Economic integration

           กลุ่มความร่วมมือทางเศราฐกิจของโลกในปัจจุบัน

           1. สหภาพยุโรป EU
           สหภาพยุโรป เป็นพัฒนาการในการรวมกลุ่มที่เกิดจากการรวมตัวของประชคมยุโรปซึ่งดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลานานเร่ิมจาการรวมตัวของประชาคมสามแห่งเข้าด้วยกัน คือ ประชาคมถ่านหินและเหล็ก ประชาคมเสณาฐกิจยุโรป และประชาคมพลังงานปรมาณูยุโรป ถือเป็นกลุ่มการต้าที่มีความสำคัญของโลก แนวความคิดในการวมหลุ่มของประเทศในยุโรปได้เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีวัตุประสงค์เร่ิมแรกเพื่อป้องกันความขัดแย้งแบะการทำสงครามระหว่างประเทศสมาชิกและส่งเสริมความเป็นปึกแผ่นภายในกลุ่มเพื่อต่อสู้ด้านเสณาฐกิจกับสองประเทศมหาอำนาจ คื อสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต
          การรวมตัวของ อีย ที่จะพัฒนาการเป็นสหภายเศรษฐกิจและการเงินแห่งยุโรปคือการที่ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปหันมาใช้เงินตราสกุลเดียวและมีธนาคารกลางแห่งเดียว ซึ่งจะทำให้ อียู ที่มีประชากรถึง 370 ล้านคน กลายเป็ฯตลาดธุรกิจขนาดใหญ่ที่สามารถดำเนินธุรกิจการต้า การลงทุน และการเงินระหว่างกันได้อย่างเสรี ด้วยเงินตราสกุลเดียว และมีความใกล้เคยงกันมากขึ้น ดดยเฉพาะอย่างิย่งประเทศสมาิกที่มีฐานะที่มั่นคงกว่าจะต้องให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่มีสภาพเศณาฐกิจอ่อนแอ ซึ่งรวมถึงระเทศที่อยู่ใไกลจากศูนย์กลางของสมาชิกสหภาพยุโรป
         
ปัจจุบัน สหภาพยุโรปได้ขยายความร่วมมือไปยังประเทศต่าง ในภุมิภาคยุโรป ตามกรอบทฤษฎีการรวกลุ่มทีเรียกว่าหน้าที่นิยมใหม่ อาจกล่าวได้ว่าเป้นปวคิดที่ใช้ในการก่อตั้งสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นปนวคิดที่ต้งอยู่บนพื้นฐนของความเชื่อที่วา การวมกลุ่มใดๆ ที่จะประสบความสำเร็จั้นจะต้องตั้งอยู่บนข้อเท็จจริงที่ว่าเงื่อนไขความพร้อมในการรวมกลุ่มที่เร่ิมต้นจากจุดเล็กๆ ในการวมกลุ่มและการรวมกลุ่มนั้นแตต่ละประเทศได้ผลประโยชน์ต่างตอบแทนจากลุ่มย่อยๆ แล้วขยายตัวมากขึ้น มีการพึ่งพาอาศัยกันใแนวกว้างแลแนวลึกมากขึ้นซึ่งสหภาพยุโรปเร่ิมแรกก็มีการรวมตัวกันด้วยสมาชิกเพียง 6 ประเทศ โดยรเ่ิมจากสมาคมถ่านหินและเหล็แล้วขยายไปสู่การรวมกลุ่มสภาพเศณาฐกิจอื่นๆ และมีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 15 ประเทศ และมีการขยายความร่วมมือจากทางด้านเสณาฐกิจไปสู่ด้านการเมืองและด้านอื่นๆ จนก่อให้เกิดความร่วมมืออย่างแน่นแฟ้นของกลุ่ม ซึ่งถือได้ว่าพัฒนาการของสหภาพยุโรปนั้นมีลักษณะเป็นไปตามแนวทฤษฎีหน้าที่นิยมใหม่และมีการขยายตัวเป้นไปตามลำับของทฤษฎีการรวมกลุ่มตามแนวคความคิดของ "บาร์ลาซซ่า" ที่เร่ิมจากขั้นต้อนสหภาพศุลกากร และพัฒนาไปสู่ตลาดรวมในกรอบของตลาดยุโรปเดี่ยว ปัจจบันพัฒนาการสู่การเป็นสหภาพทางเศณาฐกิจและการเงินที่เรียกว่าสหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป
