี้ไม่ได้จำกัดความไว้แค่ค่าเช่าอพาร์ตเมนต์หรือค่าเช่น แต่ "เร้นท์" เป้นคำที่นักเศรษฐศาสตร์ใย้แบบกว้างๆ เพื่อเรยกวถึงเวิน่วนเกินที่บริษัทหรือบุคคลได้รับเพียงเพราะว่าตลาดขาดความแขงขันอยางในตลาดที่มีผุ้ผลิตอยุ่ไม่กี่รย เช่น ตลาดการเงิน ตลาดยา ตลาดประกันสุขภาพ และตลาดโทรคมนาคม เป็นต้น เขายังมองว่ ในสังคมสมัยใหม่แทนที่คนเตาจะเอาเวลาและทรัพยากรไปพัฒนาเศราฐกิจทำพายทังก้อนให้โตขึ้นแบบที่ นาย ก. ทำให้เศรษฐกิจชาวป่าเติบโต กลับกลายเป็นว่าคนสมัยใหม่กำลังหมกมุ่นกับการแย่งชิงไต่เต้าขึ้นไปเป้นผุ้บริหารระดับสุงเพื่อขูดรีดแบ่งพายชิ้นใหญ่ขึ้นให้ตัวเองจากก้อนพายขนาดเท่าเดิม
บิล เกตส์ เองเคยออกมาปกป้องเหล่าผุ้บริหารระดับสุงที่ติด แรคกิ้ง ฟอร์บ 400 และเตือนว่าอย่าลืมไปว่าครึ่งหนึ่งในนั้นเป็นผุ้ประกอบการทีประสบความสำเร็จอย่างสูงด้วยตัวเองและได้นำมาซึ่งสินค้าและบริการที่โลก็ต้องการแต่จากกราฟด้านบนเราจะห้นวา่มันก็พอที่หลักฐานที่นาเชื่อถือได้พอประมาณที่บ่งบอกว่าสถานการณืในกรณีที่ 2 นั้นโดยเฉลี่ยแล้วอาจเป้นคำอธิบายที่น่าเชื่อถือว่ากรณีที่ 1 ในสหรัฐฯ เหตุผลก็คือ รายได้ของผุ้ประกอบการของบริษัททอป 350 เหล่านี้สุงกว่ารายได้ของกลุ่มคนทอป 0.1% นี้ได้มันมาเพราะความสามารถและผลิตภาพที่สูงกว่าคนปกติ แล้วอีก 6 เหล่าเท่าที่เกินมาสำหรับพวกผู้บริหาระดับสูงล่ะ มันจะมาจากไหนได้อีก นักวิเคราะห์ของ " สถาบัน เศรษฐศาสตร์ นโยบาย" มองว่าคนเหล่านี้ได้มาเพียงเพราะได้ครองตำแหน่งที่สามารถทำให้พวกเขาสูบ "เร้นท์" ออกมาได้สะดวกขึ้น..https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/
แนวคิดของ Stiglitz ในบทความนีใช้คำว่า "ปัญหา" คูกับ "ความเหลื่อล้ำ" แต่จากการสนทนากับผุ้คนที่หลากหลายแล้วพบ่่ามีจนจำนวนไม่น้อยที่ไม่คิดว่่าความเหลื่อมล้ำเป้นปัญหารและคิดวย่าสังคมควรเลิกเสียเวลาด้วยซ้ำ
งานวิจัย จาก Economic Policy Institute พบว่าผุ้บริหารระดับสุงในสหรัฐฯ มีรายได้มากกว่าลูกจ้าทั่วไป 303 เท่าในปี ค.ศ. 2914 (เทียบกัยราวๆ แค่ 20 เท่าในปี ค.ศ. 1965) หากแปลงสัดส่นนี้เป็นเงินดอลลาร์แล้วผุ้บริหารระดับสูงเหล่านี้มีรายได้โดยเฉลี่ยราว 16 ล้านดอลลาร์ต่อปีเทียบกับแค่ 5 หมื่นดอลลาร์ที่ลูกจ้างทั่วไปได้รับ
