วันอาทิตย์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2561

Terrorism

           การก่อการร้าย เป็นคำที่ยังไม่มีการจำกัดความในกฎหมายอาญา ที่มีผลผูกมัตามกฎหมายและได้รับการยอมรับอยางสากล การจำกัดความโดบทั่วไปของการก่อการร้ายนั้นหมายถึงเพียงพฤติการณ์รุนแรงซึ่งมีเจตนาที่จะก่อให้เกิดความกลัวกระทำการเพื่อจุดประสงค์ทางศาสนา การเมืองหรืออุดมกาณ์อยางใดอย่างหนึ่ง เป็นการกระทำที่จงใจหรือไม่ใสใจต่อความปลอดภัยของผุ้ที่ไม่เกี่ยวข้อง(พลเรื่อน) และกระทดดยองค์กรที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐใดๆ
         "การก่อการร้าย" เป็นข้อกล่าวหาทางการเมืองและอารมณ์ ซ฿่งยิ่งเป้นการทำให้เการให้คำจำกกัดความที่แม่นยำยิ่งยากขึ้นไปอีก จากการศึกษาพบการจำกัดความ "การก่อการ้าย" มากกวา 100 แบบ แนวคิดของการก่อการร้ายนั้นอาจเป็นหัวข้อโต้เถียงด้วยตัวของมันเองเหนื่องจากมันถุกใช้อย่างบ่อยครั้งโดยหน่วยงานของรัฐเพื่อลดความชอบธรรมของศัตรูการเมืองหรืออื่นๆ และมีศักยภาพที่จะเพ่ิมควาชอบธรรมให้แก่รัฐในการใช้กำลังกับผู้ต่อต้าน ซึ่งการใช้กำลังเช่นนี้อาจถูกอธิบายว่าเป้นการสร้าง "ความกลัว" ขึ้นโดยศัตรูการเมืองนั้นด้วย
         การก่อการร้ายเป็นการกระทำ โดยองค์กรการเมืองอย่างกวางขวางเพื่อสนับสนุนเป้าหมายของตนเองซึ่งมีการดำเนินการทงพรรคการเมืองฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา กลุ่มชาตินิยม กลุ่มศาสนา แลุ่มปกิวัติ และรัฐบาบซึ่งปกครอง ลักษระทั่วไปคอการใช้ความรุนแรงอย่างขาดการพิจารณาต่อผุ้ทีไม่เกี่ยวข้องเืพ่อจุดประสงค์ในการเพ่ิมความเป้นที่รู้จักให้กับกลุ่มแนวคิด หรือบุคคลth.wikipedia.org/wiki/การก่อการร้าย
          ความเป็ฯมาของการก่อการร้าย
          ในอดีตรูปแบบการก่อการร้ายจะมีลักษระเป้ฯการกระทำที่โหดเหียมของนัรบทางศาสนาที่ังหารพลเรื่อน เช่นในศตวรรษที่ 1 ชาวปาเลสไตน์ และยิวหัวรุนแรง มักทำการฆ่าตัดคอชาวโรมต่อหน้าสาธรณะชน ในศตวรรษที่ 7 สาวกทูกกี ในอินเดียจับพวกเร่ร่อนไปสังหารเพื่อบูชายันต์ต่อพระกาลีของศาสนาฮินดู หลังจากศตวรรษที่ 19 การก่อการ้ยก็เข้าสู่ยุคใหม่ โดยรากของการก่อการร้ายยุคใหม่มีต้นกำเนินจากสงครามปฏิวัติ โดเฉาพะการปฏิวัติฝรั่งเสศ ที่ถูกเรียกว่าเป็นยุคแห่งความหวาดกลัวที่ฝ่ายปฏิวัติเชื่อ
ว่าวิะีการที่ทำให้เกิดความหวาดกลัวนำมาซึ่งอิสรภาพ ในขณะที่ฝ่ายรัฐบาลก็พยายาที่จะกำจัดฝ่ายตรงข้ามด้วยวิธีรุนแรง ดังเช่นการลงโทษด้วยเครื่องสังหารที่โหดเหี้ยมอย่างกีโยติน ต่อมาการก่อการร้ายยังได้รับอิทธิพลจากการกระตุ้นของ คาล์ค มาร์ก และ ฟริคดริช อีเกลส์ โดยประยุกต์การก่อการร้ายเป็นศิลปะการทำสงครามปฏิวัติ เืพ่อใช้กับการเคลื่อนไหวของกลุ่มสังคมนิยม ในการที่จะต่อต้านระบบผูกขาดของลัทธิทุนนิยม ซึ่งเริ่มที่จะปฏิวัติสังคมในรัสเซียในช่วงปี 1900-14
          หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การเกิดขึ้นของลัทธิต่อต้านจักรวรรด หรือลัทธิชาตินิยม และกลุ่มแบ่งแยกดินแดนทางเชื่้อชาติ ที่แพร่ออกไปอย่งกว้างขวางทั้งในทวีปเอเชีย อัฟริกา และประเทศในแถบตะวันออกกลาง เช่น ขบวน Irgun และ ขบวนการ ปาเลไรล์ ลิเบอร์เรชั่น ออแกนิเซชัน (พีแอลโอ) ในตะวันออกล่าง ขบวนการ อุสคาดิ ด้า อัสคาทาสุนะ (อีทีเอ) ในสเปน, กลุ่ม เจมา อิสะลามิยะ (เจไอ) และ ปรี เอคซ มูฟเม้นต์ (จีเอเอ็ม) ในอินโดนีเซีย ขบวนการ โมโร อิสลามิค ลิเบอร์เรชัน (เอ็มไอแลอเอฟ) ในฟิลิปปินส์ ขวบนการ แคมพูแลน มิลิแทน มาเลเซีย (เคเอ็มเอ็ม) ในมาเลเซีย ขบวนการ ฟรอนส์ ดิ ลิไบเรชั่น ดู เคอค'เบค (เอฟแอลคิว) ในแคนาดา และกลุ่ม ดมลุกะ ซึ่งกลุ่มเหล่านี้ได้ก่อตั้งขึ้นด้วย
วัตถุประสงค์ต่างๆ เช่นเพื่อต่อต้านการปกครองจากมหาอำนาจตะวันตก หรือเพื่อการต่อสู้เพื่อความถุกต้องทางการเมือง ทั้งนี้การต่อสู้ในลักษระที่เป็นการต่อสู้เพื่ออิสรภาพ และเพื่อเรียกร้องสิทะิในการตัดสินใจด้วยตนเอง มัจะได้รับการเห็นใจจากสังคมโลก และยอมรับว่าการกระทำในลักษณะนี้ไม่ใช่การก่อการราย แต่เป็นการกระทำของนักสู้เพื้ออิสรภาพ
           ในปัจจุบันการก่อการรร้ายมีการเปลี่ยนแปลงไปจากการก่อการร้ายในอดีตที่มีการปฏิบัติอยู่แต่ภายในประเทศไปสู่การปฏิบัติการในระดับสากล วิวัฒนาการของการก่อการร้ายทำให้กิดเครื่อข่ายที่ขยายไปอยางไม่มีขบเขตเช่นเดยวกับโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ทำให้การก่อการร้ายได้แพร่ออกไปอย่างกว้างขวางทั่วทุกมุมดลก รวมท้งเหตุที่ชาติตะวันตกได้ดำเนินนโยบายต่างประเทสในรูปแบบที่เรียกว่การสมรุ้ร่วมคิดกันอย่างกว้างขวางระดับโลก เพื่อแสวงหาและนำมาซึ่งความร่ำรวยให้แก่ประเทสของตน ดังนั้นประเทศต่างๆ ที่ถุกเอารัดเอกเปรียบแบบไม่มีทางสู้จึงต้องเลือกวิธีการต่อสู่โดยใช้การก่อการร้าย และผลักดับให้เกิดเป็นการก่อกรรร้ายรูปแบบใหม่ที่มีการสนับสนุนจากรัฐ ดยเฉพาะปัจจุบันประทศอิหร่าน ลิเบียและซีเรีย นับเป็นประเทศเบื้องหลังที่ได้เขามาตอสุ้กับกลุ่มประเทศตวะันตก
แทนกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ที่ล่มสลายไป แต่เนื่องจากประเทศเหล่านี้ไม่มีศักยภาพทางทหารพอที่จะเที่ยวได้กับมหาอำนาจจากตะวันตกจึงต้องหาวิธีการตอสู้ที่จะทำให้รัฐที่อ่อนแอกว่าสามารถเผชิญหน้าศัตรูที่มีอำนาจมากว่าดดยไม่ต้องเสี่ยงกับการถุกตอบโต้ วิธีการสนับสนุนขบวนการก่อการร้ายอยางลับเช่นนี้เป้นสงครามที่เรียกว่าสงครามซ่อนเร้นหรือสงครมตัวแทน
          การก่อการร้ายในยุคใหม่ถึงจะมีการสนับสนุนจากรัฐ แต่ขบวนการก่อการร้ายเองก็มีการปฏิบัติการและการบริหารองค์กรที่ไม่ขึ้นกับการควบคุมจากรัฐที่ให้การสนับสนุน รวมทั้งมีการบริหารจัดการเครื่องข่ายที่นอกจากจะมีความแยบยลบในระดับสากลแล้ว ยังมีการบริหารจัดการชั้นสูงและซับซ้อนโดยอาศัยยกลยุทธ์ในการหาสมาชิกเช่นเดียวกับธุรกิจขายตรงที่มีอุดมการณ์เป็นผลิตภัฒธ์ เมื่อสมาชิกยินยอมซือผลิตภัฒฑ์ก็จะได้รับกาฝึกลยุทธการขายที่แทนด้วยยุทธวิธีการก่อการ้ายโดยมีการพัฒนาให้มีการใช้เทคโนโลยีในพื้นที่ รวมทั้งมีมีการฝึกผู้ที่เป็นสมาชิกโดยการส่งไปผอบรมตามสูน์เครื่อข่ายในพื้นที่และสูนย์ระดับนานาชาติที่อยุ่ในประเทศอย่างเช่น ลิเบีย ซีเรีย ซุดาน อัฟกานิสถาน โซมาเลีย และปัจจุบันคาดว่าได้มีการเกิดศูนย์ฝึกใหม่ที่มีสนามฝึกที่สมบูรณ์ทันสมัยเสมือนจริงคือศุนย์ในอิรัก
          จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้ขอบเขตของการก่อการร้ายเปลี่ยนจากเหจุกาณ์รุนแรงที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งทางเชื้อชาติหรือการเมืองที่ไม่ไปสู่เหตุการณ์ที่ประกอบด้วย องค์ประกอบที่หลากหลายมากขึ้น มีการนำการก่อการร้ายไปเป็นความขัดแย้งระหว่างกลุ่มไม่ใช่รัฐและกาาร่วมมือกันอย่างกว้างขวางกระจายไปทั้งจนเป็นความเคยชินที่ผุ้ก่อการร้ายไม่จำเป็นต้องปกปิดชื่อกลุ่มตนเองว่าเป็นกลุ่มก่อการ้าย หรือการประกาศว่ากลุ่มของจะใช้ยุทธวิธีก่อกรร้าย ในขณะที่ในยุคก่อนๆ จะหลักเลี่ยงที่จะเปิดเผยตนเอง
           จากประวัติศาสตร์ของการเกิดการก่อการร้ายตั้งแต่อดีตมีสิ่งหนึ่งที่ไม่มีการเปลี่ยนแลงคือการก่อการร้ายได้ไดเป็นวัตถุประสงค์สุดท้ายที่ทำไปเพียงเื่พื่อกการำร้ายและสร้างคามหวากกลับต่อประชาชน แต่จะมีวัตถุประสงค์อื่นที่เป็นจุดมุ่งหมายสุดท้ายของขบวนการ ไม่ว่าจะเป้นการแบ่งแยกดินแดน การให้ได้มาซึ่งเสรีภาพ หรือการปกป้องอุดมการณ์และศาสนา ดังนั้นการก่อการร้ายจึงเป็นวิธีการหนึ่งของการทำสงครามที่ไม่แตกต่างไปจากวิะีการใช้กำลังทางทหารเข้าโจมตี
         
