อาชญากรรม(ทาง)คอมพิเตอร์ หรือ อาชญากรรมไซเบอร์ หมายถึงอาชญากรรมใดๆ ที่เกี่ยว้องกับDr. Debarati Halder และ Dr. K. Jaishankarได้ยิยามอาชญากรรมไซเบอร์ไว้ว่าเป็น "ความผิดที่กระทำขึ้นต่อปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล ด้วยเหตุจูงใจทางอาญา ที่เจตนาทำให้เหยื่อเสื่อเสียชื่อเสียง หรือทำร้ายร่างกายหรือจิตใจของเหยื่อ โดยทางตรงหรือทางอ้อม โดยใช้เครื่อข่ายโทรคมนาคมสมัยใหม่ อาทิ อินเทอร์เน็ต ผป้องแช็ต อีเมล กระดานประกาศ และกลุ่มข่ายป และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (เอสเอ็มเอส/เอ็มเอ็มเอส) อาชญากรรมเช่นั้นอาจคุกคามความมั่นคงและสภาวะทางการคลังของรัฐ ปัญหารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมชนิดนี้ได้กล่ายมาเป้นปัญหารสำคญ โดยเฉพาะทีเกี่ยวข้องกับ การเจาะระบบเครื่อข่าย การละเมอดลิขสิทธิ์ สื่อลามกอนาจารเด็ก และการล่อลวงเด็ก นอกจานี้ยังมีปัญหาเรื่องความเป็นส่วนตัว เมื่อสารสนทเศที่เป็นความลับถุกสกัดกั้นหรือถูกเปิดเผย โดยทางกฎหมายหรือไม่ก็ตาม
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
คอมพิวเตอร์ และเครื่อข่ายอมพิวเตอร์ อาชญากรรม(บน)อินเทอร์เน็ต ก็เป็นอีกคำหนึ่งซึ่งหมายถึงการแสดงหาผลประดยชน์อย่างผิดกฎหมายบนอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์นั้นอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือก่ออาชญากรรม หรืออาจตกเป็นเป้าหมายของการกระทำก็ได้
อาชญากรรมออนไลน์ Cyber Crime หรืออีกหลายๆ ชื่อเรียก เป็นการกระทำที่ผิกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้มมูลที่ยู่บนระบบดังกล่าว สวนในมุมมองที่กว้างหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครื่อข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนีไม่ถือเปนอาชญากรรทางคอมพิวเตอร์ดดยตรง
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผุ้กระทำผิด ซึ่งจึดขึ้นที่กรงุเวียนนา เมื่อ เมษายน ปี พ.ศ. 2543 ได้มีการจำแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเช้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต การสร้างความเสียหายแก่ข้อมุลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การก่อกวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การบังยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครื่อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์
โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจมกรรมทรัพย์สินทางปัญญา พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมมุล และค้นคว้าเกี่ยวักบอาชญากรรมทางคอมพิเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บิรโภค นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เผยแพร่ความรุ้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนธยบายปัจจุบันและความพยายามในการแก้ปัญหานี้
อาชญากรรม ^ ประเภทดังกล่าวได้แก่
1. การเงิน อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถของอค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรมอิคอมเิร์ช(หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)
2. กาละเมิดลิขสิทธิ์ การคัดลอกผลงานที่มีลิชสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอิทเทอร์เทอร์เน็ตถูกมช้เป็นสื่อในการก่อาชญากรรม แบบเก่า ดดยการไจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดย ที่เกี่ยวขอ้งกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำหน่าายหรือผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้ับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
3. การเจาะระบบ การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครื่อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาตและในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)
4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวากดล้วเช่น เดียวกับการก่อการ้ายทั่วไป โดยการกระทำให้เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e3terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาะระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุุนแรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว
5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ ตามข้อกำหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกำหนด 47 USC 233 การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกรทำที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สำหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั้งโลและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้อ่กให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