บางคนคิดว่า การที่ผุ้บริหารระดับสูงเหล่านี้มีรายได้มากกว่าหลายเท่านั้นเป็นเรื่องธรรมชาิตที่เป็นไปตามหลักเศรษฐศาสตร์ทีตลาดแรงงานจะให้ค่าตอบแทนที่สุงกว่ากับแรงงานที่มีวามสามารถสูงกว่าและมีผลิตภาพมากกว่าแรงงานท่วไป และอาจมองได้อีกว่ารายได้และโบนคัสเหล่านี้เป็น "รางวัล" มีผุ้ประกอบสมควรได้รับ หารเป็นเช่นนี้จริงการไปลงโทษพวกเขาก้วยการไล่เก็บภาษีมากขึึ้นมากขึ้นนั้นเท่ากับเป็นการลแรงจูงใจนให้พวกเขาทำให้ทั้งบริษัทและเศรษฐฏิจมีการพัฒนาเติบโตขึ้น แต่ทว่าตัวเลข 300 เท่นนี้มีเหมาะสมกับสิ่งที่ผุ้บริหารระดับสุงทำให้กบบริษัทและเศณษฐกิจจริงๆ หรือไม่ หนื่องจากเศรษฐกจในปัจจุบันมีความซับซ้อนสูง จึงขอนำไปสู่เศรษฐกิจแบบง่ายๆ ก่อน
สมมติว่าเศรษฐฏิจนี้มีคนอยุ่แค 3 คน นาย ก. นายข. และนาย ค. ทุกวันทุกคนมีหน้าที่ออกไปล่าไก่ป่าซึ่งเป็นสินค้าชนิดเดียวในเศณาฐกิจนี้เพื่อเอามาเป็นอาหารประทังชีวิต ตอนเริ่มแรกไม่มีใครมีเครื่องมือใดๆ ต้องลาไก่ด้วยมือเปล่า ทั้บวันได้ไก่ป่าแค่คนละตัวเดียวเท่านั้น จากเช้าจรดเย็น 3 คนนี้จึงไม่ได้ทำอะไรเลยนอกจากล่าไก่ป่ามาเป็นอาหารเพียงเพื่อที่จะได้อยู่รอดไปถึงวันถัดไป สรุปคือเศณาฐกิจนี้ผลิตไก่ไปได้ 3 ตัวต่อวันด้วยคน 3 คน
ต่อมา นาย ก. เกิดมีไอเดียบรรเจิรขึ้นมาว่าจะทำกับดักหลุมพรางด้วยกิ่งไม้และการขุดดิน ปรากฎว่า "นวัตำรรม" หรือ "เทคโนโลยี" ที่นาย ก. คิดค้านขึ้นมานั้นสามารถทำให้นาย ก. จับไก่ได้วันละ 3 ตัว แทนที่จะเป็นแค่วันละตัวเดียว เที่ยบกัยเมืองวานกลายเป็นว่าเศราฐฏิจนี้สามารถผลิตไก่ป่าได้วันละ 5 ตัวด้วยคน 3 คนแล้ว (นาย ก.ส จับได้ 3 นาย ข. และนาย ค. จับได้คนละ 1) วัดถัดๆ ไปนาย ก. ก็จะเริ่มีเวลาว่างเอาไปทำอย่างอื่นได้โยไม่อดตายเพราะมีไก่เหลือจากเมื่อว่าและบางที่ไก่ป่าไก่ป่าก็เดินมตหลุ่มพรางเอง นาย ก. ซึ่งแต่เดิมเป็นผู้ชื่นชอบความงดงามของบทกวีอยุ่แล้วจึงสามารถใช้เวลาบางส่วนของวันไปเพื่อการแต่งกวี ทำให้เศราฐกิจชาวป่านี้นอกจากจะมีไก่เพิ่มขึ้นทวีคูณแล้วยังมีบทกวีเพิ่มขึ้นวันละบทอีกด้วย ไปเรื่องย นายก . อาจเสนอให้นาย ข. และนาย ค. เลิกจับไก่แล้วไปผลิตอย่างอื่น เช่น ไปหากล้าวมาแลกกับไก่ เป็นต้น พอเวลาผ่านไปหลายพันปี เศรษฐกิจก็จะซับซ้อนขึ้นเป็นแบบที่เห็ฯกันอยู่ทุกวันนี้
นี้คือคำอธิบายแบบสั้นๆ ว่าเศณาฐฏิจเติบโตได้อย่างไร
หากเหล่าผู้บริหารระดับสุงที่มีรายได้มากกวาลูกจ้างะรรมดา 300 เท่าสามาถทำให้ "พายเศรษฐกิจ" ก้อนนี้ขยายใหญ่ขึ้นหลายต่อหลายเท่าด้วยความสามาถของคนอยางที่ นาย ก. นำมาสู่เศราฐฏิจชาวป่า ทำไม่สังคมจึงจะมาประฌามเหล่าผุ้บริหารระดับสูงทั้งๆ ที่หลายคนในกลุ่มนี้ไม่เคยทำตัวให้เป็นภาระสังคมา แต่สังคมกลับไปแบกอุ้มคนที่ฐานะไม่ดีบางคนที่มีพฤติกรมเสี่ยง..