เมื่อพิจารณาว่าปัจจุบันไม่มีกาเผชิญหน้าระหว่งขั้วมหาอำนาจเ่นในยุคสงครามเย็นมวลมนุษย์ชาติก็น่าจะได้รับการผ่อนคลายจากถัยสงครามได้ รวมท้้งจากชยชนะของฝ่ายเสรีประชาธิปไตยก็น่าจะเป็นเครืองประกันการที่โลกจะเข้าสู่ยุคสันตุอย่างแท้จริง แต่ในความเป็นจริงความมั่นคงโลกย บังคงต้องเผชิญกับภับคุกคามจากกลุ่มก่อการร้ายที่มีอยู่ในประเทสต่างๆ ทั่วโลก ...
               - บางส่วนจาก บทความ "การก่อการร้ายในมิติการต่อสู้แบบทหาร"  โดย นาวาเอกกิตติพงษ์ จันทร์สมบูรณ์
           แนวโน้มการก่อการร้ายโลก
           ข้อแตกต่างประการหนึ่งระหว่างกลุ่มอัลไกดา กับ "ไอเอส" ในแงของปฏิบัติการ่ก่อการรุนแรงคือ ในขณะที่อัลไกดามุ่งเป้าโจมตี ศัตรูทางไกล อันหมายถึงมหาอำนาจและชาติพันธมิตรตะวันตกเสียเป็นส่นใหญ่ แต่กลุ่มไอเอสกลับเปิดศึกทั้ง 2 ด้านไปพร้มๆ กัน ทั้งศัตรูทางไกลและศัตรูทางใกล้ อันหมายถึงกลุ่มประเทศมุสลิมที่ไอเอสมอง่ามีรัฐบาลนอกรีต ไม่ทำตามหลักการศาสนา
           ด้วยเหตุนี้ การตั้งรรัฐอิสลามของไอเอสขึ้นมาพร้อมกบการสถาปนาเคาะลีฟะฮ์ จึงไม่ได้กล่ายเป้นภัยคุกคามต่อตะวันตกเท่านั้น แต่ยังเป็นภัยคุกตามและความท้ำายต่อดลกมุสลิมในภาพรวอมอีกด้วย ภัยคุกคามอย่างใหย่หลวงต่อโลกมุสลิมอาจดุได้จากสถิติการก่อการร้ายของไอเอสที่สำนักข่าวซ๊เอ็นเอ็นได้รวบรวมไว้เกี่ยวกับปฏิบัติการของไออสนอกพื้นที่ซีเรียและอิรัก
            ข้อมูลระบุว่านับตั้งกลุ่มไอเอสประกาศตังวป็นรัฐอิสลามเมื่อ มิถุนายน 2014 กลุ่มนี้ได้ก่อเหตุไปแล้วรวม 75 ครั้ง ใน 20 ประเทศทั่วโลก โยมีผุ้เสยชีวิตอย่างนอ้ย 1,280 คน บาดเจ็บอีกว่า 1,770 คน พื้นที่ก่อเหตุส่วนใหญ่เป็นประเทศมุสลิมและผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บส่วนใหญ่ก็เป็นผู้นับถือศษสนาอิสลาม
            ที่น่าสนใจคื อซีเอ็นเอ็นได้แ่บ่งประเภทการก่อการร้ายของกลุ่มไอเอสเป็น 2 แบบ คือ การก่อการร้ายโยมาชิกของกลุ่มหรือสาขาของกลุ่มตามดินแดนต่างๆ และากรก่อการร้ายดดยบุคคลที่ได้ับแรงบับดางใจจากลุ่ม ไอเอส จากสถิติที่ซีเอ็นเอ็นให้ไว้พอสรุปป็นแนวโน้มการก่อการร้ายตามที่ รุสตั้ม หวัสู นักศึกษาปริญญาเอกมหาวิทยาลัยมุสลิมอาลีการ์ ประเทศอินเดีย ไ้แสดงความคิดเห็นเอาไว้อย่างน่าสนใจว่า
           
- พื้นที่เป้ากมายหลักในการก่อการร้ายดยกลุ่มไอเอสคื อกลุ่มประเทศตะวันออกกลาและแอฟริกาเหนือและทวิปยุโรป
            - การก่อการร้ายโดยตรง หรือจากลุ่มสาขาของไอเอสมีจำนวนครั้งมากกว่าเหตุก่อการร้ายยบุคคล กลุ่มบุคคลที่ได้รับแรงบันดาลใจจากลุ่มไอเอสโดยเแพาะกลุ่มประทเศตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ส่วนในทวีปอื่นๆ นั้น การก่อการร้ายส่วนใหญ่กระทำใดดยบุคล/ กลุ่มบุคคลที่ได้รับแรงบันดาลใจจากลุ่มไอเอส
            - การก่อการร้ายโดยกลุ่ม ไอเอส คุกคาม ประชาชนทุกศาสนา ไม่ว่าจะเป้นเหตก่อการร้ายในฝรั่งเศสที่ีผุ้เสียชีวิต 130 ศพ หรือเหตุระเบิดสองมัสยิดในเยเมนที่มีผุ้เสียชีวิต 137 ศพ เหตุระเบิดในตุรกี ซึ่งมีผุ้เสียชีวิต 97 ศพ เหตุระเบิดเครืองบินรัสเซียนเหนือน่านฟ้าอียิปต์ ซึ่งมีผุ้เสียชีิวิต 224 ศพ เหตุระเบิดในเลบานอน ซึ่งมีผุ้เสียชีิวิต 43 ศพ
          - ประเทสที่มีสาขาหลักของกลุ่ม ไอเอส อย่างอียิปต์ ลิเบีย เยเมน เสี่ยงต่อภัยคุกคามจากการอ่การร้ายมากที่สุ ด กรที่กลุ่มไอเอสเร่ิมเสียฐานการยึกครองและปฏิบัติการในซีเรียและอิรัก ทำให้มีแนวดน้มที่กลุ่มไอเอสจะปกิบัตการในพื้นที่อื่นๆ มากขึ้น ซึ่งทำให้ไอเอสยังคงยึกหน้าหลักในกระแสข่าวการก่อการ้าย
          - ูปแบบการก่อการร้ายไดเปลี่ยนไปจากการเน้นก่อเหตุรุนแรง หวังจำนวนผุ้เสียชีวิจำนวนมากว่งแยผนาน อย่างที่กลุ่มอัลไกดาเคยทำ มาเป้นการก่อการร้ายที่มีรุปแบบที่ยืดหยุ่น เน้นระเบิดพลีชีพ ในขำนวนผุ้ก่อเหตุและวบประมาณไม่มากอย่างที่กลุ่มไอเอสทำhttp://www.komchadluek.net/news/politic/225904
           "ก่อการร้ายในยุโรป" กับการ "ชั่งน้ำหนักเสรีภาพ และความมั่นคง
            การเปิดเสรีภาพทางพรมแดน ภายใต้กลุ่ม เซงเก้น ของ 26 ประเทศในภุมิภาคยุดรป ให้ประชาชนสามารถเดินทางข้ามรพรมแดนได้อย่างอินระน้้น เป้นสัญลักษรณ์แห่งเสรภ่พในดินแนดตะวันตกแห่งนี้มาอย่างยาวนาน
         
ในแต่ละวันประชาชนนับล้านข้ามพรมแดนประเทสหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง ระบบที่มีอายุยาวนานถึง 31 ปี หลอมรวมประชาชนจำนวน 400 ล้านคนเข้าด้วยกัน กระตุ้นเศราฐฏิจสร้างเงิน สร้างงานในเขตเศรษฐกิจท่ใหย๋ที่สุดในโลกแห่งนี้ได้อย่งมหาศาลทว่า ในช่วงที่ผ่านม ท่ามกล่างภัยก่อการร้ายที่ลุกลามไปทั่วดลก การเปิเสรีัดงกล่ากลัลกลายเป้น "จุดอ่อน" ที่สร้างหายนะ หลังเหตุการณ์คนร้ายขับรุบรรทุกพุ่งชนตลดคริสต์มาส ในกรุงเอบร์ลิน ประเทศเยอมรนี เมื่อวันที่ 19 ธันวาคมที่ผ่านมา ส่งผลให้มีผุ้เสียชีวิตนับสิบราย "อานิส อัมรี" กลับสามารถเดินทางข้ามแดนได้ถึงสองประเทศโดยไม่ถุกตรวจพบ
           อัมรี เป็นผุ้อพยพผิดกำมหายจากตูนีเซียเข้าสุ่ภูมิภาคยุโรป และอยุ่ในรายชือผุ้ที่ต้องเผ้าระวังของทางการเยอมนร หลบหนีการจับกุมอยุ่ไดเป้นเวลากว่า 3 วัน ลอบเข้าประเทศฝรั่งเศสพร้อมปืนพก ลอบผ่านเข้าชาแดนอิตาลีก่อจะต้องสะดุดกับด่านตรวจเอกสารประจำควที่ตั้งขึ้ตรมปรกดิใน กรุงมิลาน จุดที่อัมรี เปิดฉากยิงต่อสุ้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจจนเสียชีวิต
          การเล็ดลอดสายตาเจ้าหน้าที่ของอัมรี สร้างควมอับอายให้กับทางการเยอมรนี ฝรังเศส และอตลี สามาประเทศทางผ่านขอผุ้ต้องสงสัยก่อการร้ายเบอร์ 1  ในยุโรปในเวลานั้น
          โดยเฉาพะอย่างยิ่งประเทศฝรั่งเศส ประเทศซึ่งอยู่ระหว่งการเผ้าระวังสุงสุดหลังเหตุดจมตรกรุงปารีสเมื่อปีที่ผ่านมา
           ไบรซ์ เอด รายเวอร์ ผุ้เชีย่ยวชษญกฎหมายชาวเบลบเยียม จากมหาวิทยาลัยเกนต์ ระบุว่า ประชาะิไตยในยุดรปนั้นมีปัญหาในระดับพื้นฐานอยู่ เพราะรพบบกำมายมุ่งเน้นไปที่การลงโทผุ้ก่อกาชญา
กรรมมากว่าที่จะป้องกันการเกิดอาชญากรรม ขณะที่เจ้าหน้าที่ตำรวจ และหน่วยข่าวกรองให้ความสำคัยกับผุ้ต้องสงสัยที่มีภุมิหลังชัดเจนอย่างผุ้จัดหานักรบไอเอส หรือนักรบไอเอสที่เดนทากลับจากซีเรียและอิรักทไใก้ผุ้ต้องสงสัยที่มีประวัติน้อยกวาถุกมองข้ามไป "เสรีภาพไ ที่ดุเหมือนจะกล่ายเป็นควา "หละหลวม" ส่งผลให้เกิดการถกเถียงในหมู่นักากรเมืองยุดรป ด้วยเช่นกัน..
         อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ครั้งนี้ก็ยังำให้ นายกรับมนตรีอยเมนรี ผุ้ยืนยันในหลักการของอีู และสนับสนุนาการับผุ้ลี้ภัยสงครามซีเรีย ต้องตกที่นั่งลำบาก ท่ามกล่างกระแสต่อต้านผุ้อพยพ และการแสต่อต้านอำนาจเก่าแพร่กระจายไปทั่วยุโรป
         ส่งผลให้สถานการณ์การเลือกตั้งเยอรมนีของแมร์เคิล ที่จะมีขึ้นเริ่มไม่แน่นอน ความมั่นคง และการอพยพย้ายถ่ินจะเป็นประเด็นหลักสำคัญที่จถุกพูดถึงในการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นใน "เยอมนี" ฝรั่งเศส" และ"เนเธอร์แลนด์" สามประเทศสมาชิกผุ้ร่วมก่อตั้งอียู ในปี 2017 นี้อย่างแน่นอน ขณะทีความหวาดกลัวภัยก่อการร้ายนั้นอาจส่งผลให้ฝ่ายค้านใน "อิตาลี" เรียกร้องให้มีการเลือกต้งที่เร็วขึ้นหลักวิกฤตการเมื่อในประเทศ...https://www.matichonweekly.com/column/article_19959
             

วันเสาร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2561

Cyber Crime

          อาชญากรรม(ทาง)คอมพิเตอร์ หรือ อาชญากรรมไซเบอร์ หมายถึงอาชญากรรมใดๆ ที่เกี่ยว้องกับDr. Debarati Halder และ Dr. K. Jaishankarได้ยิยามอาชญากรรมไซเบอร์ไว้ว่าเป็น "ความผิดที่กระทำขึ้นต่อปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล ด้วยเหตุจูงใจทางอาญา ที่เจตนาทำให้เหยื่อเสื่อเสียชื่อเสียง หรือทำร้ายร่างกายหรือจิตใจของเหยื่อ โดยทางตรงหรือทางอ้อม โดยใช้เครื่อข่ายโทรคมนาคมสมัยใหม่ อาทิ อินเทอร์เน็ต ผป้องแช็ต อีเมล กระดานประกาศ และกลุ่มข่ายป และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (เอสเอ็มเอส/เอ็มเอ็มเอส) อาชญากรรมเช่นั้นอาจคุกคามความมั่นคงและสภาวะทางการคลังของรัฐ ปัญหารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมชนิดนี้ได้กล่ายมาเป้นปัญหารสำคญ โดยเฉพาะทีเกี่ยวข้องกับ การเจาะระบบเครื่อข่าย การละเมอดลิขสิทธิ์ สื่อลามกอนาจารเด็ก และการล่อลวงเด็ก นอกจานี้ยังมีปัญหาเรื่องความเป็นส่วนตัว เมื่อสารสนทเศที่เป็นความลับถุกสกัดกั้นหรือถูกเปิดเผย โดยทางกฎหมายหรือไม่ก็ตาม     
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
คอมพิวเตอร์ และเครื่อข่ายอมพิวเตอร์ อาชญากรรม(บน)อินเทอร์เน็ต ก็เป็นอีกคำหนึ่งซึ่งหมายถึงการแสดงหาผลประดยชน์อย่างผิดกฎหมายบนอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์นั้นอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือก่ออาชญากรรม หรืออาจตกเป็นเป้าหมายของการกระทำก็ได้
            อาชญากรรมออนไลน์ Cyber Crime หรืออีกหลายๆ ชื่อเรียก เป็นการกระทำที่ผิกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้มมูลที่ยู่บนระบบดังกล่าว สวนในมุมมองที่กว้างหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครื่อข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนีไม่ถือเปนอาชญากรรทางคอมพิวเตอร์ดดยตรง
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
             ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผุ้กระทำผิด ซึ่งจึดขึ้นที่กรงุเวียนนา เมื่อ เมษายน ปี พ.ศ. 2543 ได้มีการจำแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเช้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต  การสร้างความเสียหายแก่ข้อมุลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การก่อกวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การบังยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครื่อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์
            โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจมกรรมทรัพย์สินทางปัญญา พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมมุล และค้นคว้าเกี่ยวักบอาชญากรรมทางคอมพิเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บิรโภค นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เผยแพร่ความรุ้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนธยบายปัจจุบันและความพยายามในการแก้ปัญหานี้
            อาชญากรรม ^ ประเภทดังกล่าวได้แก่
            1. การเงิน อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถของอค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรมอิคอมเิร์ช(หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)
            2. กาละเมิดลิขสิทธิ์ การคัดลอกผลงานที่มีลิชสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอิทเทอร์เทอร์เน็ตถูกมช้เป็นสื่อในการก่อาชญากรรม แบบเก่า ดดยการไจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดย ที่เกี่ยวขอ้งกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำหน่าายหรือผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้ับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
         
