วันอาทิตย์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2561

Terrorism

           การก่อการร้าย เป็นคำที่ยังไม่มีการจำกัดความในกฎหมายอาญา ที่มีผลผูกมัตามกฎหมายและได้รับการยอมรับอยางสากล การจำกัดความโดบทั่วไปของการก่อการร้ายนั้นหมายถึงเพียงพฤติการณ์รุนแรงซึ่งมีเจตนาที่จะก่อให้เกิดความกลัวกระทำการเพื่อจุดประสงค์ทางศาสนา การเมืองหรืออุดมกาณ์อยางใดอย่างหนึ่ง เป็นการกระทำที่จงใจหรือไม่ใสใจต่อความปลอดภัยของผุ้ที่ไม่เกี่ยวข้อง(พลเรื่อน) และกระทดดยองค์กรที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐใดๆ
         "การก่อการร้าย" เป็นข้อกล่าวหาทางการเมืองและอารมณ์ ซ฿่งยิ่งเป้นการทำให้เการให้คำจำกกัดความที่แม่นยำยิ่งยากขึ้นไปอีก จากการศึกษาพบการจำกัดความ "การก่อการ้าย" มากกวา 100 แบบ แนวคิดของการก่อการร้ายนั้นอาจเป็นหัวข้อโต้เถียงด้วยตัวของมันเองเหนื่องจากมันถุกใช้อย่างบ่อยครั้งโดยหน่วยงานของรัฐเพื่อลดความชอบธรรมของศัตรูการเมืองหรืออื่นๆ และมีศักยภาพที่จะเพ่ิมควาชอบธรรมให้แก่รัฐในการใช้กำลังกับผู้ต่อต้าน ซึ่งการใช้กำลังเช่นนี้อาจถูกอธิบายว่าเป้นการสร้าง "ความกลัว" ขึ้นโดยศัตรูการเมืองนั้นด้วย
         การก่อการร้ายเป็นการกระทำ โดยองค์กรการเมืองอย่างกวางขวางเพื่อสนับสนุนเป้าหมายของตนเองซึ่งมีการดำเนินการทงพรรคการเมืองฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา กลุ่มชาตินิยม กลุ่มศาสนา แลุ่มปกิวัติ และรัฐบาบซึ่งปกครอง ลักษระทั่วไปคอการใช้ความรุนแรงอย่างขาดการพิจารณาต่อผุ้ทีไม่เกี่ยวข้องเืพ่อจุดประสงค์ในการเพ่ิมความเป้นที่รู้จักให้กับกลุ่มแนวคิด หรือบุคคลth.wikipedia.org/wiki/การก่อการร้าย
          ความเป็ฯมาของการก่อการร้าย
          ในอดีตรูปแบบการก่อการร้ายจะมีลักษระเป้ฯการกระทำที่โหดเหียมของนัรบทางศาสนาที่ังหารพลเรื่อน เช่นในศตวรรษที่ 1 ชาวปาเลสไตน์ และยิวหัวรุนแรง มักทำการฆ่าตัดคอชาวโรมต่อหน้าสาธรณะชน ในศตวรรษที่ 7 สาวกทูกกี ในอินเดียจับพวกเร่ร่อนไปสังหารเพื่อบูชายันต์ต่อพระกาลีของศาสนาฮินดู หลังจากศตวรรษที่ 19 การก่อการ้ยก็เข้าสู่ยุคใหม่ โดยรากของการก่อการร้ายยุคใหม่มีต้นกำเนินจากสงครามปฏิวัติ โดเฉาพะการปฏิวัติฝรั่งเสศ ที่ถูกเรียกว่าเป็นยุคแห่งความหวาดกลัวที่ฝ่ายปฏิวัติเชื่อ
ว่าวิะีการที่ทำให้เกิดความหวาดกลัวนำมาซึ่งอิสรภาพ ในขณะที่ฝ่ายรัฐบาลก็พยายาที่จะกำจัดฝ่ายตรงข้ามด้วยวิธีรุนแรง ดังเช่นการลงโทษด้วยเครื่องสังหารที่โหดเหี้ยมอย่างกีโยติน ต่อมาการก่อการร้ายยังได้รับอิทธิพลจากการกระตุ้นของ คาล์ค มาร์ก และ ฟริคดริช อีเกลส์ โดยประยุกต์การก่อการร้ายเป็นศิลปะการทำสงครามปฏิวัติ เืพ่อใช้กับการเคลื่อนไหวของกลุ่มสังคมนิยม ในการที่จะต่อต้านระบบผูกขาดของลัทธิทุนนิยม ซึ่งเริ่มที่จะปฏิวัติสังคมในรัสเซียในช่วงปี 1900-14
          หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การเกิดขึ้นของลัทธิต่อต้านจักรวรรด หรือลัทธิชาตินิยม และกลุ่มแบ่งแยกดินแดนทางเชื่้อชาติ ที่แพร่ออกไปอย่งกว้างขวางทั้งในทวีปเอเชีย อัฟริกา และประเทศในแถบตะวันออกกลาง เช่น ขบวน Irgun และ ขบวนการ ปาเลไรล์ ลิเบอร์เรชั่น ออแกนิเซชัน (พีแอลโอ) ในตะวันออกล่าง ขบวนการ อุสคาดิ ด้า อัสคาทาสุนะ (อีทีเอ) ในสเปน, กลุ่ม เจมา อิสะลามิยะ (เจไอ) และ ปรี เอคซ มูฟเม้นต์ (จีเอเอ็ม) ในอินโดนีเซีย ขบวนการ โมโร อิสลามิค ลิเบอร์เรชัน (เอ็มไอแลอเอฟ) ในฟิลิปปินส์ ขวบนการ แคมพูแลน มิลิแทน มาเลเซีย (เคเอ็มเอ็ม) ในมาเลเซีย ขบวนการ ฟรอนส์ ดิ ลิไบเรชั่น ดู เคอค'เบค (เอฟแอลคิว) ในแคนาดา และกลุ่ม ดมลุกะ ซึ่งกลุ่มเหล่านี้ได้ก่อตั้งขึ้นด้วย
วัตถุประสงค์ต่างๆ เช่นเพื่อต่อต้านการปกครองจากมหาอำนาจตะวันตก หรือเพื่อการต่อสู้เพื่อความถุกต้องทางการเมือง ทั้งนี้การต่อสู้ในลักษระที่เป็นการต่อสู้เพื่ออิสรภาพ และเพื่อเรียกร้องสิทะิในการตัดสินใจด้วยตนเอง มัจะได้รับการเห็นใจจากสังคมโลก และยอมรับว่าการกระทำในลักษณะนี้ไม่ใช่การก่อการราย แต่เป็นการกระทำของนักสู้เพื้ออิสรภาพ
           ในปัจจุบันการก่อการรร้ายมีการเปลี่ยนแปลงไปจากการก่อการร้ายในอดีตที่มีการปฏิบัติอยู่แต่ภายในประเทศไปสู่การปฏิบัติการในระดับสากล วิวัฒนาการของการก่อการร้ายทำให้กิดเครื่อข่ายที่ขยายไปอยางไม่มีขบเขตเช่นเดยวกับโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ทำให้การก่อการร้ายได้แพร่ออกไปอย่างกว้างขวางทั่วทุกมุมดลก รวมท้งเหตุที่ชาติตะวันตกได้ดำเนินนโยบายต่างประเทสในรูปแบบที่เรียกว่การสมรุ้ร่วมคิดกันอย่างกว้างขวางระดับโลก เพื่อแสวงหาและนำมาซึ่งความร่ำรวยให้แก่ประเทสของตน ดังนั้นประเทศต่างๆ ที่ถุกเอารัดเอกเปรียบแบบไม่มีทางสู้จึงต้องเลือกวิธีการต่อสู่โดยใช้การก่อการร้าย และผลักดับให้เกิดเป็นการก่อกรรร้ายรูปแบบใหม่ที่มีการสนับสนุนจากรัฐ ดยเฉพาะปัจจุบันประทศอิหร่าน ลิเบียและซีเรีย นับเป็นประเทศเบื้องหลังที่ได้เขามาตอสุ้กับกลุ่มประเทศตวะันตก
แทนกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ที่ล่มสลายไป แต่เนื่องจากประเทศเหล่านี้ไม่มีศักยภาพทางทหารพอที่จะเที่ยวได้กับมหาอำนาจจากตะวันตกจึงต้องหาวิธีการตอสู้ที่จะทำให้รัฐที่อ่อนแอกว่าสามารถเผชิญหน้าศัตรูที่มีอำนาจมากว่าดดยไม่ต้องเสี่ยงกับการถุกตอบโต้ วิธีการสนับสนุนขบวนการก่อการร้ายอยางลับเช่นนี้เป้นสงครามที่เรียกว่าสงครามซ่อนเร้นหรือสงครมตัวแทน
