30 มี.ค. 2560 : สำนักงานข้อหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยสหประชาชาติ UNSCR เผยจำนวนผู฿้ที่เดินทางออกจากซีเรียเพื่อหนีสงคราในประเทศ ทั้งชาย สตรี และเด็ก เพ่ิมขึ้นเป็นกว่า 5 ล้านคนแล้ว ซึ่งประชาคมโลกจำเป็นต้องดำเนินการมากกว่าเดิมเพื่อช่วยเหลือผู้อพยพเหล่านี โดยระบุว่ จำนวนผุ้อพยพชาวซีเรียที่อยู่ในต่างประเทศนับจนถึงช่วงปลายปี 2558 อยู่ที่ 4.6 ล้านคน และเพื่อขึ้นเป็น 4.85 ล้านคนนับถึงสิ้นปีที่แล้ว ส่วนในช่วง 3 เดือแรกของปีนี้ มีชาวซีเรียอีก 250,000 คนที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้อพยพ แต่ยูเอ็นเอชซีอาร์ไม่ได้อะิบายเหตุผลที่จำวนผุ้อพยพเพ่ิมขึ้นมากในช่วงนี้
ปัจจุบัน ตุรกียังคงเป้นประเทศที่รับผู้อพยพชาวซีเรียจำนวนมากที่สุดที่เกือบ ๅ3 ล้านคน ส่วนเลบานอนผู้อพยพชาวตุรกีกว่า 1 ล้านคน จอร์แดนรับชาวซีเรีย 657,000 คน ส่วนที่เหลือกระจายกันไปพักพิงในหลายประเทศ เช่น อิรัก อิยิปต์ และประเทศอื่นๆ ในแอฟริกาตตอนเหนือ นอกจากนี้ยังมีชาวซีเรียหลายแสนคนอพยพไปยังยุโรป แต่มีเพีงบางส่วนทีได้รับสภานภาพผู้อพยพ..http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/748024
สงครามในซีเรีย จากสงครามกลางเมือง กลายเป็นสงครามตัวแทน
ตั้งแต่ต้นปี 2555 รัฐบาลซีเรียได้ยกระดับการใช้กำลังและความรุนแรงในการปราบปรามกลุ่มกบฎ เืพ่อให้กลุ่มกบฎสูญเสียความชอบธรรในการต่อสู้กับรัฐบาล ควมพยายามที่จะยึดครองซีเรียของประธานนาธิบดีอัสซาดนำปสู่การแบ่งแยกนิกาย ในรัฐที่เคยเป็นกลางทางศาสนา และได้เปรียบเสมือนบัตร เชิญ
ให้ต่างชาติและกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองต่างๆ ที่มีผลประโยชน์แตกต่างกนเข้ามาแทรกแซง ดังนั้น สงคราในซีเรียจึงยืดเยื้อยาวนาน และเป็นมากกว่าแค่การสู้รบกันระกว่างฝ่ายรัฐบาลและกลุ่มกบฎผุ้ต้องการประชาธิปไตย แต่กลับกลายเป็นสงครามตัวแทนของผุ้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียจากสงคราม ทั้งในทางการเมือง เศรษฐฏิจ และศาสนา ซึ่งแบ่งได้เป็น 4 ฝาย ดังนี้
รัฐบาลซีเรียและพันธมิตร พันธมิตรที่สำคัญอย่งยิ่งของประธานาธิบดีอัสซาด ได้แก่ และรัสเซีย
อิหร่าน เนื่องจากประธานาธิบดีอัสซาดอนุญาตให้อิหร่านใช้ซีเรียเป็นเส้นทางในการลำเลี่ยงอาวุธไปให้กลุ่มฮิซบูลลอฮ์ ซึ่งเป็นกลุ่มเคลื่อนไหวของญิฮาดซีอะห์ในเลบยานอนที่อิหร่านให้การสนับสนนุ ประธานาธิบดีอัสซาดจึงเป้นพันธมิตรคนสำคัญที่สุดคนหนึ่ง ที่ช่วยให้อิหร่านรักษาสถานะความเป็นผู้นำในภูมิภาคไว้ได้
ในช่วงสงครา อิหร่านจึงส่งความช่วยเหลือใหประธานาธิดีอัสซานหลยอย่างทั้งที่ปรึกษาทงการทหาร กำลงทหาร อาวุธ สินเชื่อ รวมไปถึงน้ำมัน โดยมีการคาดการณืว่า อิหร่นเสียค่าใช้จ่ายเป้นเงินมากว่าพันล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี ในการประคับประคองให้ประธานาธิบดีอัสซาดและัฐบาลซีเรียอยูในอำนาจต่อไป นอกจากการให้ความช่วยเหลือโดรตรงแล้ว อิหร่านยังเป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้ญิฮาดซีอะห์ จากประเทศต่างๆ ทั้งอิรัก อัฟกานิสถาน และปกีสภาน ตลอดจนนักรบจากลุ่มฮิชบูลลอห์ในเลบานอน เข้าร่วมรบกับกองกำัลงของปรัฐบาลอัสซาดด้วย
รัสเซีย เช่นเดียวกับอิหร่าน รัสเซียเข้ามามีบทบาทในสงคราามกลางเมืองซีเรีย เพื่อรักษาผลประดยชน์ที่ได้รับจากรัฐบาลประธานาธิดบีอัสซาด ผลประโยชน์ดังกล่าว ได้แก่ ประการแรกร รัสเว๊ยต้องการปกป้องฐานทัพเรือที่รัฐบาลซีเรียเช่าอยู่ ประกาอรที่สองกองทัพซีเรียเป้นหนึงในผุ้จัดหาอาวุธจำนวนมากใ้้อกงทัพรัสเว๊ย และประการสุดท้าย ด้วยความสัมพันะ์เชิงยุทธศาสตร์ที่ยานานของทั้งสองประเทศ ซีเรียจึงเป็นเสมือนฐานที่ามั่นสุดท้ายที่ทำให้รัสเซียยังมีอำนาจอยู่ในภูมิภาค
รัสเซียเข้ามามีบทบาทในสงครามกล่งเมืองซีเรียตั้งแต่ช่วงแรก โดยกาจักหาอาวุธ ส่งทหารเข้าไปฝึกการสู้รบให้กองกำลังฝ่ายรัฐบาล และที่สำคัญคือ การใช้สิทธิวีโต้ ในที่รปะชุมคณะมนรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เืพ่อยับยั้งร่างมติหยุดยิงในอเลปโป และร่างมติคว่ำบาตรซีเรียเนื่องจากการใช้อาวุธเคมีของรัฐบาล การใช้สิทธิยับยั้งดังกล่าวทำให้รัสเซียถูกตำหนิโดยนานาชาติ โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส
ในเดือนกันยายน ปี 2558 รัสเซียได้เข้าแทรกแซงทางการทหารในซีเรียโดยการโจมตีทางอากาศ รัสเซียให้เหตุผลยอดนิยมว่าเป็นการการทำสงครมต่อต้านการก่อการร้าย ซึ่งในกณรีนั้ ผุ้ก่อ (ISIS – Islamic State of Iraq and Syria) แต่ในความเป็นจริง ผุ้ที่โดนกองทัพรัสเซียโจมตีกลับเป็ฯกองกำลังของกลุ่มกบฎ ดังนั้น การแทรกแซงของรัสเซียตั้งแต่เดือนกันยายน ปี 2558 จึงมีส่วนสำคัญอย่งยิ่งในการเปลี่ยนดุลอำนาจ ทำให้กองกำลังฝ่ายรัฐบาลสามารถกลับมายึดครองซีเรียได้อีกครั้ง
การร้ายคืกลุ่มไอซิล หรือที่เรารุจขักกันดีในนามไอซิส