 3. การเจาะระบบ การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครื่อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาตและในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)
           4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวากดล้วเช่น เดียวกับการก่อการ้ายทั่วไป โดยการกระทำให้เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e3terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาะระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุุนแรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว
          5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ ตามข้อกำหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A  การประมวลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกำหนด 47 USC 233 การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกรทำที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สำหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั้งโลและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้อ่กให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
        6. ภายในโรงเรีย ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสำหรับการศึษาและสันทนาการ แต่เยาชนจำเป็นต้องได้รบทราบเีก่ยวกบวิะีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระต้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกบข้อกำหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีเหมาะสนในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิดhttps://www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx
           hacker นักเลงคอมพิวเตอร์ หมายถึงผุ้เชียวชาญในสาขาคมอพิวเตอร์ด้วย โดยเฉพาะผู้ที่มีความรู้ในรายละเอียด หรือผู้ที่มีความเฉลี่ยวในการแก้ปัญหาจาข้อจำกัด ความหมายที่ใช้ในบริบทของคอมพิวเตอร์นั้นได้เปลี่ยนแปลงไปจากความหมายดั้งเดิม ดดยผุ้ใช้คำในช่วงหลังนั้นได้ใช้ในกความมหายที่กว้างออกไป รวมทั้งในบางครั้งยังใช้นความมหายที่ขัดแย้งกัน
         
ในปัจจุบัน "นักเลงคอมพิวเตอร์" นั้นใช้ใน 2 ความหายหลัก ในทางทีดี และไม่ดี ความมหายที่เป็นที่นิยมและพบได้บ่อยในสื่อนั้น มักไม่ดีี ดดยจะหมายถึง "อาชญากรคอมพิวเตอร์" ส่วนในทางที่ดีน้ั้น "นักเลงคอมพิวเตอร์" ยังใชในลักษณะของคำติดปาก หมายถึง ความเป็นพวกพ้อง หรือสมาชิกของกลุ่มคอมพิวเตอร์ และยังใข้หมายถึงกลุ่มของผุ้ใช้คอมพิวเตอร์ดดยเฉาพะโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถในระดับผู้เชียวชาญ
          จากความหายที่แตกต่างข้างต้น จะเห็นได้ถึงความขัดแย้งในการใช้คำ บางกลุ่มที่ใช้คำนักเลงคอมพิวเตอร์นี้เพื่อเรียกกลุ่มของตน ก็ไม่ชอบที่คำนี้ถุกใช้ในความมหายที่ไม่ดี และแนะนำให้ใช้คำอื่น เช่น แบล็กแฮต หรือแคร็กเกอร์ เพื่อเรียกวอาชญากรคอมพิวเตอร์แทน ส่วนผุ้ที่ใช้คำนีในความหมายที่ไม่ดี ซึ่งเป้นความหายที่นิยมใช้กันนั้น ให้ความเห้นถึงความหมายในทางที่ดี นั้นนอกจากจะก่อให้เกิดความสับสนแล้วดุเหใือนว่าจะไม่เป้นนิยมอีกด้วยhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
           Cyber War โลกไซเบอร์หรือ Cryberworld คำนี้นักวิจัยชาวญี่ปุ่น ได้เสอนไว้ตั้งแต่ปี 1998 และกลายเป็นภาพยนต์ที่ประสบความสำเร็จมากเรื่องหนึ่งในปี 2000 โลกไซเบอร์ประกอบด้วยส่วนที่สร้างขึ้นแบบจงใจให้เป็น และส่วนที่เกิดขึ้นเองแบบธรรมชาติเป้นดลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่เป็นได้ทั้งแบบเสมอืคือไม่จริง และจริง รวมถึงแบบผสม คือมีทั้งจิรงและไม่จริง เช่นการใช้ภาพเสมือนร่วมกับภาพจริงในการเพ่ิมข้อมูลข่าวสารเพื่อประโยชน์ด้านใดด้านหนึ่ง
       
โดยทั่วไปข้อมุลข่าวสารในโลกไซเบอร์นั้นจะเป้ฯการผนวกรวมเอาข้อมุลเชิงพื้นที่ หรือเชิงกายภาพ เช่นภาพสถานที่ สิ่งของเครื่องใช้ เข้ากับข้อมุลข่าวสารอื่นๆ ที่เราใช้งานกันไม่ว่าจะเป้นข้อมุลบุคคลบัญชีการเงินสุขภาพ เป้นต้น ทำให้เกิดยุค "อี" หรืออิเล็ทรอนิกส์ต่างๆ ที่เราใช้งานกัน เช่นธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส์ หรืออีบีซเนส อีคอมเมิร์ซ อีเลิร์นนิง เป้นต้น ไม่เียงแต่ดลกจริงๆ ของเราที่ำลังมีการลบหรือกรทะบกระทั่งกันอยู่ตอนนี้ ในโลกเสมือนเองก็มี "สงครามไซเบอร์" หรือ "ไซเบอรวอร์" เหมือนกัน โดยการทำสงครามไซเบอร์นั้นมัหมายถึงการบุกรุก เข้าไปโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร หรือดจมตีระบบสาธารณูปโภคที่เชื่อมต่อกับโลกไซเบอร์ บริษัทไมโครซอฟท์ได้แบ่งออกเป็น
        - การโจรกรรมข้อมุลทางการทหาร
        - การโจรกรรมทางคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไป
         - ทางเศรษฐกิจ และ
         - การก่อการร้ายทางไซเบอร์
        ตัวอย่างของสงครามไซเบอร์เช่น การเข้าไปล้วงข้อมูลเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือทางการตลาด การบิดเบือนแก้ไขข้อมูลภาพเพื่อสร้างเรื่องเท็จ หรือการโจมตีระบบสาธารณูปโภคที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้จากที่ประชุมสมัชชาความมั่นคงไซเบอร์ของโลกปี 2010 นั้นระบุว่าปัจจุบันมีสงครามไซเบอร์เกิดขึ้นhttps://www.itgenius.co.th/article/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C.html
มากมายตั้งแต่ความพยายามโจมตีเว็บไซต์ของรัฐในอเมริกาและเกาหลีใต้ในช่วงฤดูร้อนปีที่แล้ว หรือ การที่มีสายลับเจาะระบบจ่ายไฟฟ้าในอเมริกาเพื่อก่อกวนการจ่ายไฟ ทั้งหมดนี้ก่อให้เกิดควาเมสียหายทางเศรษฐกิจ สังคมและชวิตมนุษย์อย่างใหญ่หลวง รวมถึงอีกหลายๆ กรณีในบ้านเราเองทีทุกคนคงรับรุ้อยุ่แล้วบ้างไม่มากก็น้อยแม้คำว่า "สงคราม" จะดูเป็นเรื่องระหว่างประเทศ หรือ ระหว่างรัฐแต่สงครามไซเบอร์นั้นเป้นการต่อสู้ระหว่างทุกกลุ่ม ไม่ว่าเป้นระหว่างบุคคล องค์กร สภาบัน หรือรัฐ...
       

วันศุกร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2561

Exchange rate

         
 ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
           1) the fisher effect
            "อัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงิน ของแต่ละประเทศ จะเท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง บวกด้วยอตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในประเทศนั้นๆ"
             นักเศรษฐศาสตร์ เออร์วิง ฟิชเชอร์ ใด้เสอนแนวคิดนี้ขึ้น เพื่อใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตราเงินเฟ้อของสองประเทศ โดยมีหลักการว่ อัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงินในตลาดเงินของแต่ละประเทศนั้น จะประกอบด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่นักลงทุนต้องการบวกด้วยอัราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในตลาดเงินของประเทศนั้น ๆ ทั้งนี้ หลักการของทฤษำีสามารถสแดงความสัมพันะ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ดังนี้นี้
            อัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะเกิดขึ้น = อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่นักลงทุนต้องการ + อัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงินจะเเปรผันโดยตรงตามอัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะเป็นในแต่ละประเทศ ดังนั้น ประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อสูงจึงควรมัีอัตราดองกเบี้ยทีี่เป้ฯตัวเงินสุงกว่าอีกประเทศหนึ่งที่มีอัตราเงนเฟ้อต่ำกว่าดดดยเปรียบเที่ยบ
             เมื่อพิจารณาส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงกับอัตราเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นในแต่ละประเทศ ช่วง ปี พ.ศ. 2546-2550 แล้วดดยสภาพรวมจะเห้นว่าอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงของประเทศไทย สหรัฐอเมริกา ประเทศกลุ่มยูโรโซน สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ มีระดับอัตราดอกเบี้ยอ้างอ้ิงที่เพ่ิมสูงขึ้น ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับอัตราเงินเฟ้อที่เพ่ิมขึ้น อาทิเช่น อัตราดอกเบี้ยองประเทศไทยที่การปรับเพ่ิมขึ้น และอัตราเงินเฟ้อมีการปรับเพ่ิมขั้น อย่างไรก็ตามแม้วววาระดับอัตราเงินเฟ้อของประเทศจินมีการกรับเพ่ิมขึ้น หากแต่ระดับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงขปงระเทศจีนและอินเดียที่เกิดขึ้นอยุ่ในอัตราดคงที่ ทั้งนี้เพนื่องมาตสากนโยบายการตรึงระดับอัตราดอกเบี้ยของทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า อัตราดอกเบี้ยที่เป้นตัวเงินจะแปรผันโดยตรงตามอัตรา เงินเฟ้อ สอดคอ้งกับหลัการ
           2) The International Fisher Effect
           การเชื่อมโยงทฤษฎี the fisher effect กับทฤษำีอำนาจซื้เสมอภาคแบบเปรียบเทียบโดยอาศัยควมแตกต่างของอัตราเงินเฟ้อระหว่างสองประเทศเป็นตัวกล่าง เป็นที่มาของทฤษฎี The International Fisher Effect ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและอัตาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยหลักากรของทฤษฎีนี้กล่าวไว้ว่า
           "ความแตกต่างของอัตราดอกเบียที่เป้นตัวเงิน ในตลาดเงินสองประเทศ จะเท่ากับเปอร์เซ็ฯต์การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินสองสกุลั้น แต่มีเครื่องหมายหรือทิศทางตรงกันข้าม"
         
 จากทฤษฎี เงินตราสกุลที่มีอัตราดอกเบี้ย ต่ำกว่าโดยเรปีบเทียบจะมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินตราสกุลที่มีอัตราดอกเบี้ยสุงกว่าเนื่องจากในมุมมองนักลงทุนแล้ว หากสกุลเงินของประเทศที่ไปทำการลงทุนไว้มีแนวโน้มอ่อนค่าลง นักลงทุนยินยอมเรียกร้องการชดเชยผลขาดทุนที่อาจจะเกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยเงินตราในรูปของดัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าดดยเปรียบเทียบ เพื่อให้ได้รับอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงเท่ากับการไปลงทุนในประเทศที่มีแนวโน้มว่าค่าเงินจะแข็งขึ้น..อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยอัตราดอกเบี้ยซึ่งเป็นปจััยที่อธิบายเงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศส่งผบลต่อทิศทางการเปลี่ยนแปลงของเงินบทสอดคล้องกับหลัการของ The International Fisher Effect
          3) ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค The Interest Rate Parity
           ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสอมภาคกล่าวไว้ว่า "เปอร์เซ็นต์ความแกตกต่างของอัตราดอกเบี้ยระหว่างสองประเทศ จะเท่ากับเปอร์เซ็นต์ส่วนเพ่ิมหรือส่วนลด ของอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของเงินสองสกุลนั้น แต่มีเครื่องหมายหรือทิศทางตรงกันข้าม"
            ดังนั้น ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคจึงอธิบายความสัมพันะ์ของอัตราดอกเบี้ยระหว่างสองประเทศกับอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าของเงินสองสกุลนั้น โดยมีข้อสมมติฐานเพ่ิมเติมว่าการเคลื่อนย้ายเงินทุนเป็นไปอย่างเสรีไม่มีต้นทุนในการทำธุตกรรม ไม่มีภาษี และไม่มีความเสี่ยงทางการเงินจากหลักการของทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคดังกล่าวข้องต้น
           ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่นแปงในราคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 