          การก่อการร้ายในยุคใหม่ถึงจะมีการสนับสนุนจากรัฐ แต่ขบวนการก่อการร้ายเองก็มีการปฏิบัติการและการบริหารองค์กรที่ไม่ขึ้นกับการควบคุมจากรัฐที่ให้การสนับสนุน รวมทั้งมีการบริหารจัดการเครื่องข่ายที่นอกจากจะมีความแยบยลบในระดับสากลแล้ว ยังมีการบริหารจัดการชั้นสูงและซับซ้อนโดยอาศัยยกลยุทธ์ในการหาสมาชิกเช่นเดียวกับธุรกิจขายตรงที่มีอุดมการณ์เป็นผลิตภัฒธ์ เมื่อสมาชิกยินยอมซือผลิตภัฒฑ์ก็จะได้รับกาฝึกลยุทธการขายที่แทนด้วยยุทธวิธีการก่อการ้ายโดยมีการพัฒนาให้มีการใช้เทคโนโลยีในพื้นที่ รวมทั้งมีมีการฝึกผู้ที่เป็นสมาชิกโดยการส่งไปผอบรมตามสูน์เครื่อข่ายในพื้นที่และสูนย์ระดับนานาชาติที่อยุ่ในประเทศอย่างเช่น ลิเบีย ซีเรีย ซุดาน อัฟกานิสถาน โซมาเลีย และปัจจุบันคาดว่าได้มีการเกิดศูนย์ฝึกใหม่ที่มีสนามฝึกที่สมบูรณ์ทันสมัยเสมือนจริงคือศุนย์ในอิรัก
          จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้ขอบเขตของการก่อการร้ายเปลี่ยนจากเหจุกาณ์รุนแรงที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งทางเชื้อชาติหรือการเมืองที่ไม่ไปสู่เหตุการณ์ที่ประกอบด้วย องค์ประกอบที่หลากหลายมากขึ้น มีการนำการก่อการร้ายไปเป็นความขัดแย้งระหว่างกลุ่มไม่ใช่รัฐและกาาร่วมมือกันอย่างกว้างขวางกระจายไปทั้งจนเป็นความเคยชินที่ผุ้ก่อการร้ายไม่จำเป็นต้องปกปิดชื่อกลุ่มตนเองว่าเป็นกลุ่มก่อการ้าย หรือการประกาศว่ากลุ่มของจะใช้ยุทธวิธีก่อกรร้าย ในขณะที่ในยุคก่อนๆ จะหลักเลี่ยงที่จะเปิดเผยตนเอง
           จากประวัติศาสตร์ของการเกิดการก่อการร้ายตั้งแต่อดีตมีสิ่งหนึ่งที่ไม่มีการเปลี่ยนแลงคือการก่อการร้ายได้ไดเป็นวัตถุประสงค์สุดท้ายที่ทำไปเพียงเื่พื่อกการำร้ายและสร้างคามหวากกลับต่อประชาชน แต่จะมีวัตถุประสงค์อื่นที่เป็นจุดมุ่งหมายสุดท้ายของขบวนการ ไม่ว่าจะเป้นการแบ่งแยกดินแดน การให้ได้มาซึ่งเสรีภาพ หรือการปกป้องอุดมการณ์และศาสนา ดังนั้นการก่อการร้ายจึงเป็นวิธีการหนึ่งของการทำสงครามที่ไม่แตกต่างไปจากวิะีการใช้กำลังทางทหารเข้าโจมตี
         
เมื่อพิจารณาว่าปัจจุบันไม่มีกาเผชิญหน้าระหว่งขั้วมหาอำนาจเ่นในยุคสงครามเย็นมวลมนุษย์ชาติก็น่าจะได้รับการผ่อนคลายจากถัยสงครามได้ รวมท้้งจากชยชนะของฝ่ายเสรีประชาธิปไตยก็น่าจะเป็นเครืองประกันการที่โลกจะเข้าสู่ยุคสันตุอย่างแท้จริง แต่ในความเป็นจริงความมั่นคงโลกย บังคงต้องเผชิญกับภับคุกคามจากกลุ่มก่อการร้ายที่มีอยู่ในประเทสต่างๆ ทั่วโลก ...