จากลัษณะของการแทรกแซงดังกล่าว อาจกล่าวได้ว่า จุดมุ่งหมายทางการทหารของรสเซียไม่ได้เหรือมนกบซีเรียและอิหร่านไปเสียทั้งหมด กล่าวคื อในขณะที่ซีเรียและอิหร่านต่างก็สู้รบเพราะต้องการยืดพื้นี่ในซีเรียคืนจากลุ่มกบฎแต่รัีสเว๊ยกลับใช้สงคราครังนี้ เป็นเวททดลองและแสดงแสนยานุภาพทางการทหาร และทีสำคัญคือ ใช้เป้นเครื่องมือในการลดบบาทของสหรัฐในภุมิภาคระวันออกกลาง การที่รัเซียมุ่งทำลายเฉพาะกองกำลังของกลุ่มกบฎที่ไม่มีความคิดสุดดต่งนั้นท ทำให้สงคราม ในซีเรียเป้นการสู้รบระหว่างฝ่ายรัฐบาลและนักรบญิฮาด ซึ่งสหรัฐไมให้การสนับสนุน ดังนั้น บทบาทของสหรัฐในภูมใิภาคจึงถุกจำกัดเหลือเพียงแค่การมีส่วนร่วในการเจรจาสันติภาพ ซึ่งอาจกินเวลากว่าจะบรรลุข้อตกลงได้...( to be continues) https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
วันเสาร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
Syria's_refugees
มีหลายฝ่ายตั้งคำถามวว่า ผู้อพยพชาวซีเรียไม่เดินทางลี้ภัยในประเทศอ่านเอปร์เซียที่มีฐานะร่ำรวย และอยู่ในทำเลที่ใกล้ญีเรียมากกว่าด้วย อมิรา ฟาธีลลา บีบีซีมอนิเตอรริงที่ติดตามการรายงานข่าวของสื่อในภุมิภาคดังกล่าวอธิบายว่า ช่วงหลายปีที่ปผ่านา คนซีเรียที่หนีภัยสงครามนบ้านเกิดได้ข้ามเข้าไปยังเลบานอน จอร์แดน และตุรกีแล้วเป็นจำนวนมาก แต่การอพยพเข้าไปยังประเทศอาหรับชาติอื่น โดยเฉพาะชาติในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียเป็นเรื่องที่ค่อยข้างซับซ้อน
ตามกฎหมาย ขาวซีเรียวามารถยื่นขอวีซ่าทำงานหรือวีซ่านักท่องเที่ยวเพื่อเข้าไปยังประเทศภุมิภาคอ่าวเปอร์เซียได้ แต่วิธีนี้มีค่ามช้จ่ายสูง และชาวซีเรียยังรู้ดี่า หลายชาติในอ่านเปอร์เซียไม่ต้อรับพวกเขา ดังนั้นในทางปฏิบัติแล้วจึงเป็นเรื่องยากที่จะได้วีซ่ามาแบบง่ายๆ ในกรณีที่ประสบความสำเร็จั้น ส่วนใหญ่เป็นคนซีเรียที่อาศัยในประเทศอ่าวเปอร์เซียนอยุ่แล้ว และได้ขอขยายเวาการพินักออกไห หรือเป็นกลุ่มที่มครอบครัวอยุ่ที่นั้น ส่วนใหญ่เป็นคนซีเรีที่อาศัยในประเทศอ่าวเปอร์เซียอยู่แล้วและได้ขอขยายเวบลาการพำนักออกไป หรือเป็นกฃุ่มที่มีครอบครัวอยุ่ที่นั้น อุปสรรคอีกอย่างคื อหากไม่มีวีซ่า พวกเขาก็ไม่สามารถเข้าประเทศอาหรับชาติอื่นได้เช่นกัน...https://web.facebook.com/BBCThai/posts/1693197274234639?_rdc=1&_rdr
ตั้งแต่สงครามในซีเรียเร่ิมขึ้นในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2554 จนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันะื 2560 The Violations Documentation Center in Syria (VDC) ซึ่งเป็นเครื่อข่ายนักเคลื่อนไหวในซีเรีย รายงานว่า เท่าที่มีการบันทึกในเอกสาร มีผุ้เสียชีวิตแล้เว 174,184 รายในจำนวนนี้ แบ่งเป็นพลเรือนประมาณร้อยละ 63 และทีไม่ใชพลเรือนประมาณร้อยละ 37 โดยกว่าร้อยละ 80 ของทั้งหมดเสียชีวิตจากความรุนแรงที่ก่อขึนดดยรัฐบาลซีเรีย จากจำนวนดังกล่าว สำนักช่าวบีบีซีประเมิน่าเราอาจต้องใช้เวลาถึง 19 ชัวฌมงในการอ่นรายชื่อเด็กที่เสียงชีวิตทั้งหมด
ก่อนสงครามในซีเรียจะปะทุขึ้น ชาวซีเรียต้องเผชิญกับปัญหาการว่างงาน คือร์รัปชัน การขาดเสรีภาพทางการเมือง ตลอดจนการปราบปรามอย่างเข้มงวดโดยรัฐ จนหระทั่งกลางเือนมีนาคม พ.ศ. 2554 การลุกฮือของประชานเพื่อต่อต้านรัญในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง หรืออาหรับสปริง(Arab Spring) ก็ได้จุดชนวนการประท้วงต่อต้านระบบการปกครอง ภายใต้การนำของประะานาธิบดีบาชาร์ อัลฮัสชาด และรัฐบาลซีเรีย ที่กดขี่พวกเขามากว่า 40 ปี
ในช่วงแรก กลุ่มกบฎผุ้ต่อต้ารรัฐบาล ซึ่งส่นใหญ่เป้นชาวมุลิมนิกายชุนนี ใช้เพียงแค่ป้ายและเพลงป็นเครื่องมือในการเรียกร้องเสรีภาพและประชาธิปไตย แต่หลักงจากที่รัฐบาลซีเรียซึ่งอยุ่ภายใต้อิทธิพลของชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ ใช้อำลังปราบปรามกลุ่มกบฎอย่างรุรนแรง เช่น การใช้กำลังทหารจับกุม และการบังคับให้สูญหาย กลุ่มกบฎจงหันมาจับอาวุธ ในขณะที่ทหารซีเรียส่วนหนึ่งซึ่งไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลก็จัดตั้งกองกำลังปลกปล่อยซีเรีย ขึ้น เพื่อเป็นปีกทางการทหารให้แก่กลุ่มกบฎ ทำให้การต่อสู้เพื่อปกป้องตนเองของกลุ่มกบฎ ได้ถุกยกระดับไปสู่การตอ่สู้เพื่อขับไล่กองกำลังรักษาความปฃอดภีบชอ
รัฐ แฃะกลายเป็นสงครามกลางเมืองในที่สุด
ความพยายามของประธานาธิบดีอัสซาดที่จะปราบปรามกลุ่มกบฎนำไปสู่การใช้กำลังและความรุนแรงที่เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งการทรมานและสังหาร การใช้อาวุธเคมี ลอดจนการปล่อยตัวนักโทษกลุ่มซาลาฟิญิฮาด ซึ่งเป็นชาวมุสลิมนิกายซุนนีที่มีแนวคิดสุดโต่ง เพื่อให้เข้าร่วมกับกลุ่มกบฎ และทำให้พวกเขาสูญเสียความชอบธรรมในการต่อสู้กับรัฐบาล
"อเลปโป" ตั้งอยุ่ทางตะวันตกเแียงเหนือของซีเรีย และเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีคนอยุ่อาศัยป็นระยะเวลานานที่สุดเมืองหนึ่งของโลก เนื่องจากที่ตั้งซึ่งอยุ่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและดินแดนตะวันออก ทใไ้อเลปโปเป็นศูนย์กลางการต้าของภูมิภาค ที่มีควมสำคัญทั้งในทางการเมืองและเสรษฐฏิจตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา
ตั้งแต่ซีเรียได้รับอิสรภาพจากผรังเศสในปี 2489 อเลปโปก็พัฒนาเป็นศุนย์กลางอุตสาหกรรมของประเทศในขณะเดียวกัน ประชากรในอเลปโปก็เพ่ิมขึ้อย่างรวดเร็ซ จาก 3 แสน เป็น 2.3 ล้าน ในปี พ.ศ. 2547 อเปลฌปจึงเป็นเมืองที่ให่ที่สุดของซีเรย และมีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์มาก แม้จะไม่ใช้เมืองหลวงของประเทศก็ตาม