               2. ข้อตกลงเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ NAFTA
                พัฒนาการของการรวมกลุ่ม
                จุดเริ่มต้นของกระบวนการ การรวมกลุ่มทางเศณษฐกิจในภูมิภาคอเมิรกาเหนือได้ก่อตัวขึ้นนบตังแต่ที่ประะานาธิบดีไบรอัน มัลโรนีย์ แห่งแคนาดาได้ประกาศเจตนารมย์ที่จะเจรจาข้อตกลงการต้าเสรีกับสหรัฐอเมริกาในเดือนมิถูนายน พ.ศ. 2538 หลังจากนั้นตัวแทนทางการต้าของทั้งสองฝ่ายก็ได้มีการเจรจาต่อรองกันอย่างเข้มข้นจนหระทั่งบรรลุข้ตกลงกันได้ เมื่อปี ค.ศ. 1987 และข้อตกลงการต้าเสรีระหว่างสหรัฐฯ และแคนาดาไ้เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ปี 1989 เป็นต้นมา
              ขณะเดียวกันในปี ค.ศ. 1985 รัฐบาลสหรัฐฯไ้เจรจาทำความเข้าใจกับเม็กซิโกในเรื่องการอุดหนุนและภาษีตอบโต้การอุดหนุนซึ่งต่อมาในปี ค.ศ.1986 เม็กซิโกก็ไดเ้ขาเป็นสมรชิกขององค์กรความตกลงทั่วไปว่าด้วยอัตราภาษีสุลกากรและการต้า และได้เริ่มดำเนินการเปิดเสรีทางเศณษฐกิจโดยลดอุสรรคกีดขวางทางการต้าแต่เพียงฝ่ายเดียวอย่งรวดเร็ซ ตอมาสหรัฐฯ และเม็กซิโกก็ไดลงนามในข้อตกลงเืพ่อกำหนดกรอบในการเจรจาเกี่ยวกับการเปิดเสรีทางการต้าและการสถาปนากลไกทวิภาีที่มีผลต่อความสัมพันะ์ทางการต้าของทังสองประเทศ
            ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบิีจอร์จ บุช และประธานาธิบดีชาลี สาส แห่งเม็กซิโก ได้ประกาศเจตจำนงค์ร่วมกัที่จะจัดตั้งเขตกาต้าเสรีระหว่างประเทศทั้งสอง ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1991 แคนาดาก้เข้าร่วมการเจรจาด้วยและนำไปสู่การเจรจาสามฝ่ายเพื่อก่อตั้งเขตการต้าเสรีแห่งภูมิภาคอเมิรกาเหนือ โดยการเจรจาอย่างเป็นทางการเริ่มขึ้นเมื่อ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1991 หลังจากที่รัฐบาลสวหรัฐฯ ได้ลงมติต่อายุการใช้อำนาจการเจรจาอย่างรวบรัดให้แก่ฝ่ายบิหาร เพ่อใช้ในกาเจรจาจัดทำความตกลงการต้าเสรีอเมริกาเหนือซึ่งเป็นนดยบายของประโานาธิดีจอร์ช บุช ที่จะใช้เป็นกลุยุทธ์ทางการต้าแนวใหม่ของสหรัฐฯ
            หลังจากได้มีการเจรจาต่อรองระหว่างผุ้แทนด้านการต้าของสหรฐฯ แคนนาดา และเม็กซิโกเป็นเวลานานถึง14 เดือนในที่สุดผู้แทนการต้าของทั้งสามประเทศก็สามารถบรรละข้อตกลงในการก่อตั้งเขตการต้า เมื่อ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1992 และข้อตกลงดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1994 ซึ่งนับเป็นการก่อตั้งเขตการต้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลกขณะนี้ โดยจะสร้างตลาดการต้าซึ่งมีผุ้บริโภคถึง 360 ล้านคน และมีปริมาณการต้ากว่า 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯต่อปี...