               - บางส่วนจาก บทความ "การก่อการร้ายในมิติการต่อสู้แบบทหาร"  โดย นาวาเอกกิตติพงษ์ จันทร์สมบูรณ์
           แนวโน้มการก่อการร้ายโลก
           ข้อแตกต่างประการหนึ่งระหว่างกลุ่มอัลไกดา กับ "ไอเอส" ในแงของปฏิบัติการ่ก่อการรุนแรงคือ ในขณะที่อัลไกดามุ่งเป้าโจมตี ศัตรูทางไกล อันหมายถึงมหาอำนาจและชาติพันธมิตรตะวันตกเสียเป็นส่นใหญ่ แต่กลุ่มไอเอสกลับเปิดศึกทั้ง 2 ด้านไปพร้มๆ กัน ทั้งศัตรูทางไกลและศัตรูทางใกล้ อันหมายถึงกลุ่มประเทศมุสลิมที่ไอเอสมอง่ามีรัฐบาลนอกรีต ไม่ทำตามหลักการศาสนา
           ด้วยเหตุนี้ การตั้งรรัฐอิสลามของไอเอสขึ้นมาพร้อมกบการสถาปนาเคาะลีฟะฮ์ จึงไม่ได้กล่ายเป้นภัยคุกคามต่อตะวันตกเท่านั้น แต่ยังเป็นภัยคุกตามและความท้ำายต่อดลกมุสลิมในภาพรวอมอีกด้วย ภัยคุกคามอย่างใหย่หลวงต่อโลกมุสลิมอาจดุได้จากสถิติการก่อการร้ายของไอเอสที่สำนักข่าวซ๊เอ็นเอ็นได้รวบรวมไว้เกี่ยวกับปฏิบัติการของไออสนอกพื้นที่ซีเรียและอิรัก
            ข้อมูลระบุว่านับตั้งกลุ่มไอเอสประกาศตังวป็นรัฐอิสลามเมื่อ มิถุนายน 2014 กลุ่มนี้ได้ก่อเหตุไปแล้วรวม 75 ครั้ง ใน 20 ประเทศทั่วโลก โยมีผุ้เสยชีวิตอย่างนอ้ย 1,280 คน บาดเจ็บอีกว่า 1,770 คน พื้นที่ก่อเหตุส่วนใหญ่เป็นประเทศมุสลิมและผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บส่วนใหญ่ก็เป็นผู้นับถือศษสนาอิสลาม
            ที่น่าสนใจคื อซีเอ็นเอ็นได้แ่บ่งประเภทการก่อการร้ายของกลุ่มไอเอสเป็น 2 แบบ คือ การก่อการร้ายโยมาชิกของกลุ่มหรือสาขาของกลุ่มตามดินแดนต่างๆ และากรก่อการร้ายดดยบุคคลที่ได้ับแรงบับดางใจจากลุ่ม ไอเอส จากสถิติที่ซีเอ็นเอ็นให้ไว้พอสรุปป็นแนวโน้มการก่อการร้ายตามที่ รุสตั้ม หวัสู นักศึกษาปริญญาเอกมหาวิทยาลัยมุสลิมอาลีการ์ ประเทศอินเดีย ไ้แสดงความคิดเห็นเอาไว้อย่างน่าสนใจว่า
           
- พื้นที่เป้ากมายหลักในการก่อการร้ายดยกลุ่มไอเอสคื อกลุ่มประเทศตะวันออกกลาและแอฟริกาเหนือและทวิปยุโรป
            - การก่อการร้ายโดยตรง หรือจากลุ่มสาขาของไอเอสมีจำนวนครั้งมากกว่าเหตุก่อการร้ายยบุคคล กลุ่มบุคคลที่ได้รับแรงบันดาลใจจากลุ่มไอเอสโดยเแพาะกลุ่มประทเศตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ส่วนในทวีปอื่นๆ นั้น การก่อการร้ายส่วนใหญ่กระทำใดดยบุคล/ กลุ่มบุคคลที่ได้รับแรงบันดาลใจจากลุ่มไอเอส