กรกฎาคม 2555 อเลปโปได้กลายเป็นสมรภูมิที่สำคัญของสงครามกลางเมืองซีเรียเมื่อกลุ่มกบฎสามารถยึดครองดินแดนทางเหนือของซีเรียได้ อย่างไรก็ตามกองกำลังขอกลุ่มกบฎสามารถยึดครองดินแดนทางเหนืของซีเรียได้ อย่างำรก็ตาม กองกำลังของกลุ่มกบฎไม่สามารยึกครองอเลปโปได้อย่างเด็ดขาด อเลปโปจึงถูกแบ่งเป็นองฝั่ง ได้แก่ ฝั่งตะวันตก ซึ่งควบคุมโดยรัฐบาลซีเรีย และฝั่งตะวันอออก ซึ่งควบคุมโดยกลุ่มกบฎ
นับแต่นัน การสู้รบในอเลปโปก็ทวีความรุนแรงและขยายวงกว้างไปจนถึงเขตเมืองเก่า ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก โดยตั้งแต่ปลายปี 2013 เป็นต้นมา องกำลังฝ่ายรัฐบาลได้หันมาต่อสู้โดยการทิ้งระเบิดถัง ทางอากาศ ผลจากการสุ้รบทำให้สถานทีสำคัญหลายแห่งในอเลปโปถูกทำลาย ทั้งตลาดนัดกลางแจ้ง มัสยดอุมัยยะห์ และป้อมปราการแห่งอเลปโป ซึ่งเป็นปราสาทที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งโลก ... การสู้รบในอเลปโปดำเนินไปจนถงเดือนธันวาคม 2559 เมื่อกองกำลังของรัฐ ซึ่งได้รับการสนับสนุนด้วยการโจมตีทางอากาศจากรัสเซีย สามารถไล่ต้อนกลุ่มกบฎ และเป็นฝ่ายเข้ายึดครองเมืองได้สำเร็จ...https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
ตามกฎหมาย ขาวซีเรียวามารถยื่นขอวีซ่าทำงานหรือวีซ่านักท่องเที่ยวเพื่อเข้าไปยังประเทศภุมิภาคอ่าวเปอร์เซียได้ แต่วิธีนี้มีค่ามช้จ่ายสูง และชาวซีเรียยังรู้ดี่า หลายชาติในอ่านเปอร์เซียไม่ต้อรับพวกเขา ดังนั้นในทางปฏิบัติแล้วจึงเป็นเรื่องยากที่จะได้วีซ่ามาแบบง่ายๆ ในกรณีที่ประสบความสำเร็จั้น ส่วนใหญ่เป็นคนซีเรียที่อาศัยในประเทศอ่าวเปอร์เซียนอยุ่แล้ว และได้ขอขยายเวาการพินักออกไห หรือเป็นกลุ่มที่มครอบครัวอยุ่ที่นั้น ส่วนใหญ่เป็นคนซีเรีที่อาศัยในประเทศอ่าวเปอร์เซียอยู่แล้วและได้ขอขยายเวบลาการพำนักออกไป หรือเป็นกฃุ่มที่มีครอบครัวอยุ่ที่นั้น อุปสรรคอีกอย่างคื อหากไม่มีวีซ่า พวกเขาก็ไม่สามารถเข้าประเทศอาหรับชาติอื่นได้เช่นกัน...https://web.facebook.com/BBCThai/posts/1693197274234639?_rdc=1&_rdr
ตั้งแต่สงครามในซีเรียเร่ิมขึ้นในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2554 จนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันะื 2560 The Violations Documentation Center in Syria (VDC) ซึ่งเป็นเครื่อข่ายนักเคลื่อนไหวในซีเรีย รายงานว่า เท่าที่มีการบันทึกในเอกสาร มีผุ้เสียชีวิตแล้เว 174,184 รายในจำนวนนี้ แบ่งเป็นพลเรือนประมาณร้อยละ 63 และทีไม่ใชพลเรือนประมาณร้อยละ 37 โดยกว่าร้อยละ 80 ของทั้งหมดเสียชีวิตจากความรุนแรงที่ก่อขึนดดยรัฐบาลซีเรีย จากจำนวนดังกล่าว สำนักช่าวบีบีซีประเมิน่าเราอาจต้องใช้เวลาถึง 19 ชัวฌมงในการอ่นรายชื่อเด็กที่เสียงชีวิตทั้งหมด
ก่อนสงครามในซีเรียจะปะทุขึ้น ชาวซีเรียต้องเผชิญกับปัญหาการว่างงาน คือร์รัปชัน การขาดเสรีภาพทางการเมือง ตลอดจนการปราบปรามอย่างเข้มงวดโดยรัฐ จนหระทั่งกลางเือนมีนาคม พ.ศ. 2554 การลุกฮือของประชานเพื่อต่อต้านรัญในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง หรืออาหรับสปริง(Arab Spring) ก็ได้จุดชนวนการประท้วงต่อต้านระบบการปกครอง ภายใต้การนำของประะานาธิบดีบาชาร์ อัลฮัสชาด และรัฐบาลซีเรีย ที่กดขี่พวกเขามากว่า 40 ปี
ในช่วงแรก กลุ่มกบฎผุ้ต่อต้ารรัฐบาล ซึ่งส่นใหญ่เป้นชาวมุลิมนิกายชุนนี ใช้เพียงแค่ป้ายและเพลงป็นเครื่องมือในการเรียกร้องเสรีภาพและประชาธิปไตย แต่หลักงจากที่รัฐบาลซีเรียซึ่งอยุ่ภายใต้อิทธิพลของชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ ใช้อำลังปราบปรามกลุ่มกบฎอย่างรุรนแรง เช่น การใช้กำลังทหารจับกุม และการบังคับให้สูญหาย กลุ่มกบฎจงหันมาจับอาวุธ ในขณะที่ทหารซีเรียส่วนหนึ่งซึ่งไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลก็จัดตั้งกองกำลังปลกปล่อยซีเรีย ขึ้น เพื่อเป็นปีกทางการทหารให้แก่กลุ่มกบฎ ทำให้การต่อสู้เพื่อปกป้องตนเองของกลุ่มกบฎ ได้ถุกยกระดับไปสู่การตอ่สู้เพื่อขับไล่กองกำลังรักษาความปฃอดภีบชอ
รัฐ แฃะกลายเป็นสงครามกลางเมืองในที่สุด
ความพยายามของประธานาธิบดีอัสซาดที่จะปราบปรามกลุ่มกบฎนำไปสู่การใช้กำลังและความรุนแรงที่เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งการทรมานและสังหาร การใช้อาวุธเคมี ลอดจนการปล่อยตัวนักโทษกลุ่มซาลาฟิญิฮาด ซึ่งเป็นชาวมุสลิมนิกายซุนนีที่มีแนวคิดสุดโต่ง เพื่อให้เข้าร่วมกับกลุ่มกบฎ และทำให้พวกเขาสูญเสียความชอบธรรมในการต่อสู้กับรัฐบาล
"อเลปโป" ตั้งอยุ่ทางตะวันตกเแียงเหนือของซีเรีย และเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีคนอยุ่อาศัยป็นระยะเวลานานที่สุดเมืองหนึ่งของโลก เนื่องจากที่ตั้งซึ่งอยุ่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและดินแดนตะวันออก ทใไ้อเลปโปเป็นศูนย์กลางการต้าของภูมิภาค ที่มีควมสำคัญทั้งในทางการเมืองและเสรษฐฏิจตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา
ตั้งแต่ซีเรียได้รับอิสรภาพจากผรังเศสในปี 2489 อเลปโปก็พัฒนาเป็นศุนย์กลางอุตสาหกรรมของประเทศในขณะเดียวกัน ประชากรในอเลปโปก็เพ่ิมขึ้อย่างรวดเร็ซ จาก 3 แสน เป็น 2.3 ล้าน ในปี พ.ศ. 2547 อเปลฌปจึงเป็นเมืองที่ให่ที่สุดของซีเรย และมีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์มาก แม้จะไม่ใช้เมืองหลวงของประเทศก็ตาม