           1. ทฤษกีความเสมอภาคของดอกเบีย แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านอัตราดอกเบี้ยที่มีผลต่อการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนของเงินสกุลหนึ่งเมื่อเทียบกับอีกสกุลหนึ่ง โดยผลตอบแทนที่ได้จากเงินทุนในรูปบัญชีเงินฝากจะขึ้นอยู่กับปัจจัยสองปัจจัย คือ อัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยน IRP เป็นการเปรียบเทียบบัญชีเงินฝากในรูปเงินสกุลสองสกุล ที่หากปัจจัยด้านดอกเบี้ยทำให้ผลตอบแทนในรูปของบัญชีเงินฝากนั้นแตกต่างกันแล้ว จะทำให้เกิดการไหลของเวินทุนสกุลหนึ่งที่ให้ผลตอบแทนน้อยไปยังอีกสกุลหนึ่งที่ให้ผลตอบแทนมากกว่าอยางมาก จนกระทั่งผลตอบแทนตระหว่างเงินสองสกุลจะเท่ากัน ดดยค่าเงินสกุลที่ให้ผลตอบแทนต่ำกว่าจะอ่อนค่าลงจนเข้าสู่ระดับที่มีความเสมอภาคของอัตราดอกเบีย นั่นเอง ซึงทฤษณีอยู่ภายใต้ข้อสมมติว่าไม่มีการพิจารณาเรื่องต้นทุนในกา่รทำธุรกรรม และสินทัรพย์นั้นมีความเสี่ยงและสภาพคล่องในระดับเดียวกัน
            ที่ ทฤษฎีนี้ ไม่เป็นความจริง ก็คือระดับที่อัตราผลตอบแทนที่ได้รับในรูปเงินบาทไม่เท่ากับอัตราผลตอบแทนที่ได้รับในรูปเงินดอลลาร์
           หากอัตราดอกเบียประเทศเพิ่มสูงขึ้นทำให้อัตราผลตอบแทนที่ได้รัีบในรูปเงินบาทมากกว่าอัตราผลตอบแทนที่ได้รับในรูเงินดอลลาร์ นักลงทุนจะเคลื่อนายเงินลงทุนมายังประเทสไทย โดยขายเงินดอลลาร์แล้วซื้อเงินบาท เพื่อลงทุนในไทย และเมื่อมีปริมาณเงินลุงทุนไหลเข้ามาในประเทศไทยมากขึ้น จะทำให้ค่าเงินบาทในวันนี้ (E) แข็งค่าขึ้น จากการที่ผุ้ถือเงินอดลลร์ก้ต้องการซื้อเงินบาท ในขณธที่
ผุ้ถือเงินบาทไม่ต้องการขาย หรือตลาดมอุปสงค์ส่วนเกินในเงินบาทนั่นเอง ค่าเงินบาทในวันนี้ก็จะปรับตัวแข็งขึ้ และในอนาคตคนต้องขายเงินบาทออกมาเพื่อทำกำไรจึงทไให้ค่าเงินบาทที่คาดการณ์ในอนาคตอ่อนค่าลงทำให้ เทอม มีค่ามากขึ้น อีักทั้งปรมาณเงินที่ไหลเข้ามาทำให้ปริมาณเงินบาทในระบบเศราฐกิจเพิ่มขึ้นส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเงินบาทลอลง ในที่สุด เรียกวาเ็นระดับที่ทำให้ ทฤษฎีความเสมอภาคของดอกเบี้ย เป็นความจริง เป็นระดับที่ตลาอเข้าสู่จุดดุลยภาพซึ่งเป็นสภาพที่ผุ้ซื้อ-ขายไม่มีแรงจูงใจที่จะปรับเปลี่ยนปริมาณเงินสกุลที่ถืออยู่ในมืออีกต่อไป
         เช่นเดียวกันกับ หากอัตราผลตอบแทนเร่ิมต้นที่ได้รับในรูปเงินดอลลาร์ มากกว่ าอัตราผลตอบแทนที่ได้รับในเงินบาท ก็จะทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนจากรูปเงินบาท ไปยังรูปเงินสกุลดอลลาร์มากขึ้นๆ และทำให้อัตราแลกเปลี่ยนในรูปเงินบาทอ่อนค่าลง เงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้น และทำให้ผลตอบแทนที่ได้รับระหว่างเงินสองสกุลไม่แตกต่างกัน เข้าสุระดับ ทฤษฎีความเสมอภาคของดอกเบี้ย นั่นเอง
              การปรับตัวของปัตราแลกเปลี่ยนตามกลไกตลาด
              ในบัญชีดุลการชำระเงิน ของประเทศ เป็นการบันทึกรายการรายรับ-รายจ่ายที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมทางเศราฐกิจของประชากรในประเทศและต่างประเทศ ภายในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งจะประกอบไปด้วยปัญชีที่สำคัญสามบัญชี ได้แก่ บัญชีเดินสะพัด ปัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย และบัญชีเงินทุนสำรองระหว่างประเทศ
             - บัญชีเดินสะพัน จะบันทึกธุตกรรมด้าน การนำเข้า-ส่งออก สินค้าและบริการ บันทึการรับและจ่ายในส่วนของรายได้ เช่น ค่าจ้าง เงินเดือนหรือผลตอบแทนต่างๆ และบันทึกส่วนเงินโอนและบริจาค
              - บัญชีเงินทุนและการเงิน บันทึกธุตกรรมการซื้อขายและโอนสินทรัพย์ในสองประเทส รวมทั้งบันทึกการโอนสิทธิสินทรัพย์ภาวรที่ไม่ก่อให้เกิดการผลิตด้วย
             สุดท้ายบัญขีทุนสำรองระหว่างประเทศ เป็นบัญชีบันทึกสินทรัพย์ต่างประเทศที่ธนาคารหลางควบคุมอยู่ เช่น ทองคำ หรือสินทรัพย์ในูปเงินตราต่างประเทศ เป็นต้น โดยธนาคารกลางจะเก็บเงินทุนสำรองของประเทศไว้ส่วนหนึ่งเพื่อใช้ดำเนินนโยบายต่างๆ เช่นแทรกแซงตลอดอัตราแลกเปลี่ยน เป็นต้น
            จากสมการบัญชีรายได้ประชาชาติ Y=C+I+G+(X-M) ดุลบัญชีเดินสะพันก็คือ X-M หรือมูลค่าการส่งออก หักด้วยมูลค่าการนำเข้า ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งของดุลบัญคการชำระเงิน ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดุลบัญชีเดินสะพัด ย่อมส่งผลต่อรายได้ปรชาชาติและภาวะเศราฐกิจของประเทสด้วย ซึ่งมีผลต่อเนื่องไปถึงการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทในตลาด
            ตลดาปริวรรตเงินตรามีลักษณะเป็นอุปสงค์สืบเนื่อง กับตลาดสินค้านำเข้าส่งออกและตลาดสินทรัพย์ ซึ่งจะเป็นไปตามกลไกราคาหรือขึ้นอยู่กับอุปสค์และอุปทานั้นเอง กล่าวคือเมื่อมูลค่าการส่งออกลดลงหรือมูลค่าการนำเข้ามากขึ้นส่งผลให้บัญชีเดินสะพัดขาดดุล หรือมูลค่าการนำเข้ามีมากกว่ามูลค่าการส่งออก หมายึวามว่าเสณาฐกิจมีความต้องการเงินตราต่างประเทศมากกว่าความต้องการเงินบาท ก็อาจส่งผลให้อัตราแลกเปลี่ยนอ่อนค่าลง ตรงข้ามกัน เมื่อมูลค่ากาส่งออกเพิ่มขึ้นหรือมุลค่าการนำเข้าลดลงส่งผลให้บัญชีเดินสะพัดเกินดุล หรือมุลค่าการส่งออกมีมากกว่มุลค่าการนำเข้า หมายึถงามว่าเศรษฐกิจมีความต้องการเงินตราต่างประเทศน้อยกว่างความต้องการเงินบา ก็สงผลให้ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นได้เช่นกัน
         
นอกจากนี้ดุลการชำระเงินที่เปลี่ยนแปลงไปจนกระทบต่ออัตราแลกเปลียนยังเป็นผลมาจากอีก 2 บัญชีด้วยคือ ส่วนของบัญชีเงินทุนหากมีการลงทุนทั้งทางตรงหรือทางอ้อมเข้ามาในประเทศมากๆ หรือเงินไหลเข้าดดยสุทธิเป็นบวก ก็จะทำให้เกิดอุปสงค์ส่วนเกินในเงินบาท ส่งผลให้ค่าเงินบาทแข็.ค่าขึ้นได้ ในทางกลับกันหากเงินไหลออกจากประเทศไปจนทำให้เงินไหลเข้าดดยสุทธิติลบ ก็จะทำให้เกิดอุปทานส่วนเกินในเงินบาท ส่งผลให้ค่าเงินบาทอ่อนคาลงได้เช่นกัน และในส่วนของบัญชีเงินทุนสำรองระหว่งประเทศก็ขึ้นอยุ่กับการเินดุลหรือขาดดุลของบัญชีสองบัญชีแรก รวมถึงกรกำหนดนดยบายอัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารกลางด้วย ซึ่งระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่แตกต่างกัน ดุลการชำระเงินที่เปลี่ยนแลปงไปก็ส่งผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนไม่เหมือนกัน ดดยระบบอัตราแลกเปลี่ยนมีดังนี้คือ
            1) อัตราแลกเปลี่ยนคงที่ รัฐบาลหรือธนาคารกลางจะสามารถเข้าแทรกแซงให้ค่าเงินเป็นไปตามที่กำหนดได้ดดยใช้เงินทุนสำรองที่มีอยู่ในบัญชีเงินสำรองระหว่างประเทศเข้าควบคุมตลาดดังนั้นอัตราแลกเปลียนจะไม่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในดุลการชำระเงิน
            2) อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว รัฐบาบหรือธนาคากลาง จะไม่เข้าไปแทรกแซงระบบตลาด อัตราแลกเปลี่ยนจะเปลี่ยนแปลง ไปตามปริมาณอุสงค์อุปทานของเงิน ซึ่งทำให้สะท้อนการเปลี่ยนแปลงในดุลการชำระเงินได้มาก
            3) อัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ เป็นการปล่อยให้อัตราแลกเปลี่นเป็นไปตามกลไกตลาด ตามปริมาณอุสงค์อุปทานของเงินสกุลนั้นๆ แต่ธนาคารกลางอาจเข้าแทรกแซงบ้างเมือ่มีการเก็งกำไรค่าเงิน หรอื อัตราแลกเปลี่ยนมีคึวามผันผวนมากเกินไป โดยการแทรกแซงก็ เช่น ใช้นโยบายอัตราดอกเบี้ย เพื่อควบคุมการไหลเข้าออกของเงินทุน เป็นต้น ซึ่งระบบนี้จะสามารถสะท้อนการเปลี่ยนแปลงใบัญชีดุลการชำระเงินได้ดีในระดับหนึ่ง
           ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ จะเป็นเครื่องมือบ่งชี้สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันว่าเสณาฐกิจมีสภาพคล่องมากเพียงใด หากดุลภาพการชำระเงินเกินดุล อาจทำให้เงินทุนสำรองระหว่างประเทศเพ่ิมขึ้นจากการที่ประเทสมีรรายรับมากว่ารายจ่ายเสณาฐกิจมีสภาพคล่องดี ก็จะทำให้อัตราแลกเปลี่ยนภายใต้ระบบอตาแลกเปลี่ยนบอยตัวนั้นแข็งค่าขึ้นได แต่หากดุลการชำระเงินขาดดุลก้อาจเป็นปัญหาสภาพคล่องทางเศรษฐกิจได้ ขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาลด้วย แต่รัฐก็ต้องมีมาตการเข้ามาควบคุมดุแลการเกินดุลและขาดดุลของดุลการชำระเงินให้ดี เพราะมัน่งผลต่อระบบเศรษฐฏิจของประเทศและอัตราแลกเปลี่ยนในตลาดด้วย....

            บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ เรื่อง "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลียนแปลงอัตราแลกเปลียนระหว่างเงินบาทต่อเงินยูโร" โดยฉัตรมงคล ระวังเหตุ, 2547.
           

วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2561

Europol

             หน่วยงานทีมีหน้าที่บังคับใช้ กฎหมายของสหภาพยุโรป ก่อตั้งขึ้นในปี พงศ. 2541 เพื่อจักการกับการสืบราชการลับทางอาชญากรรม เป็นหน่วยงานด้านความร่วมมือด้านการบังคับใช้กฎหมายของสหภาพยุโรป ซึ่งเดิมเป็นสำนักงานตำรวตจแห่งยุโรป และ Europol Drugs Unit EDU ซึ่งต่อสู้กับอาชญากรรม และ การก่อการร้ายระหว่างประเทศ ด้วยความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้ที่ผุ้มีอำนาจของประเทศสมาชิก
             หน่วยงานไม่มีอำนาจบริหารและเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่มีสิทธิจับกุม ผุ้ต้องสงสัยหรือกระทำการใดๆ โดยไม่ได้รับอนุมัติจากเจ้าหน้าที่ผุ้มีอำนาจในประเทศสามาชิก
             สำนักงานด้านการบังคับใช้กฎหมายแห่งสหภาพยุโรป (Europol) ตั้งอยู่ใน กรุงเฮก ประเทศฮอลแแลนด์ ประกอบด้วยพนักงาน 1065 คนในปี พ.ศ. 2559
             EU Critical Threat Assessment (SOCTA) และ Critical Threat Assessment (SOCTA) ซึ่งในปี พ.ศ. 2560 ระบุถถึงอาชญากรรมสำคัญ 8 ประการ ได้แก่ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การผลิตยาเสพติดการต้า มนุษย์และการจัดจำหน่ายการลักลอบขนแรงงานข้ามชาติ สถานบริการ การค้ามนุษย์ อาชญากรรมทางการเงิน และการฟอกเงิน การปลอมแปลงเอกสาร และการต้าสินค้าและบริการที่ผิดกฎหมาย
ในปีงบประมาณ 2017 งบปรมาณของหน่วยงานอยู่ที่ประมาณ 116 ล้านยู่โร ทางยูโรโพลรายงานว่าจะมุ่งเน้นการต้อต้านอาชญากรรมทางไซเบอร์ องค์กรอาชญากรรม และการก่อการร้าย เช่นเดียวกับการสร้างความความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศใน ยูโรโพล ยังกล่าวด้วยว่ ในช่วง 2010-2014 ได้ว่างรากฐานสำหรับ หน่วยงานในฐานะศูนย์กลางข้อมูลอาชญากรรมในยุโรป
            ยุโรโพล มีต้นกำเนินใน TREVI ซึ่งเป็นเวทีสำหรับความร่วมมือด้านความมั่นคงที่เกิดขึ้นภายในกระทรวงภายในและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติะรรมของยุโรป ในปี พ.ศ. 2519 ตอนแรก TREVI มีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นไปที่การก่อการร้ายระหว่างประเทศ แต่ไม่นานขยายขอบเขตเข้าสุ่ อาชาญกรรมข้ามพรมแดนอื่นๆ
             ในการประชุมสุดยอดยุโรปในเมืองลักเซมเบิร์ก เมื่อ มิถุนายน พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีเยอรมัน เฮลมุท โคฮ์ล เรียร้องให้มีการจัดตั้งหน่วยงานตำรวจแห่งชาติยุดรปเช่นเดียวกับสำนักงานสืบสวนกลางแห่งสหรัฐอเมริกา (FBI) ซึ่งเป็นการหว่านเมล็ดพันธ์ุของความร่วมมือของตำรวจทั่วยุดรป ที่ประชุมสุดยอดสภายุโรป ตกลงที่จะจัดตั้ง "สำนักงานสืบสวนอาชญากรรมกลางยุโรป (Euripol) ภายในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2536
           มติของที่ประชุมสุดยอดลักเซมเบิร์กที่ได้รับการชี้แจงเพ่ิมเติมในที่ประชุมสภายุโรป เพื่อร่างสนธิสัญญา Maastricht สภายุดรปตกลงที่จะสร้าง "สำนักงานตำรวจแห่งยุโรป Europol" ซึ่งหน้าที่อันดับแรกคือการจัดระเบียบการแลกเปลี่ยนข้อมุลเกี่ยวกับบยาเสพติด" คณะมนตรีฯ ได้มีคำสั่งในรัฐมนตรว่าการกรทรวงศึกษาธิการของ TREVI มีมาตรการในการจัดตั้งสำนักงานขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ. 2544 ยูโรโพล ได้รับการลงมติไว้ใน K.1 รวมกับมติอื่นๆ ในมาตรา 9 แห่งสนธิสัญญา Maastricht
            [...] ประเทสสมาชิกจะพิจารณาเรื่องราวต่อไปนี้ร่วมกัน : ความร่วมมือระหว่งตำรวจเพื่อจุดประสงค์ในการป้องกันและต่อต้านการก่อการร้ายการต้ายาเสพติดที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและรูปแบบอื่นๆ ที่ร้ายแรงของอาชกรรมระหว่างประเทศ รวมทั้งถ้ามีความจำเป็นบางประการ จะมีการเชื่อต่อกับองค์กรของระบบยูเนี่ยนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในสำนักงานตำรวจแห่งยุโรป"
            โดยพฤตินัย ยูโรโพล จัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2536 ในฐานะหน่วยงาน Europol Drugs Unit (EDU)ในสตราสบุร์ก โดยมีคำสั่งเพื่อช่วยตำรวจแห่งชาติในการสืบสยอาชญากรรม และจัดตั้งสำนักงานขึ้นที่  Raamweg 47 ในปี พ.ศ.2537
            อนุสัญญา ยูโรโพล ได้ลงนามเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ที่กรุงบัสเซลส์และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2541 หลังจาได้รับการอนุมัติจากประเทศมาชิกทั้งหมดแล้ว สำนักงานตำรวจยุโรป เร่ิมกิจกรรมอย่างเต็มรูปแบบในวันที่ 1 กรกฎาคม 1999
           
ยูโรโพล ได้รับกาผนวกเข้ากับสหภาพยุโรปโดยมีการตัดสินใของคณะมนตรี ในปี 2009 แทนที่อนุสัญญา ยูโรโพล และปฏิรูป ยูโรโพลให้เป็นหน่วยงานของสหภาพยุโรป
            ด้วยหน้าที่ที่เกี่ยวกับการปราบปรามอาชญากรรมร้ายแรงและอาชญากรรมการควบคุมงบประมาณของรัฐสภายุโรป และการลดความซับซ้อนด้านการบริหาร สำนักงานใหญ่แห่งใหม่จึงได้ถึงตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2011 ที่กรุงเฮก
             11 มกราคม 2013 ผู้บริหาร และคณกรรมาธิการยุโรปฝ่ายกิจการภายใน ได้เปิดตัว European Criminal Center EC3 ซึ่งเป็นหน่วยงานของ ยูโรโพล มีหน้าที่ให้
ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมไซเบอร์ที่กระทำโดยองค์กรนอกกฏหมาย เพื่อแสวงหาผลกำไร เช่น การแ้อโกงทางออนไลน์ การแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศต่อเด็กทางออนไลน์ หือผลกระทบต่อโครงน้างพื้นฐานที่สำคัญและระบบในสหภาพยยุโรป
             วัตถุปรสงค์คือการประสานงานการบังคัยใช้กฎหมายข้ามพรมแดนกับอาชญากรรมในโลกไซเบอร์และทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีเช่นการพัฒนาเครื่องมือและทักษะ ผู้บัญชาการ ยูโรโพล ระบุว่าจำเป็นต้องมีศูนย์อาชญากรรทางไซเบอร์ในยุโรป "เพื่อปกป้องเอินเทอร์เน็ตแบบเปิดกว้างและฟรี"
           25 มกราคม 2016 ศุนย์การต่อต้านการก่อการรายในยุโรป ECTC เปิดตัวแพลตฟอร์มยุทธศาสตร์ใหม่ภายใน ยูโรโพล เพื่อการแบ่งปันข้อมูลระหว่างประเทศภายในสหภาพยุโรปในกาติดตามความเคล่อนไหวของขาวยุโรปเข้าและออกจาก "ซีเรีย" รวมทั้งการตรวจสอบการใช้อินเทอร์เน็ตของผุ้ก่อการรายและการใช้อนิเทอร์เน็ตของพวกก่อการร้าย
          ภายใต้กรอบการทำงานใหม่ ยูโรโพลได้รับมอบอำนาจเพิ่มเติมในการต่อต้านการก่อการร้าย และยังรวมถึงการเพ่ิมการฝึกอบรมและแลกเปลี่ยนบุคลากร ในการสร้างระบบป้องกันข้อมมุล และเสริมสร้างความเข้มแข็งในการควบคุมหน่วยงาน
           - https://en.wikipedia.org/wiki/Europol

วันพุธที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561

Euro II

         บทความเรื่อง "เงินสกุลยูโร 1999" ได้ทำการวิเคริาห์ถึงบทบาทของเงินยูโรในเวทีเศณาฐกิจโลก โดยเฉพาะเมื่อเที่ยวกับเงินตราสกุลเเข็งอีกสองสกุล คือ ดอลลาร์ สหรัฐฯ และ เงินเยน ญีุ่ปุ่น ซึ่งเปรียบเทียบความสำคัญจากตัวเลขเศรษฐกิจและผลกระทบที่คาดว่าน่าจะเกิดขึ้นเมือเงินยูโรถูกนอมาใช้อย่างแรพ่หลาย ซึ่งผลกระทบ EMU ที่มีต่อเศณาฐกิจโลกจะขึ้นอยู่กับ "เอ็กเทอนอล สปริลโอเวอร์" ที่เกดจากสถานการณ์เศราฐกิจในยุโรปและความเป็นที่นิยมของการใช้เงินสกุลยูโรในการชำระรายการระหวางประเทศ
          ฐานและขนดเสราฐกิจที่ใหญ่ขึ้นของ EU และการขนัดต้นทุนด้านธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปริวรรตเงินตราในยุโรปจะส่งผลให้ยูโรมีบทบาทมากขึนในการเป็นเงินสกุลที่ใช้ในการต้าขายระหว่างประเทศ โดยคาดว่าจะขยายบทบาทเพ่ิมขึ้นก่อนในการทำธุรกรรมระหว่าง EMU และประเทศกำลังพัมฯารวมทั้งประเทศในค่ายสังคมนิยมในอดีต การรวมตัวกันของตลาดการเงินยุโรปด้วยการใช้เงินสกุลเดียวกันจะลดต้นทุนธุรกรมด้านการเงิน ลดส่วนต่างของอัตราอดกเบี้ยและขยายปริมาณสินทรัพย์ที่คิดมูลค่าในรูปยูโร นอกจากนี้ยูโรจะมีบทบาทมากขึ้นในการเป็นเงินสกุลหลักที่ใช้เป็นทุนสำรองระหว่งประเทศร่วมกับการใช้ดอลลารืสหรัฐ ทั้งนี้เนื่องจกาแนวโน้มของการใช้ยูโระมีมากขึ้นในตลาดการเงินและการค้าระหว่างประเทศ
            การพัฒนาของ อียู จนถึง อีเอ็มยู และใช้เงินสกุลยูโรจะทำให้ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสมาชิกใน อีเอ็มยู เนื่องจาก อียู ดพเนินการเปิดเสรีระหว่างกันเองจนถึงขั้นทรัพยากรต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายภายใน อียู เองได้อย่างเสรี ภายใน อียู เองก็จะปรับปุลยภาพการผลิตตามความได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบ เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดระหว่างกัน  เช่น เยอรมันมัความได้เปรียบในการผลิตยานยนต์ ในขณะที่ฝรังเศสมีความสามารถในการผลิตเครื่องแต่างกาย ย่อมจะเดิกการปรับเปบียนประเภทการผลิตในแต่ละประเทศสมาชิก ซึ่งจะเป็นการเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นด้านราคมหรือคุณภาพที่เป็นปัจจัยสำคัญในการแข่งขันและค้าขายกับต่างประเทศ
          การ สเปเชี่ยลไลเซชั่น ในการปลิตในกลุ่ม อียู จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างการนำเข้าและสงออกของกลุ่มและสงผลกระทบต่อประเทศผู้ผลิตที่เป็นคู่แข่งที่สำคัยตางๆ ของ อียู ดดย อียู จะแย่งสัดส่วนทางการตลาดในตลาดการต้า ย่อมส่งผลกระทบต่อตลาดการต้าทำให้ความได้เปรีบดุลการต้าไปอยู่ี อียู อย่างไรก็ตามบทาทของเงินยูโรคงจะไม่เกิดขึ้นและบดบังความสำคัญของค่าเงนิดอลลาร์สหรัฐ หรือค่าเงินเยนในทันทีทันใด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสำเร็จของการดำเนินการของ อีเอ็มยู และ และ เคดิบิลิที้ ของ อีซีบี
       