6. ภายในโรงเรีย ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสำหรับการศึษาและสันทนาการ แต่เยาชนจำเป็นต้องได้รบทราบเีก่ยวกบวิะีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระต้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกบข้อกำหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีเหมาะสนในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิดhttps://www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx
hacker นักเลงคอมพิวเตอร์ หมายถึงผุ้เชียวชาญในสาขาคมอพิวเตอร์ด้วย โดยเฉพาะผู้ที่มีความรู้ในรายละเอียด หรือผู้ที่มีความเฉลี่ยวในการแก้ปัญหาจาข้อจำกัด ความหมายที่ใช้ในบริบทของคอมพิวเตอร์นั้นได้เปลี่ยนแปลงไปจากความหมายดั้งเดิม ดดยผุ้ใช้คำในช่วงหลังนั้นได้ใช้ในกความมหายที่กว้างออกไป รวมทั้งในบางครั้งยังใช้นความมหายที่ขัดแย้งกัน
ในปัจจุบัน "นักเลงคอมพิวเตอร์" นั้นใช้ใน 2 ความหายหลัก ในทางทีดี และไม่ดี ความมหายที่เป็นที่นิยมและพบได้บ่อยในสื่อนั้น มักไม่ดีี ดดยจะหมายถึง "อาชญากรคอมพิวเตอร์" ส่วนในทางที่ดีน้ั้น "นักเลงคอมพิวเตอร์" ยังใชในลักษณะของคำติดปาก หมายถึง ความเป็นพวกพ้อง หรือสมาชิกของกลุ่มคอมพิวเตอร์ และยังใข้หมายถึงกลุ่มของผุ้ใช้คอมพิวเตอร์ดดยเฉาพะโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถในระดับผู้เชียวชาญ
จากความหายที่แตกต่างข้างต้น จะเห็นได้ถึงความขัดแย้งในการใช้คำ บางกลุ่มที่ใช้คำนักเลงคอมพิวเตอร์นี้เพื่อเรียกกลุ่มของตน ก็ไม่ชอบที่คำนี้ถุกใช้ในความมหายที่ไม่ดี และแนะนำให้ใช้คำอื่น เช่น แบล็กแฮต หรือแคร็กเกอร์ เพื่อเรียกวอาชญากรคอมพิวเตอร์แทน ส่วนผุ้ที่ใช้คำนีในความหมายที่ไม่ดี ซึ่งเป้นความหายที่นิยมใช้กันนั้น ให้ความเห้นถึงความหมายในทางที่ดี นั้นนอกจากจะก่อให้เกิดความสับสนแล้วดุเหใือนว่าจะไม่เป้นนิยมอีกด้วยhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
Cyber War โลกไซเบอร์หรือ Cryberworld คำนี้นักวิจัยชาวญี่ปุ่น ได้เสอนไว้ตั้งแต่ปี 1998 และกลายเป็นภาพยนต์ที่ประสบความสำเร็จมากเรื่องหนึ่งในปี 2000 โลกไซเบอร์ประกอบด้วยส่วนที่สร้างขึ้นแบบจงใจให้เป็น และส่วนที่เกิดขึ้นเองแบบธรรมชาติเป้นดลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่เป็นได้ทั้งแบบเสมอืคือไม่จริง และจริง รวมถึงแบบผสม คือมีทั้งจิรงและไม่จริง เช่นการใช้ภาพเสมือนร่วมกับภาพจริงในการเพ่ิมข้อมูลข่าวสารเพื่อประโยชน์ด้านใดด้านหนึ่ง
โดยทั่วไปข้อมุลข่าวสารในโลกไซเบอร์นั้นจะเป้ฯการผนวกรวมเอาข้อมุลเชิงพื้นที่ หรือเชิงกายภาพ เช่นภาพสถานที่ สิ่งของเครื่องใช้ เข้ากับข้อมุลข่าวสารอื่นๆ ที่เราใช้งานกันไม่ว่าจะเป้นข้อมุลบุคคลบัญชีการเงินสุขภาพ เป้นต้น ทำให้เกิดยุค "อี" หรืออิเล็ทรอนิกส์ต่างๆ ที่เราใช้งานกัน เช่นธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส์ หรืออีบีซเนส อีคอมเมิร์ซ อีเลิร์นนิง เป้นต้น ไม่เียงแต่ดลกจริงๆ ของเราที่ำลังมีการลบหรือกรทะบกระทั่งกันอยู่ตอนนี้ ในโลกเสมือนเองก็มี "สงครามไซเบอร์" หรือ "ไซเบอรวอร์" เหมือนกัน โดยการทำสงครามไซเบอร์นั้นมัหมายถึงการบุกรุก เข้าไปโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร หรือดจมตีระบบสาธารณูปโภคที่เชื่อมต่อกับโลกไซเบอร์ บริษัทไมโครซอฟท์ได้แบ่งออกเป็น
- การโจรกรรมข้อมุลทางการทหาร
- การโจรกรรมทางคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นทั่วไป
- ทางเศรษฐกิจ และ
- การก่อการร้ายทางไซเบอร์
ตัวอย่างของสงครามไซเบอร์เช่น การเข้าไปล้วงข้อมูลเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือทางการตลาด การบิดเบือนแก้ไขข้อมูลภาพเพื่อสร้างเรื่องเท็จ หรือการโจมตีระบบสาธารณูปโภคที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งอาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้จากที่ประชุมสมัชชาความมั่นคงไซเบอร์ของโลกปี 2010 นั้นระบุว่าปัจจุบันมีสงครามไซเบอร์เกิดขึ้นhttps://www.itgenius.co.th/article/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C.html
มากมายตั้งแต่ความพยายามโจมตีเว็บไซต์ของรัฐในอเมริกาและเกาหลีใต้ในช่วงฤดูร้อนปีที่แล้ว หรือ การที่มีสายลับเจาะระบบจ่ายไฟฟ้าในอเมริกาเพื่อก่อกวนการจ่ายไฟ ทั้งหมดนี้ก่อให้เกิดควาเมสียหายทางเศรษฐกิจ สังคมและชวิตมนุษย์อย่างใหญ่หลวง รวมถึงอีกหลายๆ กรณีในบ้านเราเองทีทุกคนคงรับรุ้อยุ่แล้วบ้างไม่มากก็น้อยแม้คำว่า "สงคราม" จะดูเป็นเรื่องระหว่างประเทศ หรือ ระหว่างรัฐแต่สงครามไซเบอร์นั้นเป้นการต่อสู้ระหว่างทุกกลุ่ม ไม่ว่าเป้นระหว่างบุคคล องค์กร สภาบัน หรือรัฐ...
วันเสาร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2561
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น