กรกฎาคม 2555 อเลปโปได้กลายเป็นสมรภูมิที่สำคัญของสงครามกลางเมืองซีเรียเมื่อกลุ่มกบฎสามารถยึดครองดินแดนทางเหนือของซีเรียได้ อย่างไรก็ตามกองกำลังขอกลุ่มกบฎสามารถยึดครองดินแดนทางเหนืของซีเรียได้ อย่างำรก็ตาม กองกำลังของกลุ่มกบฎไม่สามารยึกครองอเลปโปได้อย่างเด็ดขาด อเลปโปจึงถูกแบ่งเป็นองฝั่ง ได้แก่ ฝั่งตะวันตก ซึ่งควบคุมโดยรัฐบาลซีเรีย และฝั่งตะวันอออก ซึ่งควบคุมโดยกลุ่มกบฎ
นับแต่นัน การสู้รบในอเลปโปก็ทวีความรุนแรงและขยายวงกว้างไปจนถึงเขตเมืองเก่า ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก โดยตั้งแต่ปลายปี 2013 เป็นต้นมา องกำลังฝ่ายรัฐบาลได้หันมาต่อสู้โดยการทิ้งระเบิดถัง ทางอากาศ ผลจากการสุ้รบทำให้สถานทีสำคัญหลายแห่งในอเลปโปถูกทำลาย ทั้งตลาดนัดกลางแจ้ง มัสยดอุมัยยะห์ และป้อมปราการแห่งอเลปโป ซึ่งเป็นปราสาทที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งโลก ... การสู้รบในอเลปโปดำเนินไปจนถงเดือนธันวาคม 2559 เมื่อกองกำลังของรัฐ ซึ่งได้รับการสนับสนุนด้วยการโจมตีทางอากาศจากรัสเซีย สามารถไล่ต้อนกลุ่มกบฎ และเป็นฝ่ายเข้ายึดครองเมืองได้สำเร็จ...https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
วันศุกร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
Politics and Economics Europe
เศรษฐกิจยุโรปกับปัญหาที่รุมเร้ารอบด้าน
นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจโลกในปี 2551 เศรษฐกิจยุโรปก็ประสบปัญหารุมเร้าต่อเนื่อง ทั้งจากปัญหาหนี้ภาครัฐของกลุ่มประเทศ PIIGS(โปรตุเกส ไอร์แลนด์ อิตาลี กรีช และสเปน) และปัญหารการเมืองที่มีารกฐสานมาจากความไม่พอใจของประชาชนที่สังสมมานานจากเสณาฐฏิจตกต่ำต่อเนื่องหลายปี ประกอบกับความไม่แน่นอนจากการเจรจา บรีซิทต์ รวมถึงปัญหาภาคธสคารมีหนี้เสียในระดับสูง เป็นอุปสรรคต่อการปล่อยก็และกดดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง อัตราการว่างงานที่พุ่งสูงเกิน 20% ในหลายประเทศ ประกอบกับมาตการรัดเข็มขัดของภาครัฐ ที่นำไปสู่การลด
สวัสดิการสังคม เช่น การยืดอายุเกษียณและการลดเงินอุดหนุนให้ผุ้เกษียณอายุ รวมไปถึงการปฏิรูปกฎหมายแรงงาน ซึ่งมุ่งลดสิทธิของลูกจ้างเพื่อให้การตลาดแรงงานมีความยืดหยุ่นมากขึ้น ก่อให้เกิดกาะแสต่อต้านพรรคการเมืองกระแสหลักทีประชาชนเห้นว่าเป้นต้นเหตุของปัญหา และหันไปให้การสนับสนุนพรรคการเมืองเกิดใหม่ ซึ่งมีนธยบายต่อต้านการัดเข็มขัด
นอกจากคะแนนความนิยมของพรรคซึ่งมีนโยบายต่อต้านการรัดเข็มขัดทีเ่พ่ิมขึ้นแล้ว ควาไม่พอใจของประชาชนยังสะท้อนผ่านการออกเสียงประชามติ บรีซิทต์ และการออกเสียงประชมติควำ่การปฏิรูปการเมืองในอิตาลี เมื่อปีที่แล้ว รวมถึงความพยายมประกาศเอกราชของท้องถ่ิน เพื่อแผกตัวออกจากประเทศที่มีเสณษฐกิจตกต่ำ เช่น การเรียกร้องการแยกตัวออกจากสเปน เป็นต้น และการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานธิบดีสหรัฐฯ ของ โดนัล ทรัมป์ ซึ่งชูนโยบายกีดกันทางการค้า และการต่อต้านการรับผุ้อพยพเข้าประเทศ อาจเป็นอีกปัจจัยที่สนับสนุนให้กระแสพรรค ประชานิยม ในยุดรปเพิ่มสูงขึ้น(ส่งผลต่อความไม่แน่นอนทางการเมือง)
ปัญหารในภาคธนาคาร เป็นอีกปัจจัยที่กดดันการเติบโตของเศรษฐกิจยุโรป ซึ่งมีหนี้เสียอยู่ในระดับสูง และผลกำไรที่ตำ่ำอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางเศรษฐกิจที่เติบโตช้า และการใช้นโยบายดอกเบี้ยติดลบของธนาคารกลางยุโรปซึ่งทำให้ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยของธนาคารหอแคบลง ผลทดสอบภาวะวิกฤต ของธนาคารกลางยุดรป เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ขี้ว่าธนาคารที่มีฐานะทางการเงินแย่สุดในยุโรป ได้แก่ธนาคารของอิตาลี
Sovereign Wealth Fund ของประเทศกาตาร์ แต่แผนการเพ่ิมทุนดังกล่าวล้มเหลวหลังกองทุนจากกาตาร์ประกาศถอนตัว ซึ่งทำให้รับาลอิตาลีต้องของนุมัติเงินช่วยเหลือภาคธนาคารจำนวน 2 หมื่อนล้านยูโร สำหับการเพ่ิมทุนให้ BMPS' รวมถึงธนาคารอื่นๆ อีกหลายแห่งที่มีปัญหา วิกฤตธนาคารอิตาลีในครั้งนี้น่าจะสงผลกระทบในวงจำกัด เนื่องจากธนาคารที่มีปัญหาเป็นธนาคารขนาดใหญ่ และวงเงินที่ใช้ในการเพิ่มทุน (2 หมื่นล้านยูโร) นั้นคิดเป็นเพียง 1% ของ GDP อิตาลี และน้อยมากหากเที่ยงกับ GDP โดยรวมของยุโรป
ธนาคารกลางยุโรปกำหนดให้ BMPS' จัดการเพิ่มทุนให้เสร็จภายในสิ้นปี 2016 โดยเสนอแผนการเพ่ิมทุนจำนวน ห้าพันล้านยูโร โดยการขายหุ้นให้กับ
ปัญหาของธนาคารในอิตาลี แม้จะมีโอกาสน้อยที่จะลุกลามจนนำไปสู่วิกฤตเศณษฐกิจ แต่ก็สะท้อนถึงพื้นฐานเศณษฐกิจและภาคธนาคารในยุโรปที่ยังมีฐานะทางการเงินอ่อนแอ และยังมีความเสี่ยงที่อาจต้องเพ่ิมทุนหากเศราฐกิจยังเติบโตในระดับต่ำ นอกจากนั้น การเข้าชยเหลื่อภาคะนาคารจะเป็นการเพ่ิมภาระหนี้ให้กับรัฐบาลอิตาลีซึ่งมหนี้อยุ่ในระดับสูงอยุ่แล้ว และอาจเป็นจุดเริ่มต้นนำปสู่วิกฤตหนี้ภาครัฐฯ..http://www.forbesthailand.com/commentaries-detail.php?did=1580
วิกฤต! เศรษฐกิจ "ตุรกี" ระเบิดเวลาลูกใหม่ของยุโรป
เศณาฐกิจตุรกีเป็นบทเรียนดีที่สุดในแง่ที่ว่า การเมืองสามารถบ่อนเซาะ ทำลายเศรษฐกิจได้มากมายและรวดเร็วเพียงใด