           การรวมกลุ่มเขตการต้าเสรีอเมริกาเหนือเป็นกลุ่มความร่วมมือที่มีการก่อตัวมาจากระดับทิวภาคีที่มีสหรัฐอเมริกาเป็นแกนกลางซึ่งแต่เดิมสหรัฐฯเป้ฯประเทศที่ให้วามรวมมือกบเคนาดา และสหรฐฯ ก็เป็นประเทศภาคกับเม็กซิโกมาก่อน เมื่อมีการเปลียนแปลงของระบบการต้าโลก ทั้งสามประเทศจึงมีการรวมตัวกันในระดับพหุภาคีเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในขณะนั้นประกอบกับการเจรจา QATT ไม่ประสบผลสำเร็จตามกำหนดเวลาและมีแนวโนมว่าจะล้มเหลว เนื่องจากมีประเทศสมาชิกจำนวนมากและข้อต่อรองไม่เป็นไปตามความต้องากรจงมีการเจรจายืดเยื้อในรอบอุรุกวัย ทำให้ประเทศต่างๆ หันมารวมตัวกันในระดับภูมิภาคเพื่อที่จะแก้ปัญหาเศรษฐกิจของตนโดยใช้การรวมกลุ่มภูมิภาคเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ให้ลุล่วงไปในระดับหนึ่ง..
            หากพิจารณาจากแนวคิดและทฤษฎีการรวกลุ่มถือว่ อยุ่ในขั้นของการวมกลุ่มเสณาฐกิจที่ใช้ปฏิบติก่อนเข้าสุ่ขั้นตอนของแนวคิดของ บาลาสซ่า ซึ่งเป็นขั้นตอนก่อนที่จะเริ่มเป้นเตการต้าเสรี คือ ขั้นตอนของการเป็นเขตการลดพิกัดอัตราภาษี อันเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอย่างหลวมๆ กล่าวคอ ประเทศสมาิชกจะตกลงกันเพิียงแต่ลดหย่อนภาษีศุลกากรให้แก่กันแต่ไม่ถึงกับไม่เก็บกันเลยซึ่งเขตการต้าเสรีอมิรกาเหนือก็เข้าสู่ขั้นตอนนี้เช่นกัน และหากมีการตกลงกันประสบผลก็คาดว่าจะเข้าสู่ขั้นตอนของการรวมกลุ่มในระดับเขตการต้าเสรีเต็มรูปแบบที่จะไม่มีการตั้งกำแพงภาษีและการกำหนดโควต้าสำหรับสินค้าที่ส่งจากประเทศสมาชิกด้วยกันเองแต่ภาษีสำหรับประเทศที่สามก็ขึ้นอยู่กับสมาขชิกแต่ละประเทสจะกำหนดซึ่งจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป...
             3. สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ASEAN
              พัฒนาการการรวมกลุ่มของสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันอกเฉียงใต้สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จัดตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ เมื่อ ปี ค.ศ. 1967 มีสมาชิกเร่ิมก่อตั้งจำนวน 5 ประเทศ ฌเยมีจุดเร่ิมต้นมาจาการจัดตั้งสมาคมอาสา ที่มีการลงนามกันเมือ ปี ค.ศ. 1961 ที่ประเทศไทย ดดยมีสมาชิกในขณะนั้น 3 ประเทศ  คือ มลายา (มาเลเซีย) ฟิลิปปินส์ และไทย ซึ่งมีวัตถุประสงคืเพื่อจัดตั้งจักรกลการปรึกษาหารือ การช่วยเหลือย่างฉันมิตรทางเศราฐฏิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ และการบริหาร เนื่องจากในขณะนั้นเกิดการประจันหน้ากันระหว่ง อินโดนีเซีย กับมาเลเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโรป์ในเรื่องเกี่ยวกับรัฐซาลาวัค ทำให้อาณาบริเวณเอเชียตะวันออกเแียงใต้ประสบปัญหาการไปมาหาสู่ไม่สะดวกในการเดินเรือในมหาสมุทรแปซิฟิก ความบาดหมางระหว่างประเทศเพื่อบ้านในภูมิภาคนี้ ทำให้ ASA ต้องยุติลง ต่อมาในเดรือนสิงหาคม ปี ค.ศ. 1966 ได้มีการฟื้นฟูความสัมพันะ์ระหว่างกันใหม่โดยไทยได้เชิญรัฐมนตรีต่งประเทศของอินโดนีเซีย ฟิลิปินส์ มาเลเซีย และสิงคโปร์ มาร่วมประชุมในไทย ผละการประชุมทุกฝ่ายมีความพร้อมใจกันประกาศปฏิญญาอาเซียน เมื่อ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1967 ซึ่งเป้ฯการริเร่ิมจัดตั้งสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบัน ASEAN มีสมาชิก 10 ประเทศ..