 สมชัย สัจจพงษ์, สุรศักดิ์ พิชิตผองกิจ และ สุภชัย ศรีสถาพร (2541)

          "ยูโร (Euro) เงินตราสกุลเดียวแห่งสหภาพยุโรป" ได้กล่าวถึงประโยชน์จากการใช้เงินยูโรที่สำำคัีญ 2 ประการ ประการแรกคอ จะทำให้ต้นทุนธุรกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ อัตราแลกเปลียนลดลง การใช้เงินยูโรเพียงสกุลเดียวเป็นการลดความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราแลกเปลียน ทำใหบริหารความเสี่ยงได้ง่ายข้นอีกทั้งสหภาพยุโรปก็มุ่งมั่นทีจะสร้างเสถียรภาพของเงินยูโรและให้ยูโรเปนอัตราแลกเปลียยนระหว่างประเทศอีกสกุลหนึ่่ง คู่เคียงไปกับเงินเยนญี่ปุ่นและดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งจะเดื้อประโยชน์โดยตรงต่อธุรกรรมภายในประเทศสมชิกสหภาพญ และธุรกรรมกระหว่างประเทศที่ใช้เงนิยูโร
          ประโยชน์อีกประการหนึงคือ ยูดร จะเพิ่มความโปร่งใสภายในยุโรปตลอดเดียแวและจะเป็นแรงผลักดันให้มีการลดเลิกอุปสรรคต่างๆ ในตลาดยุโรปเดียว เพราะจะทำให้การเปรีบเทียบต้นทุนและราคาสินค้าระหว่างประเทศสมาชิกง่ายขึ้น ซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างกันได้สะดวกมากยิ่งขึ้น ยุูโรจึงนับเป็นตัวเร่งให้ยูโรปตลาดเดียวมีความสมบูรณ์ขึ้น
         เมทินี มีนะกนิษฐ (2541)

          "ยูโร..ความเป้ฯมาและผลกระทบ" ซึ่งวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการประกาศใช้เวินยูโร ออกเป็น 5 ด้านคือ
           1. ผลกระทบของสกุลเงินยูโรต่อประเทฬในกลุ่มยูโร ซึ่งจะก่อให้เกิดการปฏิรูปทางการเงินครั้งสำคัญในสหาพยุโรปและต่อนโยบายทางเศณาฐกิจของภาครัฐ และต่อภาคธุรกิจอื่นๆ ดังนี้
            1.1 นโยบายทางเศณฐกิจ ประเทศสมาชิกสหภาพการเงินยุโรป ท้ง 11 ประเทศต้องยอมสละอำนาจอธิปไตยสูงสุดทางเศรษฐกิจของตน นั่นคื อสิทะิในการออกเงินตราประจำชาติ โดยมีข้อตกลงให้ธนาคารกลางของยุโรปเข้ามาทำหน้าที่บริหารและนั่นย่อมหมายถึงว่า บรรดาประเทศสมาชิกได้ประกาศสละอำนาจอันทรงพลังในการปกป้องเศรษฐกิจใน 2 ประเด็นหลักคือสิทธิในการลดค่าเงินตราเมือมีความจำเป็น และสิทธิที่จะทำงบประมาณขาดดุลเมื่อภาวะการวางงานขยายตัว ประเทศสมาชิกต้องยอมรับและพร้อมทีจะปรับตัวเมื่อถูกริดรอนอธิไปตยทางเสราฐกิจไม่วาจะเป็นเรื่องของงบประมาณรายจ่ายของรัฐ หรือนโยบายทางการเงินต่างๆ ทีจะต้องขึ้นอยุ่กับธนาคารกลางยุดรปเพียงสภาบันเดียว
          ผลกระทบในการปรับโครงสร้างของภาพรัฐ มิได้เกี่ยวเนื่องเฉพาะนโยบายทงเศรษฐฏิจเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างในด้นอื่นๆ ด้วย เช่น เมื่อประเทศสมชิกเปลี่ยนมาใช้เงินสกุลยูโรก็จะมีการเปรีบเทียบอัตราภาษีและการใช้จ่ายของแต่ละประเทศ ประเทศที่มอัตราภาษีเงินได้นิติบุคลสูงย่อมจะได้รับผลกระทบมากเมือมีการใช้เงินสกุลเดียวกันอย่างเต็มรูปแบบหรืออีกนัยหนึ่ง รัฐบาลของประเทศสมาชิกจะต้องตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพือเพิ่มประสิทะิภาพในการแช่งขันกับประเทศอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นนธยบายในเรื่องภาษีอัตราต่ำ การโยกยายตลาดแรงงาน และการตั้งระเบียบกฎเกณฑ์ที่น่าพึงพอใจมากขึ้นในธุรกิจประเภทต่างๆ
         1.2 . ภาคอุตสาหกรรม การใช้เงินสกุลยูโรจะทำให้เกิดกระแสการควบกิจการและการปิดโรงงานขึ้น กล่าวคือ เมื่อความเสี่ยงในเรื่องเงินตราหมดไปจากการเปลี่ยนมาใช้เงินสกุลเดียวกันบริษัทเอกชนก็ไม่จำเป็นต้องเปิดกิจการในหลายๆ ประเทศดังเช่นทีทำอยู่ในปัจจุบัน แต่ขณะเดียวกันกระแสการเปลี่ยนแปลงนี้ก็จะทำให้เกิดปัญหาการว่างงานมากขึ้น
         
อย่างไรก็ตาม ผลประดยชน์ที่ภาคอุตสาหกรรมจะได้รับคือ สกุลเงินยูโรจะช่วยลดค่าใช้จายที่ลริษัทจะต้องเสียไปกับการแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศและการป้องกันความเสี่ยง และเมื่อความเสี่ยงในเรื่องเงินตราหมดไป สหภาพยุโรปก็จะกลายเป็นตลาดขนาดใหย่ที่น่าสนใจมากขึ้น
         1.3 ภาคธุรกิจที่สำคัญ เช่นเดียวกับการปรับโครงสร้างด้านอื่นๆ กลุ่มธนาคารก็เป็นอีกสภาบันหนึ่งที่ต้องปรับตัวเนื่องจากได้รับผลกระทบโดยตรงจากการปฏิรูปเศรษบกิจครั้งนี้ ดดยภาคการคลังจะถือเสมือนเร่ิมจากศูนย์เมื่อเปลี่ยนมาใช้สกุลเงินยูโร
         ขณะเดียวกันค่าใช้จ่ายในด้านธุรกรรมด้านอัตราแลกเปลี่ยนจะลดลงกว่า 65 พันล้านดอลลาร์ในแต่ละปี พร้อมกับช่วยกำจัดคนกลางออกจากธุตกรรมต่างๆ คิดเป็นมูลค่าหลายล้านล้านอดลลาร์ นั่นย่อมทำให้เกิดเงินทุนมหาศาลและช่วยใก้เกิดความคล่อตัวยิ่งขึ้นกว่าเดม แต่ธนาคารจำต้องสูญเสียรายได้ที่เคยได้เป็นกอบเป็นกำจาการซื้อขายแลกเปลี่ยนเงนิตราต่างประเทศนับเป็นการเพิ่มความกดดันให้กับธนาคารลและสถาบันการเงินต่างๆ โดยบทบาทในฐานะเป็นแหล่งเงินทุนสำหรับภาคอุตสาหกรรมจะลดลงเนื่องจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของตลาดทุน โดยเฉาพะตลาดพันะบัติและตลาดหลักทรัพย์ ในขณะที่ธนาคารต่างๆ จะมีการปรับโครงสร้างเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ และรองรับการแข่งขันจากธนาคารข้ามชาติขนาดใหญ่
        1.4 ภาคแรงงาน ยุคสกุลเงนิยูโรถือเป็นยุคแห่งการสับสนของบรรดาผู้ใช้แรงงาน คนงานในโรงงานอุตสาหกรรมต้องล้มเลิกความคิดฝันในเรื่อง "ความมั่นคง" ในการมีรายได้ดีตลอดชีวิต ขณะที่อุปนิสัยของคนยุโรปไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงงานหรือไปทำงานในประเทศอื่นที่ต้องมีการปรับตัวในการดำรงชีวิตประจำวัน
         มีการคาดการณ์ว่าคนงานกว่าสิบล้านคน หรือร้อยละ 5 จะตกงานภายในช่วง 18 เือน แต่เมื่อวิกฤตการณ์ด้านากรว่างงานทุเลาลง ตลาดแรงงานของยุโรปจะได้รับการแปรรูป คือ ในอีก 10 ปีข้างหน้า จะเกิดการจ้างงานใหม่ในบริษัทเอกชนขนาดเล็กและการจ้างงานทางด้านบริการเพิ่มมากขึ้นในเขตภาคพื้นทวีปยุโรป แต่สหภาพต่างๆจะมีบทบาทลดลง
          โดยสรุปแล้ว การใช้เงินยูโรน่าจะอำนวยประโยชน์ให้ประเทศสมาชิกในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะการขยายตัวทางเศราฐกิจและการจ้างงาน อยางไรก็ดีผลกระทบในเชิงบวกอาจไม่เป็นไปตามที่คาด เนืองจากปัจจัยความผันผวนต่างๆ ...

               - บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ เรื่อง "ผลกระทบของการใช้เงินยูโรต่อระบบเสณาฐกิจของสหภาพยุโรป" โดยอบลศรี สุขถาวร, 2542.
         
         

วันอังคารที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2561

Economic integration

           กลุ่มความร่วมมือทางเศราฐกิจของโลกในปัจจุบัน

           1. สหภาพยุโรป EU
           สหภาพยุโรป เป็นพัฒนาการในการรวมกลุ่มที่เกิดจากการรวมตัวของประชคมยุโรปซึ่งดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลานานเร่ิมจาการรวมตัวของประชาคมสามแห่งเข้าด้วยกัน คือ ประชาคมถ่านหินและเหล็ก ประชาคมเสณาฐกิจยุโรป และประชาคมพลังงานปรมาณูยุโรป ถือเป็นกลุ่มการต้าที่มีความสำคัญของโลก แนวความคิดในการวมหลุ่มของประเทศในยุโรปได้เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีวัตุประสงค์เร่ิมแรกเพื่อป้องกันความขัดแย้งแบะการทำสงครามระหว่างประเทศสมาชิกและส่งเสริมความเป็นปึกแผ่นภายในกลุ่มเพื่อต่อสู้ด้านเสณาฐกิจกับสองประเทศมหาอำนาจ คื อสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต
          การรวมตัวของ อีย ที่จะพัฒนาการเป็นสหภายเศรษฐกิจและการเงินแห่งยุโรปคือการที่ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปหันมาใช้เงินตราสกุลเดียวและมีธนาคารกลางแห่งเดียว ซึ่งจะทำให้ อียู ที่มีประชากรถึง 370 ล้านคน กลายเป็ฯตลาดธุรกิจขนาดใหญ่ที่สามารถดำเนินธุรกิจการต้า การลงทุน และการเงินระหว่างกันได้อย่างเสรี ด้วยเงินตราสกุลเดียว และมีความใกล้เคยงกันมากขึ้น ดดยเฉพาะอย่างิย่งประเทศสมาิกที่มีฐานะที่มั่นคงกว่าจะต้องให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่มีสภาพเศณาฐกิจอ่อนแอ ซึ่งรวมถึงระเทศที่อยู่ใไกลจากศูนย์กลางของสมาชิกสหภาพยุโรป
         