แต่ในทางกลับกันหากเราพิสูจน์ได้ว่าเหล่าผู้บริหารระดับสูงไม่ได้มีผลิตภาพมากว่าแรงงานปกติทั่วไป เป็นเพีงแรงงานธรรมดาๆ อย่างเช่น นาย ข. และนายค. แล้วเงินตอบแทนที่มากว่า 300 เท่ามัมาได้อย่างไรกัน
จุดสำคัญจึงอยุ่ตรงที่ว่ามันเป็นกรณี 1) ผู้บริหารระดับสุงเหล่านี้ได้รับรายได้สูงเพราะว่าตลาดแรงงานยอมจ่ายเพื่อแลกกับความสามารถของพวกเขาหรือว่าเป้นกรณี 2) ผู้บริหารระดับสุงเหล่านี้ใช้อำนาจของตำแหน่งของตนในการนำมาซึ่งรายได้อันมหศาลเกินกว่าที่เป้็นมุลค่าของความสามารถของเขา
กรณีที่ 2 นั้น Stiglitz เรียกมันเป้นพฤติกรรม "เร้นท์ ซีคกิ้ง" ซึ่ง "เร้นท์" ในที่นี้ไม่ได้จำกัดความไว้แค่ค่าเช่าอพาร์ตเมนต์หรือค่าเช่น แต่ "เร้นท์" เป้นคำที่นักเศรษฐศาสตร์ใย้แบบกว้างๆ เพื่อเรยกวถึงเวิน่วนเกินที่บริษัทหรือบุคคลได้รับเพียงเพราะว่าตลาดขาดความแขงขันอยางในตลาดที่มีผุ้ผลิตอยุ่ไม่กี่รย เช่น ตลาดการเงิน ตลาดยา ตลาดประกันสุขภาพ และตลาดโทรคมนาคม เป็นต้น เขายังมองว่ ในสังคมสมัยใหม่แทนที่คนเตาจะเอาเวลาและทรัพยากรไปพัฒนาเศราฐกิจทำพายทังก้อนให้โตขึ้นแบบที่ นาย ก. ทำให้เศรษฐกิจชาวป่าเติบโต กลับกลายเป็นว่าคนสมัยใหม่กำลังหมกมุ่นกับการแย่งชิงไต่เต้าขึ้นไปเป้นผุ้บริหารระดับสุงเพื่อขูดรีดแบ่งพายชิ้นใหญ่ขึ้นให้ตัวเองจากก้อนพายขนาดเท่าเดิม
บิล เกตส์ เองเคยออกมาปกป้องเหล่าผุ้บริหารระดับสุงที่ติด แรคกิ้ง ฟอร์บ 400 และเตือนว่าอย่าลืมไปว่าครึ่งหนึ่งในนั้นเป็นผุ้ประกอบการทีประสบความสำเร็จอย่างสูงด้วยตัวเองและได้นำมาซึ่งสินค้าและบริการที่โลก็ต้องการแต่จากกราฟด้านบนเราจะห้นวา่มันก็พอที่หลักฐานที่นาเชื่อถือได้พอประมาณที่บ่งบอกว่าสถานการณืในกรณีที่ 2 นั้นโดยเฉลี่ยแล้วอาจเป้นคำอธิบายที่น่าเชื่อถือว่ากรณีที่ 1 ในสหรัฐฯ เหตุผลก็คือ รายได้ของผุ้ประกอบการของบริษัททอป 350 เหล่านี้สุงกว่ารายได้ของกลุ่มคนทอป 0.1% นี้ได้มันมาเพราะความสามารถและผลิตภาพที่สูงกว่าคนปกติ แล้วอีก 6 เหล่าเท่าที่เกินมาสำหรับพวกผู้บริหาระดับสูงล่ะ มันจะมาจากไหนได้อีก นักวิเคราะห์ของ " สถาบัน เศรษฐศาสตร์ นโยบาย" มองว่าคนเหล่านี้ได้มาเพียงเพราะได้ครองตำแหน่งที่สามารถทำให้พวกเขาสูบ "เร้นท์" ออกมาได้สะดวกขึ้น..https://thaipublica.org/2015/12/settakid-16/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...