ตุรกีเคยได้ชื่อว่เาป็นประเทศที่พร้อมก้าวไปสู่หัวแถวทางเศษฐกิจหลังเร่ิมปฏิรูปศรษฐฏิจให้ทันสมยใรปี 2003 ซึ่งรวมถึงการลดระบบซ้ำซ้อนและเปิดตลาดใให้ภาพเอกชนได้พัฒนาเต็มที่ ความเชื่อมั่นต่ออนาคตของตุรกีสะท้อนได้จากเงินลงทุนต่างชาติที่ไหลเข้าประเทศต่อเนื่องระหว่างปี 2003-2012 สูงถึง 400,000 ล้านตอลลาร์ ที่มากว่ายอดรวมของ 20 ปีก่อนหน้านั้นถึง 10 เท่าตัว
ในช่วงเวลาดังกล่าว อัตราการขยายตัวของจีดีพีเคยสุงถึง 9 เปอร์เซ็นต์ต่อปีแม้ว่าจะซบเซาลงไปบ้างตามเศรษฐกิจโลกในระยะหลัง แต่เศรษฐกิจตุรกีก็ยังมั่นคง แตกต่างมากมายจากในเวลานี้ที่ต้องตออยู่ในสภาพดิ้นรน ชนิดที่มองไม่เห็นอนาคต ไม่ว่าเศรษฐฏิจโลกจะฟื้นตัวหรือไม่ก็ตาม
ความไม่แน่นอนทางการเมือง ความหวาดระแวงทางการเมือง ที่เกิดขึ้นหลังเกิดความพยายามก่อรัฐประหารแต่ไม่ประสบผลสำเร็จในวันที่ 15 กรกฎาคม 2560 ที่ผ่านมา เปลี่ยนทุกอย่างไปจนหมด
ความเชื่อมั่นของนักลงทุนหดหาย นักท่องเที่ยวที่เคยพลุกพล่านเต้มชายหาด หลงเหลือพียงเบาบาง ในขณะที่รัฐบาลตกอยู่ในสภาพมุ่งมั่นกวาดล้างทางการเมืองชนิดไร้เหตุผล จนกลายเป้นการทำลายพ้นฐานธุรกิจในประเทศลงอย่างเลือดเย็น ค่าเงินลีร่า อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง กระทบกำลังซื้อภายในประเทศและกลยเป็นปัจจัยลลต่อเนื่องต่อเศรษฐกิจโดยรวมมากขึ้นไปอีก
หลังทำลายความพยายามของกลุ่มทหารที่ก่อกบฎได้สำเร็จ ประธานาธิบดีเรเจป เทย์ยิป แอร์โดอาน จัดการจักกุมผู้ต้องสงสัยไปถึง สีหมืนห้าพันคน และไล่เจ้าหน้าที่ของรัฐพ้นตำแหน่งมากถึง 130,000 คน แต่ทุกอย่างกลับไม่ยุติเพียงแค่นั้น ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่่านมา ผุ้นำตุรกีมีคำสั่งให้อายัดกิจการของบริษัทต่างๆ มากมายถึง 800 บริษัท ฐานต้องสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกัยการก่อกบฎหรือมีส่วนกับการก่อการร้าย แกนนำระดับเจ้าของหรือผุ้บริหารสูสุดกว่า 60 รายถูกจับกุมคุมขัง มูลค่าตวมของกิจาการที่ถุกยึดกลายๆ ในครั้งนั้นสุงถึง 10,000 ล้านดอลลาร์
การกระทำดังกล่าวสร้างความหวาดกลัวถึงระดบทีไม่ว่าจะไม่ว่าจะไม่พอใจมากเท่าใด มไ่มีนักธุรกิจรายไหนกล้าวิพากษ์รัฐบาล ด้วยเหตุผลที่ว่า "ไม่มีใครที่วิจารญ์แอร์โดอาน แล้วจะอยู่รอดปลอดภัยได้ในตุรกี" ...
... เมื่ปลายปีที่แล้ว มุดีส์ อินเวสเตอร์ เซอร์วิส และสแตนดาร์ด แอนด์พัวร์ 2 บริษัทจัดอันดับความน่าเช่อถือชั้นนำของโลก ปรับลดอัีนดับความน่าเชื่อถือของตุรกีลงสู่ระดับ "ขยะ" ในขณะที่เงินลงทุนจากต่างประเทศลดลงฮวบฮาบถึงกว่า 40%...
... ตุรกีกำลังสุ่มเาี่ยงต่อการล้มละลาย ในสายตาของซอนเมซ ปัญหาก็คือ ตุรกีอาจฉุดลากเอาประเทศอื่นๆ จมน้ำตามไปด้วย ตอนนี้ตุรกีมีหนี้สินต่างประเทศอยุ่ถึคง 270,000 ล้านดอลลาร์ ในจำนวนนี้ 87,000 ล้านเป็นของสเปน 42,000 ล้านเป็นของฝรั่งเศศ และอีก 15,000 ล้านเป็นเงินเยอมรนี
https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1492592583
ถ้าตุรกีผิดนัดชำระหนี้ขึ้นมาเมือใด ซอนเมซเชื่อว่า วิกฤตการณ์การเงินรอบใหม่ในยุดรป ก็เกิดขึ้นตามมาได้ไม่ยาก!!!!
เศรษฐกิจทัวโลกส่งสัญญาฟื้นตัวอย่างมี่นัยสำคัญในปี 2017 ด้วยพลังขับเคลื่อนจากพรรดาประเทศเศรษฐกิจยักษ์ใหญ่ ซึ่งเติบโตอย่างพร้อมหน้าเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เกิดวิกฤตการเงินเมือเกือบ 10 ปีก่อน
ข้อมูลจาก คอนฟิลเลนซ์ บอร์ด องค์กรวิจันเศรษฐกิจชั้นนำของโลกระบุวา ในปี 2017 ที่ผ่านมา ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศเศษรฐกิจรายใหญ่ ทั้งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศตลาดเกิดใหม่ขนาดใหญ่ทั่วดลก ต่างก้ฒีอัตราขยายตัวในระดับที่น่าพอใจ นำโดยสหรัฐอเมริกาทีเ่ติบโตระดับ 2.3% ส่วนจัน ขยายตัว 6.6% ขณะที่ญี่ปุ่น แม้จะยังไม่หลุดพ้นจากภาวะเงินฝืดก็ยังขยายตัวที่ระดับ 1.4%
ยูโรโซน แม้เผชิญกับความไม่แน่นอนทางการเมืองในบางประเทศก็ยังเติบโตที่ระดับ 2.2% ขณะที่สหราชอาณาจักรที่ำลังดิ้นรนเจรจาแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป ยังเติบโตที่ 1.5%
ประเทศเศรษฐกิจรายใหญ่อื่นๆ ต่างก็ขยายตัวแบบไม่ยอมน้อยหน้าเช่นกัน ประกอบด้วย อินเดียว 6.2% รัสเซีย 1.8% และบราซิล 1% ซึ่งเป็นสมาชิกในกลุ่ม BRICS ขณะที่แคนาดา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ เม็กซิโก ตุรกี และอินโดนีเซีย ซึ่งอยุ่ในกลุ่ม G20 ก็เติบโตที่ระดับ 2.5% 1.8% 2.7% 2.5% 4% และ 4.9% ตามลำดับ...https://thestandard.co/global-economy-2018/
นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจโลกในปี 2551 เศรษฐกิจยุโรปก็ประสบปัญหารุมเร้าต่อเนื่อง ทั้งจากปัญหาหนี้ภาครัฐของกลุ่มประเทศ PIIGS(โปรตุเกส ไอร์แลนด์ อิตาลี กรีช และสเปน) และปัญหารการเมืองที่มีารกฐสานมาจากความไม่พอใจของประชาชนที่สังสมมานานจากเสณาฐฏิจตกต่ำต่อเนื่องหลายปี ประกอบกับความไม่แน่นอนจากการเจรจา บรีซิทต์ รวมถึงปัญหาภาคธสคารมีหนี้เสียในระดับสูง เป็นอุปสรรคต่อการปล่อยก็และกดดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง อัตราการว่างงานที่พุ่งสูงเกิน 20% ในหลายประเทศ ประกอบกับมาตการรัดเข็มขัดของภาครัฐ ที่นำไปสู่การลด