ปัจจุบัน สหภาพยุโรปได้ขยายความร่วมมือไปยังประเทศต่าง ในภุมิภาคยุโรป ตามกรอบทฤษฎีการรวกลุ่มทีเรียกว่าหน้าที่นิยมใหม่ อาจกล่าวได้ว่าเป้นปวคิดที่ใช้ในการก่อตั้งสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นปนวคิดที่ต้งอยู่บนพื้นฐนของความเชื่อที่วา การวมกลุ่มใดๆ ที่จะประสบความสำเร็จั้นจะต้องตั้งอยู่บนข้อเท็จจริงที่ว่าเงื่อนไขความพร้อมในการรวมกลุ่มที่เร่ิมต้นจากจุดเล็กๆ ในการวมกลุ่มและการรวมกลุ่มนั้นแตต่ละประเทศได้ผลประโยชน์ต่างตอบแทนจากลุ่มย่อยๆ แล้วขยายตัวมากขึ้น มีการพึ่งพาอาศัยกันใแนวกว้างแลแนวลึกมากขึ้นซึ่งสหภาพยุโรปเร่ิมแรกก็มีการรวมตัวกันด้วยสมาชิกเพียง 6 ประเทศ โดยรเ่ิมจากสมาคมถ่านหินและเหล็แล้วขยายไปสู่การรวมกลุ่มสภาพเศณาฐกิจอื่นๆ และมีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 15 ประเทศ และมีการขยายความร่วมมือจากทางด้านเสณาฐกิจไปสู่ด้านการเมืองและด้านอื่นๆ จนก่อให้เกิดความร่วมมืออย่างแน่นแฟ้นของกลุ่ม ซึ่งถือได้ว่าพัฒนาการของสหภาพยุโรปนั้นมีลักษณะเป็นไปตามแนวทฤษฎีหน้าที่นิยมใหม่และมีการขยายตัวเป้นไปตามลำับของทฤษฎีการรวมกลุ่มตามแนวคความคิดของ "บาร์ลาซซ่า" ที่เร่ิมจากขั้นต้อนสหภาพศุลกากร และพัฒนาไปสู่ตลาดรวมในกรอบของตลาดยุโรปเดี่ยว ปัจจบันพัฒนาการสู่การเป็นสหภาพทางเศณาฐกิจและการเงินที่เรียกว่าสหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป
               2. ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ NAFTA
                พัฒนาการของการรวมกลุ่ม
                จุดเริ่มต้นของกระบวนการ การรวมกลุ่มทางเศณษฐกิจในภูมิภาคอเมิรกาเหนือได้ก่อตัวขึ้นนบตังแต่ที่ประะานาธิบดีไบรอัน มัลโรนีย์ แห่งแคนาดาได้ประกาศเจตนารมย์ที่จะเจรจาข้อตกลงการต้าเสรีกับสหรัฐอเมริกาในเดือนมิถูนายน พ.ศ. 2538 หลังจากนั้นตัวแทนทางการต้าของทั้งสองฝ่ายก็ได้มีการเจรจาต่อรองกันอย่างเข้มข้นจนหระทั่งบรรลุข้ตกลงกันได้ เมื่อปี ค.ศ. 1987 และข้อตกลงการต้าเสรีระหว่างสหรัฐฯ และแคนาดาไ้เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ปี 1989 เป็นต้นมา
              ขณะเดียวกันในปี ค.ศ. 1985 รัฐบาลสหรัฐฯไ้เจรจาทำความเข้าใจกับเม็กซิโกในเรื่องการอุดหนุนและภาษีตอบโต้การอุดหนุนซึ่งต่อมาในปี ค.ศ.1986 เม็กซิโกก็ไดเ้ขาเป็นสมรชิกขององค์กรความตกลงทั่วไปว่าด้วยอัตราภาษีสุลกากรและการต้า และได้เริ่มดำเนินการเปิดเสรีทางเศณษฐกิจโดยลดอุสรรคกีดขวางทางการต้าแต่เพียงฝ่ายเดียวอย่งรวดเร็ซ ตอมาสหรัฐฯ และเม็กซิโกก็ไดลงนามในข้อตกลงเืพ่อกำหนดกรอบในการเจรจาเกี่ยวกับการเปิดเสรีทางการต้าและการสถาปนากลไกทวิภาีที่มีผลต่อความสัมพันะ์ทางการต้าของทังสองประเทศ
            ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบิีจอร์จ บุช และประธานาธิบดีชาลี สาส แห่งเม็กซิโก ได้ประกาศเจตจำนงค์ร่วมกัที่จะจัดตั้งเขตกาต้าเสรีระหว่างประเทศทั้งสอง ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1991 แคนาดาก้เข้าร่วมการเจรจาด้วยและนำไปสู่การเจรจาสามฝ่ายเพื่อก่อตั้งเขตการต้าเสรีแห่งภูมิภาคอเมิรกาเหนือ โดยการเจรจาอย่างเป็นทางการเริ่มขึ้นเมื่อ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1991 หลังจากที่รัฐบาลสวหรัฐฯ ได้ลงมติต่อายุการใช้อำนาจการเจรจาอย่างรวบรัดให้แก่ฝ่ายบิหาร เพ่อใช้ในกาเจรจาจัดทำความตกลงการต้าเสรีอเมริกาเหนือซึ่งเป็นนดยบายของประโานาธิดีจอร์ช บุช ที่จะใช้เป็นกลุยุทธ์ทางการต้าแนวใหม่ของสหรัฐฯ
            หลังจากได้มีการเจรจาต่อรองระหว่างผุ้แทนด้านการต้าของสหรฐฯ แคนนาดา และเม็กซิโกเป็นเวลานานถึง14 เดือนในที่สุดผู้แทนการต้าของทั้งสามประเทศก็สามารถบรรละข้อตกลงในการก่อตั้งเขตการต้า เมื่อ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1992 และข้อตกลงดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1994 ซึ่งนับเป็นการก่อตั้งเขตการต้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลกขณะนี้ โดยจะสร้างตลาดการต้าซึ่งมีผุ้บริโภคถึง 360 ล้านคน และมีปริมาณการต้ากว่า 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯต่อปี...
           การรวมกลุ่มเขตการต้าเสรีอเมริกาเหนือเป็นกลุ่มความร่วมมือที่มีการก่อตัวมาจากระดับทิวภาคีที่มีสหรัฐอเมริกาเป็นแกนกลางซึ่งแต่เดิมสหรัฐฯเป้ฯประเทศที่ให้วามรวมมือกบเคนาดา และสหรฐฯ ก็เป็นประเทศภาคกับเม็กซิโกมาก่อน เมื่อมีการเปลียนแปลงของระบบการต้าโลก ทั้งสามประเทศจึงมีการรวมตัวกันในระดับพหุภาคีเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในขณะนั้นประกอบกับการเจรจา QATT ไม่ประสบผลสำเร็จตามกำหนดเวลาและมีแนวโนมว่าจะล้มเหลว เนื่องจากมีประเทศสมาชิกจำนวนมากและข้อต่อรองไม่เป็นไปตามความต้องากรจงมีการเจรจายืดเยื้อในรอบอุรุกวัย ทำให้ประเทศต่างๆ หันมารวมตัวกันในระดับภูมิภาคเพื่อที่จะแก้ปัญหาเศรษฐกิจของตนโดยใช้การรวมกลุ่มภูมิภาคเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ให้ลุล่วงไปในระดับหนึ่ง..
            หากพิจารณาจากแนวคิดและทฤษฎีการรวกลุ่มถือว่ อยุ่ในขั้นของการวมกลุ่มเสณาฐกิจที่ใช้ปฏิบติก่อนเข้าสุ่ขั้นตอนของแนวคิดของ บาลาสซ่า ซึ่งเป็นขั้นตอนก่อนที่จะเริ่มเป้นเตการต้าเสรี คือ ขั้นตอนของการเป็นเขตการลดพิกัดอัตราภาษี อันเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอย่างหลวมๆ กล่าวคอ ประเทศสมาิชกจะตกลงกันเพิียงแต่ลดหย่อนภาษีศุลกากรให้แก่กันแต่ไม่ถึงกับไม่เก็บกันเลยซึ่งเขตการต้าเสรีอมิรกาเหนือก็เข้าสู่ขั้นตอนนี้เช่นกัน และหากมีการตกลงกันประสบผลก็คาดว่าจะเข้าสู่ขั้นตอนของการรวมกลุ่มในระดับเขตการต้าเสรีเต็มรูปแบบที่จะไม่มีการตั้งกำแพงภาษีและการกำหนดโควต้าสำหรับสินค้าที่ส่งจากประเทศสมาชิกด้วยกันเองแต่ภาษีสำหรับประเทศที่สามก็ขึ้นอยู่กับสมาขชิกแต่ละประเทสจะกำหนดซึ่งจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป...
             3. สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ASEAN
              พัฒนาการการรวมกลุ่มของสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันอกเฉียงใต้สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จัดตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ เมื่อ ปี ค.ศ. 1967 มีสมาชิกเร่ิมก่อตั้งจำนวน 5 ประเทศ ฌเยมีจุดเร่ิมต้นมาจาการจัดตั้งสมาคมอาสา ที่มีการลงนามกันเมือ ปี ค.ศ. 1961 ที่ประเทศไทย ดดยมีสมาชิกในขณะนั้น 3 ประเทศ  คือ มลายา (มาเลเซีย) ฟิลิปปินส์ และไทย ซึ่งมีวัตถุประสงคืเพื่อจัดตั้งจักรกลการปรึกษาหารือ การช่วยเหลือย่างฉันมิตรทางเศราฐฏิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ และการบริหาร เนื่องจากในขณะนั้นเกิดการประจันหน้ากันระหว่ง อินโดนีเซีย กับมาเลเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโรป์ในเรื่องเกี่ยวกับรัฐซาลาวัค ทำให้อาณาบริเวณเอเชียตะวันออกเแียงใต้ประสบปัญหาการไปมาหาสู่ไม่สะดวกในการเดินเรือในมหาสมุทรแปซิฟิก ความบาดหมางระหว่างประเทศเพื่อบ้านในภูมิภาคนี้ ทำให้ ASA ต้องยุติลง ต่อมาในเดรือนสิงหาคม ปี ค.ศ. 1966 ได้มีการฟื้นฟูความสัมพันะ์ระหว่างกันใหม่โดยไทยได้เชิญรัฐมนตรีต่งประเทศของอินโดนีเซีย ฟิลิปินส์ มาเลเซีย และสิงคโปร์ มาร่วมประชุมในไทย ผละการประชุมทุกฝ่ายมีความพร้อมใจกันประกาศปฏิญญาอาเซียน เมื่อ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1967 ซึ่งเป้ฯการริเร่ิมจัดตั้งสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบัน ASEAN มีสมาชิก 10 ประเทศ..
         
 การรวมกลุ่ม ASEAN เป็นกุ่มคามร่วมมือที่มีการรวมกลุ่มกันในระดับภูมิภาคที่แต่ละประเทศมีความใกล้เคียงกันในลัษณะภูมิประเทศแต่มีความแตกต่างกันทั้งทางเศรษฐกิจ การเมืง ขณะเดียวกันก็มีพื้นฐานการผลิตที่ คล้ายคลึงกันคือด้านการเกษตร เมื่อมีการรวตัวกันระห่างประเทศที่มีปัจจัยการผลิตขึ้นปฐมภุมิ เพื่อที่จะจำหน่ายกับประเทศที่เป้นผุ้ผลิตสินค้าทุติยภูมิ อำนาจการต่อรองก็มากขึ้นดีก่าที่จะต่อรองเพียงประเทศเดียว
            การรวมกลุ่ม ASEAN เป้นการรวมกลุ่มเข้าสู่กลุ่มการต้าเสรีและไทยก้เป็นส่วนหนึ่งขอ ASEAN ที่ต้องปฏิบัติตามข้อตกลงต่างๆ ให้สอดคล้องกับกลุ่มซึ่งการวมกลุ่มก็เพื่อที่จะเสริมสร้างและรักษาผลประโยชน์ทางเศราฐกจร่วมกันโดยเฉพาะขยายลู่ทางการค้าระหว่างกันให้มีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น ดดยลดหรือยกเลิกอุปสรรคตลอดจนข้อกีดขวางทางการต้าทั้งอุปสรรคที่อยู่ในรูปภาษีศุลกากรและอุปสรรคที่มิใช่ภาษีศุลกากร ซึ่งการรวมกลุ่มได้มีการกำหนดการใช้อัตราภาษีพิเศษร่วมกันอันเป็นกลไกสำคัญในการลดภาษีสินค้าที่มีการเปิดตลาอแก่กันซึ่งเป้นเส่งิที่ประเทศสมาชิกต้องปฏิบัติตาม และปจจุบันับว่า ASEAN เป้นกลุ่มความร่่วมมือที่ประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง
          การรวมกลุ่มของ ASEAN ยังคงยึดแนวหน้าที่นิยม โดยยังไม่่อยมีทิศทางหือเป้าหมายเด่นชัดนักเพราะส่วนใหญ่แต่ละประเทศต่างก็มุ่งแต่ประโยชน์สู่ประเทศตนเพระระดับการพัฒนาไม่แตกต่างกันมากนักประกอบกับเป็นประเทศที่มีลักษณะการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมที่มีปัจจัยการผลิตพื้นฐานคล้ายๆ กันจึงทำให้การส่งออกสินค้าทักจะเป้นสินค้าประเภทเดียวกันย่อมทำให้เกิดการแข่งขันแย่งตลาดสินค้ากัน ไม่สามารถจะนำสินค้ามาแลเปลี่ยนกันได้ และยะวยึดแนวของทฤษฎีสัมพันธ์นิยม ที่มีการติดต่อสื่อสารตลอดจนความสัมพันะ์ต่อกันระหว่างปะชาชนประเทศสมาชิกน้อยมาก เนื่องจากขาดวัฒนธรรมร่วมกันประกอบกับความรู้สึกชาตินิยมีมาและยัวไม่ค่อยพร้อมมนการรวมกลุ่มเนื่องจกาขาดสามัญสำนึกของภูมิภาคนิยมจึงหาความเป็นเอกภาพได้ยาก

             - บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "ผลกระทบของการใช้เงินสกุลยูโรต่อการต้าระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป" โดย สุเทพ วันอ่อน.
         