            - การก่อการร้ายโดยกลุ่ม ไอเอส คุกคาม ประชาชนทุกศาสนา ไม่ว่าจะเป้นเหตก่อการร้ายในฝรั่งเศสที่ีผุ้เสียชีวิต 130 ศพ หรือเหตุระเบิดสองมัสยิดในเยเมนที่มีผุ้เสียชีวิต 137 ศพ เหตุระเบิดในตุรกี ซึ่งมีผุ้เสียชีวิต 97 ศพ เหตุระเบิดเครืองบินรัสเซียนเหนือน่านฟ้าอียิปต์ ซึ่งมีผุ้เสียชีิวิต 224 ศพ เหตุระเบิดในเลบานอน ซึ่งมีผุ้เสียชีิวิต 43 ศพ
          - ประเทสที่มีสาขาหลักของกลุ่ม ไอเอส อย่างอียิปต์ ลิเบีย เยเมน เสี่ยงต่อภัยคุกคามจากการอ่การร้ายมากที่สุ ด กรที่กลุ่มไอเอสเร่ิมเสียฐานการยึกครองและปฏิบัติการในซีเรียและอิรัก ทำให้มีแนวดน้มที่กลุ่มไอเอสจะปกิบัตการในพื้นที่อื่นๆ มากขึ้น ซึ่งทำให้ไอเอสยังคงยึกหน้าหลักในกระแสข่าวการก่อการ้าย
          - ูปแบบการก่อการร้ายไดเปลี่ยนไปจากการเน้นก่อเหตุรุนแรง หวังจำนวนผุ้เสียชีวิจำนวนมากว่งแยผนาน อย่างที่กลุ่มอัลไกดาเคยทำ มาเป้นการก่อการร้ายที่มีรุปแบบที่ยืดหยุ่น เน้นระเบิดพลีชีพ ในขำนวนผุ้ก่อเหตุและวบประมาณไม่มากอย่างที่กลุ่มไอเอสทำhttp://www.komchadluek.net/news/politic/225904
           "ก่อการร้ายในยุโรป" กับการ "ชั่งน้ำหนักเสรีภาพ และความมั่นคง
            การเปิดเสรีภาพทางพรมแดน ภายใต้กลุ่ม เซงเก้น ของ 26 ประเทศในภุมิภาคยุดรป ให้ประชาชนสามารถเดินทางข้ามรพรมแดนได้อย่างอินระน้้น เป้นสัญลักษรณ์แห่งเสรภ่พในดินแนดตะวันตกแห่งนี้มาอย่างยาวนาน
         
ในแต่ละวันประชาชนนับล้านข้ามพรมแดนประเทสหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง ระบบที่มีอายุยาวนานถึง 31 ปี หลอมรวมประชาชนจำนวน 400 ล้านคนเข้าด้วยกัน กระตุ้นเศราฐฏิจสร้างเงิน สร้างงานในเขตเศรษฐกิจท่ใหย๋ที่สุดในโลกแห่งนี้ได้อย่งมหาศาลทว่า ในช่วงที่ผ่านม ท่ามกล่างภัยก่อการร้ายที่ลุกลามไปทั่วดลก การเปิเสรีัดงกล่ากลัลกลายเป้น "จุดอ่อน" ที่สร้างหายนะ หลังเหตุการณ์คนร้ายขับรุบรรทุกพุ่งชนตลดคริสต์มาส ในกรุงเอบร์ลิน ประเทศเยอมรนี เมื่อวันที่ 19 ธันวาคมที่ผ่านมา ส่งผลให้มีผุ้เสียชีวิตนับสิบราย "อานิส อัมรี" กลับสามารถเดินทางข้ามแดนได้ถึงสองประเทศโดยไม่ถุกตรวจพบ