สวัสดิการสังคม เช่น การยืดอายุเกษียณและการลดเงินอุดหนุนให้ผุ้เกษียณอายุ รวมไปถึงการปฏิรูปกฎหมายแรงงาน ซึ่งมุ่งลดสิทธิของลูกจ้างเพื่อให้การตลาดแรงงานมีความยืดหยุ่นมากขึ้น ก่อให้เกิดกาะแสต่อต้านพรรคการเมืองกระแสหลักทีประชาชนเห้นว่าเป้นต้นเหตุของปัญหา และหันไปให้การสนับสนุนพรรคการเมืองเกิดใหม่ ซึ่งมีนธยบายต่อต้านการัดเข็มขัด
นอกจากคะแนนความนิยมของพรรคซึ่งมีนโยบายต่อต้านการรัดเข็มขัดทีเ่พ่ิมขึ้นแล้ว ควาไม่พอใจของประชาชนยังสะท้อนผ่านการออกเสียงประชามติ บรีซิทต์ และการออกเสียงประชมติควำ่การปฏิรูปการเมืองในอิตาลี เมื่อปีที่แล้ว รวมถึงความพยายมประกาศเอกราชของท้องถ่ิน เพื่อแผกตัวออกจากประเทศที่มีเสณษฐกิจตกต่ำ เช่น การเรียกร้องการแยกตัวออกจากสเปน เป็นต้น และการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานธิบดีสหรัฐฯ ของ โดนัล ทรัมป์ ซึ่งชูนโยบายกีดกันทางการค้า และการต่อต้านการรับผุ้อพยพเข้าประเทศ อาจเป็นอีกปัจจัยที่สนับสนุนให้กระแสพรรค ประชานิยม ในยุดรปเพิ่มสูงขึ้น(ส่งผลต่อความไม่แน่นอนทางการเมือง)
ปัญหารในภาคธนาคาร เป็นอีกปัจจัยที่กดดันการเติบโตของเศรษฐกิจยุโรป ซึ่งมีหนี้เสียอยู่ในระดับสูง และผลกำไรที่ตำ่ำอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางเศรษฐกิจที่เติบโตช้า และการใช้นโยบายดอกเบี้ยติดลบของธนาคารกลางยุโรปซึ่งทำให้ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยของธนาคารหอแคบลง ผลทดสอบภาวะวิกฤต ของธนาคารกลางยุดรป เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ขี้ว่าธนาคารที่มีฐานะทางการเงินแย่สุดในยุโรป ได้แก่ธนาคารของอิตาลี
Sovereign Wealth Fund ของประเทศกาตาร์ แต่แผนการเพ่ิมทุนดังกล่าวล้มเหลวหลังกองทุนจากกาตาร์ประกาศถอนตัว ซึ่งทำให้รับาลอิตาลีต้องของนุมัติเงินช่วยเหลือภาคธนาคารจำนวน 2 หมื่อนล้านยูโร สำหับการเพ่ิมทุนให้ BMPS' รวมถึงธนาคารอื่นๆ อีกหลายแห่งที่มีปัญหา วิกฤตธนาคารอิตาลีในครั้งนี้น่าจะสงผลกระทบในวงจำกัด เนื่องจากธนาคารที่มีปัญหาเป็นธนาคารขนาดใหญ่ และวงเงินที่ใช้ในการเพิ่มทุน (2 หมื่นล้านยูโร) นั้นคิดเป็นเพียง 1% ของ GDP อิตาลี และน้อยมากหากเที่ยงกับ GDP โดยรวมของยุโรป
ธนาคารกลางยุโรปกำหนดให้ BMPS' จัดการเพิ่มทุนให้เสร็จภายในสิ้นปี 2016 โดยเสนอแผนการเพ่ิมทุนจำนวน ห้าพันล้านยูโร โดยการขายหุ้นให้กับ
ปัญหาของธนาคารในอิตาลี แม้จะมีโอกาสน้อยที่จะลุกลามจนนำไปสู่วิกฤตเศณษฐกิจ แต่ก็สะท้อนถึงพื้นฐานเศณษฐกิจและภาคธนาคารในยุโรปที่ยังมีฐานะทางการเงินอ่อนแอ และยังมีความเสี่ยงที่อาจต้องเพ่ิมทุนหากเศราฐกิจยังเติบโตในระดับต่ำ นอกจากนั้น การเข้าชยเหลื่อภาคะนาคารจะเป็นการเพ่ิมภาระหนี้ให้กับรัฐบาลอิตาลีซึ่งมหนี้อยุ่ในระดับสูงอยุ่แล้ว และอาจเป็นจุดเริ่มต้นนำปสู่วิกฤตหนี้ภาครัฐฯ..http://www.forbesthailand.com/commentaries-detail.php?did=1580
วิกฤต! เศรษฐกิจ "ตุรกี" ระเบิดเวลาลูกใหม่ของยุโรป
เศณาฐกิจตุรกีเป็นบทเรียนดีที่สุดในแง่ที่ว่า การเมืองสามารถบ่อนเซาะ ทำลายเศรษฐกิจได้มากมายและรวดเร็วเพียงใด
ตุรกีเคยได้ชื่อว่เาป็นประเทศที่พร้อมก้าวไปสู่หัวแถวทางเศษฐกิจหลังเร่ิมปฏิรูปศรษฐฏิจให้ทันสมยใรปี 2003 ซึ่งรวมถึงการลดระบบซ้ำซ้อนและเปิดตลาดใให้ภาพเอกชนได้พัฒนาเต็มที่ ความเชื่อมั่นต่ออนาคตของตุรกีสะท้อนได้จากเงินลงทุนต่างชาติที่ไหลเข้าประเทศต่อเนื่องระหว่างปี 2003-2012 สูงถึง 400,000 ล้านตอลลาร์ ที่มากว่ายอดรวมของ 20 ปีก่อนหน้านั้นถึง 10 เท่าตัว
ในช่วงเวลาดังกล่าว อัตราการขยายตัวของจีดีพีเคยสุงถึง 9 เปอร์เซ็นต์ต่อปีแม้ว่าจะซบเซาลงไปบ้างตามเศรษฐกิจโลกในระยะหลัง แต่เศรษฐกิจตุรกีก็ยังมั่นคง แตกต่างมากมายจากในเวลานี้ที่ต้องตออยู่ในสภาพดิ้นรน ชนิดที่มองไม่เห็นอนาคต ไม่ว่าเศรษฐฏิจโลกจะฟื้นตัวหรือไม่ก็ตาม
ความไม่แน่นอนทางการเมือง ความหวาดระแวงทางการเมือง ที่เกิดขึ้นหลังเกิดความพยายามก่อรัฐประหารแต่ไม่ประสบผลสำเร็จในวันที่ 15 กรกฎาคม 2560 ที่ผ่านมา เปลี่ยนทุกอย่างไปจนหมด
ความเชื่อมั่นของนักลงทุนหดหาย นักท่องเที่ยวที่เคยพลุกพล่านเต้มชายหาด หลงเหลือพียงเบาบาง ในขณะที่รัฐบาลตกอยู่ในสภาพมุ่งมั่นกวาดล้างทางการเมืองชนิดไร้เหตุผล จนกลายเป้นการทำลายพ้นฐานธุรกิจในประเทศลงอย่างเลือดเย็น ค่าเงินลีร่า อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง กระทบกำลังซื้อภายในประเทศและกลยเป็นปัจจัยลลต่อเนื่องต่อเศรษฐกิจโดยรวมมากขึ้นไปอีก
หลังทำลายความพยายามของกลุ่มทหารที่ก่อกบฎได้สำเร็จ ประธานาธิบดีเรเจป เทย์ยิป แอร์โดอาน จัดการจักกุมผู้ต้องสงสัยไปถึง สีหมืนห้าพันคน และไล่เจ้าหน้าที่ของรัฐพ้นตำแหน่งมากถึง 130,000 คน แต่ทุกอย่างกลับไม่ยุติเพียงแค่นั้น ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่่านมา ผุ้นำตุรกีมีคำสั่งให้อายัดกิจการของบริษัทต่างๆ มากมายถึง 800 บริษัท ฐานต้องสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกัยการก่อกบฎหรือมีส่วนกับการก่อการร้าย แกนนำระดับเจ้าของหรือผุ้บริหารสูสุดกว่า 60 รายถูกจับกุมคุมขัง มูลค่าตวมของกิจาการที่ถุกยึดกลายๆ ในครั้งนั้นสุงถึง 10,000 ล้านดอลลาร์
การกระทำดังกล่าวสร้างความหวาดกลัวถึงระดบทีไม่ว่าจะไม่ว่าจะไม่พอใจมากเท่าใด มไ่มีนักธุรกิจรายไหนกล้าวิพากษ์รัฐบาล ด้วยเหตุผลที่ว่า "ไม่มีใครที่วิจารญ์แอร์โดอาน แล้วจะอยู่รอดปลอดภัยได้ในตุรกี" ...