วันจันทร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2561

Integration Theory

            ทฤษฎีการรวมกลุ่ม
            เชิงรัฐศาสตร์ แนวควาคิดของการรวกลุ่มระหว่างประเทศเร่ิมต้นตรั้งแรกในทวีปยุโรปในช่วงศตวรรษที่ 14-16 โดยมีจุดประสงค์เพื่อที่จะรวมยุโรปตะวันตกเข้าด้วยกัย การรวมตัวดังกล่าวมีลักษณะของการผสมผสานกันในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยมีนักทฤษฎีต่างๆ ให้ความหมาย ดังนี้
          - "เดวิด มิทรารี้ นับเป็นผู้บุกเบิกงานค้นคว้าเกี่ยวกับทฤษฎีการรวมตัวระหว่างประเทศโดยได้อาศัยประสบการณ์จากสงครามโลกทั้งสองครั้งมาสรุปและตั้งเป็นข้อสมมุติฐานว่า ระบบรัฐชาติเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดสงครามขึ้น เนื่องจากแต่ละรัฐจำเป็นต้องแข่งขันกันเืพ่อผลประโยชน์ทางเศณาฐกิจสังคม และเพื่อการส่งเสริมสวัสดิการภายในของแต่ละรัฐ การแข่งขันระหว่างรัฐต่างๆ นี้เองที่เป้นชนวนของสงครามและความขัดแย้งระหว่างประเทศ ดังนั้นหนทางจรรโลงสันติภาพของโลกจึงอาจกระทำได้โดยการจัดตั้งองค์กรกลางเฉพาะกิจขึ้นมา เพื่อทำหน้าที่แบ่งสรรผลประโยชน์และแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่นานาชาติเผชิญอยู่ร่วมกัน
           และเสนว่าความร่วมมือในสาขาใดสาขาหนึ่งจะ่งเสริมให้เกิดความร่วมือในสาขาอื่นๆ ติดตามา..ทั้งนี้ แนวคิดของการรวมกลุ่มของ มิแทรนี้ สามารถนำมาอธิบายลักษณะการรวมตัวของสหภาพยุโรป
         
- คาร์ล ดับเบิลยู. เดียทสซ์ ได้ให้ความมาหยขงอากรรวมกลุ่มว่าหมายถึง การสร้างประชาคมที่มีความมั่นคง ดดยการทำให้ผยู้ที่อยุ่ในประชาคมมีความรุ้สึกว่าอยู่ในประชาคมเดียวกันและประชาคมประกอบด้วยสภาบันต่างๆ ที่กำหนดขึ้นอย่างเป้นทางการและไม่เป็นทางการภายในประชาคมมีประเพณีต่างๆ ที่ปฏิบัติต่อกันมานาน สภาบันและประเพณีปฏิบัติเหล่านี้จะต้องแข็งแรงและครอบคลุมขอบเขตกว้างขวางพอที่จะควบคุมให้การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆที่จะเกิดขึ้นภายในกลุ่มสมาชิกเป็นไปอย่างสันติและมีลักษรแน่นอนในช่วงที่นานพอสมควร เขาเสนอข้อสมมุติฐานของตนไว้ว่าประชาคมระหว่างประเทศ จะเกิดขึ้นเมื่อใดนั้นสามารถตัดสินใได้จากปริมาณการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างที่เป้นสมาชิกของประชาคมนั้น ๆที่จะเกิดขึ้นภายใกลุ่มสมาชิกเป็นไปอย่างสันติและมีลักษณะแน่นอนในช่วงที่นานพอสมควร เดียทสซ์ ได้เสอนข้อสมมติฐานของตนว่าประชาคมระหว่งประเทศ จะเกิดขึ้นเมื่อใดนั้นสามารถตัดสินได้จากปริมาณการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เป็นสมาชิกของประชาคมนั้นๆ นอกจากนี้ เขาเชื่อว่า เงื่อนไขที่จะทำใหหน่วยการเมืองต่างๆ รวมกลุ่มเป็นประชาคมที่มีความมั่นคงได้นั้นประกอบด้วย
            การมีค่านิยมสำคัญๆ สอดคล้องกันและมีวิถีชีวิตในลักษณะดียวกัน
            การตั้งความหวังร่วมแันบางประการเพื่อรวมตัวกัน และพร้อมที่จะร่วมรับภาระอันเกิดจากการรวมตัวกันนั้น
           เมื่อรวมกันแล้วหน่วยที่เป็นสมาชิกอย่างน้อยบางหน่วย จะต้องมีความสามารถด้านการบริหาร และด้านการเมืองสูงขึ้น
           หน่วยที่เป็นสมาชิกอย่างน้อยบางหน่วย จะต้องมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้น และจะต้องจัดตั้งแขตแกนกลางภายใน
            สมาชิกของหน่วยการเมืองมีการติดต่อกันระหว่างหน่วยอย่างต่อเนื่อง
            ชนชั้นนำทางสังคม จะต้องเพิ่มจำนวนมากขึ้น อันเป็นผลของการรวมตัวกันในหมู่ชนชั้นนำทางสังคมจากแต่ละหน่วยการเมือง
            การติดต่อสัมพันะ์กันระหว่างสมาชิกประชาคมจะมีหลายลักษณะด้วยกัน
            มีการเคลื่อนไหวของสมาชิกในประชาคึม อยุ่เสนอ
            ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการรวมตัวกันเป็นกลุ่มประชาคมจะต้องรูปแบบของการรวมตัวกันที่มีลักษณะของค่านิยมวิถีชีวิตต่างๆ คล้ายคลึงกัน มีการติดต่อสื่อสารกันและมักจตะมีหน่วยงานขององค์กรกลางที่เป็นหน่วยงานหลักตั้งอยุ่ รวมทั้งมีการเคลื่อนไหวของสมาชิกระหว่างชนชั้นที่เีก่่ยวข้องโดยมีการติดตอสื่อสารเป็นตัวบ่งชีถึงการก่อตั้งประชาคม ซึ่งในกรณีของกลุ่มสหภาพยุดรป จะพบว่ามัลักษณธของการรวมกลุ่มที่ใกล้เคียงกันด้านพื้นฐานอาชีพและเป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมเป้นส่วนใหญ่ถึงแม้บางประเทศจะมีความแตกต่างกันในด้านระดับการพัฒนาแต่ก็ยังมีความใกล้เคียงกันเพราะมีการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีระหว่งกัน...
          - โจฮาน กาลทัง ได้อาศัยแนวทางการศึกษาตามแบบของ เดียทสซ์ โดยใช้การติดต่อสื่อสารเป็นสื่อในการรวมตัวระหว่งชาติต่างๆ และได้เสนอนแวความคิดของตนโดนแยกการรวมตัวระหว่างประเทศออกเป็น 4 ระดับได้แก่
              1. การรวมตัวทางค่านิยม คือการรวมตัวของชาติต่างๆ โดยถือเอาค่านิยมเป็นหลักสำคัญในการรวมตัว เขาได้สร้างตัวแบบการรวมตัวประเภทนี้ไว้ด้วยกัน 2 ประเภทคือ
                  1.1 โมเดลการรวมตัวของหน่วยการเมืองที่มีความสอดคล้องกันในค่านิยมเกี่ยวกับผลประโยชน์ และ
               
1.2 โมเดลการรวมตัวกันซึ่อยู่บนพื้นฐานของการจัดลำดับแนวความคิดในการแห้ปัญหาโดยสันติวะฺีเพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วมกัน
              2. โมเดลการรวมตัวของหน่วยการเมือง แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
                           - โมเดลการรวมตัวของหน่วยการเมืองที่มีลักษณธคล้ายคลึงกัน ซึ่งมีเงื่อนไขที่จำเป็น ได้แก่ ความคล้ายคลึงกันด้านโครงสร้างของประชากรการเมือง และเศรษฐกิจ
                           - โมเดล กระบวนการพึ่งพาทางการเมือง เศราฐกิจและวัฒนธรรมระหว่างตัวแดงทางการเมืองต่างๆ ที่เพ่ิมขึ้นจนทำให้ตัวแสดงต่างๆ เหล่านั้นมีความผุกพันกันมากขึ้นจนกระทั่ง สาถนการณ์ที่เกิดกับตัวแสดงตัวหนึ่งมีผลกระทบกระเทือนถึงตัวแสดงอื่นๆ ด้วย
              3. การรวมตัวในลักษณะของการแลกเปลี่ยนระหว่างสวยย่อยกับส่วนรวม หมายถึง การรวมตัวของหน่วยการเมืองใดก็ตามเข้าสู่โครงสร้างทางการเมืองที่ใหญ่กว่าและก้าวหน้ากว่าเช่น การรวมตัวระหว่างประเทศที่กำลังพัฒนากับประเทศอุตสาหกรรม การรวมตัวลักษะนี้สามารถแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ
                   3.1 โมเดลการรวมตัวของัฐต่างๆ โดยแต่ละรัฐสมาชิกเป็นผุ้จัดสรรทรัพยากรของตนป้อนให้แก่หน่วยการเมืองกลาง เพื่อให้หน่วยการเมืองนั้นดำรงอยู่ได้
                   3.2 โมเดล มีลักษณะในทางตรงกันข้ามกับกรณีแรก คือหน่วยการเมืองกลางที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นใหม่จะเป้นผู้จัดสรรผลประโยชน์ให้แก่องค์ประกอบย่อยเพื่อให้ระบบสามารถอยู่ได้
                  อมิไท เอ็ทไซนิ อธิบายว่าการรวมตัวของรัฐต่างๆ เข้าด้วยกันจำเป็นต้งมีเงื่อนไขเบื้องต้นต่างๆ ดังนี้
                          1. มีเจตนารมณ์ของผุ้นำทางการเมืองของหน่วยการเมืองย่อย เป็นเงื่อนไขสำคัญที่สุดและนับเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการรวมตัว
                          2. มีการติดต่อสื่อสารและการตอบสนองต่อสภานการณ์ใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กล่าวคือ มีการผนึกำลังเพ่อตอบโต้สถานกาณ์ที่เกิดขึ้ร่วมกัน นอกจากนั้น ยังจำเป้นต้องมีการสร้างระบบผู้แทน ซึ่งจะเป็นตัวเร่งการรวมตัวให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
                - เอินซ์ บี. แฮซ ได้เสนอข้อสมมุติฐานที่แตกต่างไปจากแนวความคิดของนักวิชาการต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างตน โดย แฮซ เชื่อว่ารัฐต่างๆ รวมตัวเข้าด้วยกันก็เพราะต่างหวังผลตอบแทน มิใช่การตระหนักถึงผลประโยชน์ร่วมกัน และการขยายความร่วมมือกันออกไปนั้นก็มิได้เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติแต่เกิดขึ้นเพราะการเรียกร้องและความประสงค์ ของหน่วยงการเมืองที่รวมตัวเข้าด้วยกัน แฮซ กล่าวเนาิมแนวคิดของ เดวิด มิแทนี้ ว่าการร่วมมือกันทางเศราฐกิจและสังคมนั้นจำเป็นต้องมีองค์กรคอยเสริมความร่วมมือกันทางด้านนี้และด้านอื่นๆ ให้มากขึ้นจนกลายเป็นองค์กรที่มีอำนาจทางการเมืองในที่สุดและในการรวมตัวระหว่างประเทศนั้นสามารถทได้อย่างรวดเร็วถ้าทุ่งความสนใจไปที่เรื่องสวัสดิการ โดยได้เสนอว่าประเทศที่รวมตัวกันควรจะอยู่ในภูมิภาคเดียวกันแ ะลมีสภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงกันขณะที่เจ้าหน้ที่และผุ้ชำนาญการเกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งควรจะร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ของรัฐด้้วยเพื่อทำหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด....
               จะเห็นได้ว่าจากคำนิยามเกี่ยวกับการรวมกลุ่มข้างต้นสอดคล้องกับการรวมตัวของกลุ่มสหภาพยุโรป เนื่องจากกลุ่มประเทศใน อียู ที่รวมตัวกันจะมลัษะทางด้านสังคม การเมือง และเสณาฐกิจที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ การเป็นประเทศอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้องมีการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีระหว่างกัน และในการรวมกลุ่มจะมีส่วนช่วยให้เกิดการแบ่งแยกกันผลิตตามความถนัดของแต่ละประเทศ ซึ่งนับเป็นการประสานผลประโยชน์ภายในกลุ่ม ขณะที่ในด้านเศราฐกิจของ อียู ถือว่ามีระดับของการพัฒนาที่ใกล้เคียงกันทำให้สามารถออกกฎระเบียบมาบังคับใช้ร่วมกันโดยไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไ้เรียบหรือเสียเรปียบ และภายหลังจากการรรวมกลุ่มกันแล้วก็มีการจัดตั้งองค์กรกลาง คือ คณะมนตรียุโรป ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมและประสานความร่วมมือระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม....
 
            - บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "ผลกระทบของการใช้เงินสกุลยูโรต่อการต้าระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป" โดย สุเทพ วันอ่อน 

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...