           อัมรี เป็นผุ้อพยพผิดกำมหายจากตูนีเซียเข้าสุ่ภูมิภาคยุโรป และอยุ่ในรายชือผุ้ที่ต้องเผ้าระวังของทางการเยอมนร หลบหนีการจับกุมอยุ่ไดเป้นเวลากว่า 3 วัน ลอบเข้าประเทศฝรั่งเศสพร้อมปืนพก ลอบผ่านเข้าชาแดนอิตาลีก่อจะต้องสะดุดกับด่านตรวจเอกสารประจำควที่ตั้งขึ้ตรมปรกดิใน กรุงมิลาน จุดที่อัมรี เปิดฉากยิงต่อสุ้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจจนเสียชีวิต
          การเล็ดลอดสายตาเจ้าหน้าที่ของอัมรี สร้างควมอับอายให้กับทางการเยอมรนี ฝรังเศส และอตลี สามาประเทศทางผ่านขอผุ้ต้องสงสัยก่อการร้ายเบอร์ 1  ในยุโรปในเวลานั้น
          โดยเฉาพะอย่างยิ่งประเทศฝรั่งเศส ประเทศซึ่งอยู่ระหว่งการเผ้าระวังสุงสุดหลังเหตุดจมตรกรุงปารีสเมื่อปีที่ผ่านมา
           ไบรซ์ เอด รายเวอร์ ผุ้เชีย่ยวชษญกฎหมายชาวเบลบเยียม จากมหาวิทยาลัยเกนต์ ระบุว่า ประชาะิไตยในยุดรปนั้นมีปัญหาในระดับพื้นฐานอยู่ เพราะรพบบกำมายมุ่งเน้นไปที่การลงโทผุ้ก่อกาชญา
กรรมมากว่าที่จะป้องกันการเกิดอาชญากรรม ขณะที่เจ้าหน้าที่ตำรวจ และหน่วยข่าวกรองให้ความสำคัยกับผุ้ต้องสงสัยที่มีภุมิหลังชัดเจนอย่างผุ้จัดหานักรบไอเอส หรือนักรบไอเอสที่เดนทากลับจากซีเรียและอิรักทไใก้ผุ้ต้องสงสัยที่มีประวัติน้อยกวาถุกมองข้ามไป "เสรีภาพไ ที่ดุเหมือนจะกล่ายเป็นควา "หละหลวม" ส่งผลให้เกิดการถกเถียงในหมู่นักากรเมืองยุดรป ด้วยเช่นกัน..
         อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ครั้งนี้ก็ยังำให้ นายกรับมนตรีอยเมนรี ผุ้ยืนยันในหลักการของอีู และสนับสนุนาการับผุ้ลี้ภัยสงครามซีเรีย ต้องตกที่นั่งลำบาก ท่ามกล่างกระแสต่อต้านผุ้อพยพ และการแสต่อต้านอำนาจเก่าแพร่กระจายไปทั่วยุโรป
         ส่งผลให้สถานการณ์การเลือกตั้งเยอรมนีของแมร์เคิล ที่จะมีขึ้นเริ่มไม่แน่นอน ความมั่นคง และการอพยพย้ายถ่ินจะเป็นประเด็นหลักสำคัญที่จถุกพูดถึงในการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นใน "เยอมนี" ฝรั่งเศส" และ"เนเธอร์แลนด์" สามประเทศสมาชิกผุ้ร่วมก่อตั้งอียู ในปี 2017 นี้อย่างแน่นอน ขณะทีความหวาดกลัวภัยก่อการร้ายนั้นอาจส่งผลให้ฝ่ายค้านใน "อิตาลี" เรียกร้องให้มีการเลือกต้งที่เร็วขึ้นหลักวิกฤตการเมื่อในประเทศ...https://www.matichonweekly.com/column/article_19959
             

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...