... เมื่ปลายปีที่แล้ว มุดีส์ อินเวสเตอร์ เซอร์วิส และสแตนดาร์ด แอนด์พัวร์ 2 บริษัทจัดอันดับความน่าเช่อถือชั้นนำของโลก ปรับลดอัีนดับความน่าเชื่อถือของตุรกีลงสู่ระดับ "ขยะ" ในขณะที่เงินลงทุนจากต่างประเทศลดลงฮวบฮาบถึงกว่า 40%...
... ตุรกีกำลังสุ่มเาี่ยงต่อการล้มละลาย ในสายตาของซอนเมซ ปัญหาก็คือ ตุรกีอาจฉุดลากเอาประเทศอื่นๆ จมน้ำตามไปด้วย ตอนนี้ตุรกีมีหนี้สินต่างประเทศอยุ่ถึคง 270,000 ล้านดอลลาร์ ในจำนวนนี้ 87,000 ล้านเป็นของสเปน 42,000 ล้านเป็นของฝรั่งเศศ และอีก 15,000 ล้านเป็นเงินเยอมรนี
https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1492592583
ถ้าตุรกีผิดนัดชำระหนี้ขึ้นมาเมือใด ซอนเมซเชื่อว่า วิกฤตการณ์การเงินรอบใหม่ในยุดรป ก็เกิดขึ้นตามมาได้ไม่ยาก!!!!
เศรษฐกิจทัวโลกส่งสัญญาฟื้นตัวอย่างมี่นัยสำคัญในปี 2017 ด้วยพลังขับเคลื่อนจากพรรดาประเทศเศรษฐกิจยักษ์ใหญ่ ซึ่งเติบโตอย่างพร้อมหน้าเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เกิดวิกฤตการเงินเมือเกือบ 10 ปีก่อน
ข้อมูลจาก คอนฟิลเลนซ์ บอร์ด องค์กรวิจันเศรษฐกิจชั้นนำของโลกระบุวา ในปี 2017 ที่ผ่านมา ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศเศษรฐกิจรายใหญ่ ทั้งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศตลาดเกิดใหม่ขนาดใหญ่ทั่วดลก ต่างก้ฒีอัตราขยายตัวในระดับที่น่าพอใจ นำโดยสหรัฐอเมริกาทีเ่ติบโตระดับ 2.3% ส่วนจัน ขยายตัว 6.6% ขณะที่ญี่ปุ่น แม้จะยังไม่หลุดพ้นจากภาวะเงินฝืดก็ยังขยายตัวที่ระดับ 1.4%
ยูโรโซน แม้เผชิญกับความไม่แน่นอนทางการเมืองในบางประเทศก็ยังเติบโตที่ระดับ 2.2% ขณะที่สหราชอาณาจักรที่ำลังดิ้นรนเจรจาแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป ยังเติบโตที่ 1.5%
ประเทศเศรษฐกิจรายใหญ่อื่นๆ ต่างก็ขยายตัวแบบไม่ยอมน้อยหน้าเช่นกัน ประกอบด้วย อินเดียว 6.2% รัสเซีย 1.8% และบราซิล 1% ซึ่งเป็นสมาชิกในกลุ่ม BRICS ขณะที่แคนาดา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ เม็กซิโก ตุรกี และอินโดนีเซีย ซึ่งอยุ่ในกลุ่ม G20 ก็เติบโตที่ระดับ 2.5% 1.8% 2.7% 2.5% 4% และ 4.9% ตามลำดับ...https://thestandard.co/global-economy-2018/
วันพฤหัสบดีที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
World Economic Forum
ยุโรปในการประชุม World Economic Forum ที่ดาวอส
เมื่อ 23-26 ที่ผ่านมา มีผู้นำทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกและบุคคคสำคัญระดับโลกกว่าหลายพันคน มารวมตัวกันเพื่อถกเถียงและหารือ เกี่ยวกับเทรนด์ปัจจุบันและการเดินหน้าอนาคตเศรษฐกิจโลก ปีนี้ มีผุ้นำยุโรปและผุ้นำโลกมาร่วมงานหลายท่าน วซึ่งพวกเขาได้แสดงท่าที่เกี่ยวกับอนาคตเศรษฐกิจการเมืองและสังคมโลกและยุโรปไว้อย่างน่าสนใจ มีประเด็นอะไรที่พวกเขาห่วงกังวล เราหยิบยกวิสัยทัศน์ของผุ้นำที่สำคัญดังนี้
ในแนวคิดของผุ้นำยุโรป "การเปิดกว้าง การต้าเสรี และการสร้างพันธมิตรและความร่วมมือระหว่างกัน เป็นกุญแจสำหรับอนาคตยุโรป" นายกรัฐมนตรีเยอรมัน นาง แองเจลล่า เมอเคิล ต่อต้าน โปรเทคชั่นนิสต์ เธอย้ำจุดยือของเยอรมนีในการร่วมกับประชาคมโลกในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมต่างๆ ที่รุมเร้าผ่านการสร้างความร่วมมือที่เธอเรียกว่า spirit of global cooperation โดยเน้นระบบการต้าที่เปิดกว้าง เธอต้านระบบการต้าแบบปิดกั้น โปรเทคชันนิสต์ และบอกว่าเราไม่ตองการ "กำแพง" ที่ปิดกันอีกต่อไป เราต้องเรียนรู้จากอดีต และต้องร่วมกันสร้าง ความร่วมมือ" เรียกว่าแนวคิดนี้ ออกแนวต่อต้านแนวคิดเชิง โปรเทคชั่นนิสต์ ของประธานาธิบดี ทรัมป์ ในขณะที่ผุ้นำยุโรปยึดมั่นกับการเดินหน้านโยบายการต้าเสรี รัฐมนตีพาณิชญ์สหรัฐฯ มองว่า "สงครามการต้ามันต้องต่อสุ้กันทุกวันอยู่แล้ว
“France is back at the core of Europe”เป็นการสร้างความเชื่อมีั่นในแก่ประชาคมดลกและยุดรปว่า ฝรัี่งเศสยือหยัดเดินหน้าเป็นแกนนำใหากรสร้างอนาคตของยุดรปต่อไป และบอกอีกว่า ฝรั่งเสสจะประสบสำเร็จไม่ได้เลยหากไม่มีความสำเร็จของยุโรป
ประธานาธิบดีฝรั่งเศส นาย มาครง ผลักดัน climate Change เขาประกาศวา
ประเด็นที่ฝรั่งเศสผลักดันมาในเวทีระหว่างประเทศ ได้แก่ การต่อสู้และการสร้างความร่วมือระดับโลกเรื่องการเปลี่ยนแปลงองสภาพอากาศ ฝรั่งเศสมีเป้าหมายจะปิดโรงงานถ่านหินทั้งหมดภายในปี ค.ศ. 2021 จะเป็นโมเตลในการต่อสู้ ไคลเมท เชนจ์ และต้องการผลักดันความตกลง พลาสทิส อกรีเมนท์ ให้เดินหน้าให้มีแผนปฎิบัติการอย่างเป็นรูปธรรมทีเห็นผลภายในปี ค.ศ.2020 ที่ดาวอส ประะานาธิบด มาครง ได้พบกับปรธานาธิบดีจีน นาย สี จีพิง และได้รับทราบเกี่ยวกับความุ่งมั่นของผุ้นำจีนใน ความตกลง พลาสทิส อะกรีเม้นท์ เรื่อง ไคลเมท เชนจ์ ด้วย เขาคิดว่า ความเชื่อมโยงระหว่างเอเชียกับยุโรป ในเส้นทาง ถนนสายไหมใหม่ นั้นจะต้องเป็นเส้นทาง "สีเขียว"