         
 การรวมกลุ่ม ASEAN เป็นกุ่มคามร่วมมือที่มีการรวมกลุ่มกันในระดับภูมิภาคที่แต่ละประเทศมีความใกล้เคียงกันในลัษณะภูมิประเทศแต่มีความแตกต่างกันทั้งทางเศรษฐกิจ การเมืง ขณะเดียวกันก็มีพื้นฐานการผลิตที่ คล้ายคลึงกันคือด้านการเกษตร เมื่อมีการรวตัวกันระห่างประเทศที่มีปัจจัยการผลิตขึ้นปฐมภุมิ เพื่อที่จะจำหน่ายกับประเทศที่เป้นผุ้ผลิตสินค้าทุติยภูมิ อำนาจการต่อรองก็มากขึ้นดีก่าที่จะต่อรองเพียงประเทศเดียว
            การรวมกลุ่ม ASEAN เป้นการรวมกลุ่มเข้าสู่กลุ่มการต้าเสรีและไทยก้เป็นส่วนหนึ่งขอ ASEAN ที่ต้องปฏิบัติตามข้อตกลงต่างๆ ให้สอดคล้องกับกลุ่มซึ่งการวมกลุ่มก็เพื่อที่จะเสริมสร้างและรักษาผลประโยชน์ทางเศราฐกจร่วมกันโดยเฉพาะขยายลู่ทางการค้าระหว่างกันให้มีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น ดดยลดหรือยกเลิกอุปสรรคตลอดจนข้อกีดขวางทางการต้าทั้งอุปสรรคที่อยู่ในรูปภาษีศุลกากรและอุปสรรคที่มิใช่ภาษีศุลกากร ซึ่งการรวมกลุ่มได้มีการกำหนดการใช้อัตราภาษีพิเศษร่วมกันอันเป็นกลไกสำคัญในการลดภาษีสินค้าที่มีการเปิดตลาอแก่กันซึ่งเป้นเส่งิที่ประเทศสมาชิกต้องปฏิบัติตาม และปจจุบันับว่า ASEAN เป้นกลุ่มความร่่วมมือที่ประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง
          การรวมกลุ่มของ ASEAN ยังคงยึดแนวหน้าที่นิยม โดยยังไม่่อยมีทิศทางหือเป้าหมายเด่นชัดนักเพราะส่วนใหญ่แต่ละประเทศต่างก็มุ่งแต่ประโยชน์สู่ประเทศตนเพระระดับการพัฒนาไม่แตกต่างกันมากนักประกอบกับเป็นประเทศที่มีลักษณะการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมที่มีปัจจัยการผลิตพื้นฐานคล้ายๆ กันจึงทำให้การส่งออกสินค้าทักจะเป้นสินค้าประเภทเดียวกันย่อมทำให้เกิดการแข่งขันแย่งตลาดสินค้ากัน ไม่สามารถจะนำสินค้ามาแลเปลี่ยนกันได้ และยะวยึดแนวของทฤษฎีสัมพันธ์นิยม ที่มีการติดต่อสื่อสารตลอดจนความสัมพันะ์ต่อกันระหว่างปะชาชนประเทศสมาชิกน้อยมาก เนื่องจากขาดวัฒนธรรมร่วมกันประกอบกับความรู้สึกชาตินิยมีมาและยัวไม่ค่อยพร้อมมนการรวมกลุ่มเนื่องจกาขาดสามัญสำนึกของภูมิภาคนิยมจึงหาความเป็นเอกภาพได้ยาก

             - บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ "ผลกระทบของการใช้เงินสกุลยูโรต่อการต้าระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป" โดย สุเทพ วันอ่อน.
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)