นายกรัฐมนตรี ญิง เออน่า โซลเบ่อ ของนอร์เวย์ชูประเด็นสิทธิสตรี เธอเป็นหนึ่งในวิทยากรหญิง 7 ท่านที่เข้าร่วมกันสัมนาในหัวข้อ เวทีการกาวอส หารือเรื่องสิทธิสตรี
นายกรัฐมนตรีหญิง ของนอร์เวย์ กล่าวว่า "ตอนนี้เรื่องใหญ่ที่สุดที่เราควรทำความเข้าใจไม่ใช่เกี่ยวกับว่าเป็นผุ้ชายหรือผุ้หญิง แต่เกี่ยวกบการใช้พรสวรรค์ของสังคมในภาพhttp://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/643883
รวม"
ดร.มาโนชญ์ อารีย์ หัวหน้าภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ และนักวิชาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งได้วิเคราะห์เรื่องราวเกี่ยวกับการเืองโลกในประเด็น แนวโน้ม การเมืองโลกที่จะมีความเปลี่ยนแปลงไป รวมถึคงขั้วอำนาจโลกที่จากเดิมคือสหรัฐฯ แต่ในอนาคตขั้นอำนาจจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หลังนาย โดนัลด์ ทรัมป์ ขึ้นครองเก้าอี้ประธานาธิบดี ทำให้สหรัฐฯ โดดเดียวตัวเองจากประชาคมดลกมากขึ้นและประเด็นที่มหาอไนาจไม่ต้องการทำสงครามกนเอง จนเป็นที่มาของสงครามตัวแทน ซึ่งเป็นแกนใหญ่ของการเปลี่ยนแปลงโลกในปีนี้อย่างน่าวสนใจ
เป้ฯที่มาของการเปลี่ยนแปลงโลก ประเด็นแรก การขับเคี่ยวของมหาอำนาจโลกหลังจากนี เห็นได้จากปี 2017 ที่ผ่านมา นโยบายนี้ ได้ลดบทบาทบนเวทีการเมืองโลกของสหรัฐฯ ลงอย่างมาก โดยสหรัฐฯ โดดเดี่ยวตัวเองจากสังคมดลก และถูกโดดเดี่ยวออกไป ในกรณีที่อเมริกาโดดเดียวตัวเองออกไป เห็นได้จากกรณีที่สหรัญฯ ไม่ร่วมมือ "ข้อตกลงปารีส" ที่ว่าด้วยเรื่องสิ่งแวดล้อม ขณะที่จีน ซึ่่งเป้นอีกนึ่งมหาอำนาจที่น่าจับตามมองกลับเป็นประเทศที่เรียกร้องให้สังคมระหว่างประเทศ ต่อสู้กับภาวะการเปลียนแปลของสภาพอากาศ
นโยบายอเมริกัน เฟริสต์
แกนอำนาจโลกเคลื่อนย้าย สหรัฐฯ ถุกลอทอนบทบาท จีนจับมือรัสเซียผงาด ขึ้นแท่น มหาอำนาจโลกเจ้าใหม่!!
สหรัฐฯ ถูกโดดเดียวในสังคมระหว่างประเทศ จากกรณีสหรัฐฯ รับรองสภานะของเยรูซาเล็ม เป็นเมืองหลวงของอิสราเอลในเวทีสหประชาชาติ เป้นการส่งสัญญาณว่า ในปี 2018 ทำให้สหรัฐฯ ถูกลอทอนบทบาท ลงไป ในขณะที่จีนจะก้าวขึ้นมามีบทบาทชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเป้นประเทศคอมมิวนิสต์ที่นำกลุ่มประเทศเสรีนิยม
ในปีที่แล้วประธานาธิบดี "สี จิ้น ผิง" ได้รับการยอมรับในประเทศมากขึ้น และกระชับความสัมพันะ์กับพรรคอมมิวนิสต์ในจีน ถึงขึ้นถูกวางสถานะเที่ยวเท่าประธานเหมา หรือ เหมา เจ๋อ ตุง ผุ้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน ดังนั้นในปีนี้บทบาทของจีนในเวทีโลกจึงเพ่ิมมากขึ้นตามไปด้วย เนื่องจากในประเทศมีเสถียรภาพมากขึ้น ดดยเฉาพะการจับมือกัลรัสเซีย ในลักษณะเป้นพันธมิตรร่วมกัน แม้จะตางความคิดต่างอุดมการณ์ แต่เชื่อว่าการที่สองประเทศทำเช่นนี้ ก็เพื่อคามอำนาจสหรัฐฯ ว฿่งเป้นขึ้นอำhttps://news.mthai.com/webmaster-talk/611544.html
นาจสำคัญของโลกในปี 2018 แกนอำนาจดลกเปลี่ยนและเคลื่อนย้าย เพราะจีนและรัศเซียจะก้าวขึ้นมามีบทบาทที่เด่นชัดมากย่ิขึ้นและจะส่งผลกับระบบระหว่างประเทศทั้งหมด รวมถึงประเทศเล็กๆ น้อยๆ ที่จะมีโอกาสในการตัดสินใจมากขึ้น ว่าจะมีนโยบายต่างประเทศกับมหาอำนาจอย่างไร และไม่จำเป้นต้ององกับสหรัฐฯ ดังเช่นหลังยุคสงครามเย็นอีกต่อไป เรพาะจีนและรัสเซยขึ้นมามีอำนาจ และมีสภานภาพที่สามารถพึงพิได้ ขณะที่ในปีนีจะมีบรรากาศที่ใกล้เคียงกับสงครามเย็น เพราะประเทศเล็กๆ สามารถแสวงหาผลประโยชน์ได้จากทุกฝ่าย ซึ่เงป็นข้อดีข้อหนึ่ง "สงครามเย็น"
เมื่อ 23-26 ที่ผ่านมา มีผู้นำทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกและบุคคคสำคัญระดับโลกกว่าหลายพันคน มารวมตัวกันเพื่อถกเถียงและหารือ เกี่ยวกับเทรนด์ปัจจุบันและการเดินหน้าอนาคตเศรษฐกิจโลก ปีนี้ มีผุ้นำยุโรปและผุ้นำโลกมาร่วมงานหลายท่าน วซึ่งพวกเขาได้แสดงท่าที่เกี่ยวกับอนาคตเศรษฐกิจการเมืองและสังคมโลกและยุโรปไว้อย่างน่าสนใจ มีประเด็นอะไรที่พวกเขาห่วงกังวล เราหยิบยกวิสัยทัศน์ของผุ้นำที่สำคัญดังนี้
ในแนวคิดของผุ้นำยุโรป "การเปิดกว้าง การต้าเสรี และการสร้างพันธมิตรและความร่วมมือระหว่างกัน เป็นกุญแจสำหรับอนาคตยุโรป" นายกรัฐมนตรีเยอรมัน นาง แองเจลล่า เมอเคิล ต่อต้าน โปรเทคชั่นนิสต์ เธอย้ำจุดยือของเยอรมนีในการร่วมกับประชาคมโลกในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมต่างๆ ที่รุมเร้าผ่านการสร้างความร่วมมือที่เธอเรียกว่า spirit of global cooperation โดยเน้นระบบการต้าที่เปิดกว้าง เธอต้านระบบการต้าแบบปิดกั้น โปรเทคชันนิสต์ และบอกว่าเราไม่ตองการ "กำแพง" ที่ปิดกันอีกต่อไป เราต้องเรียนรู้จากอดีต และต้องร่วมกันสร้าง ความร่วมมือ" เรียกว่าแนวคิดนี้ ออกแนวต่อต้านแนวคิดเชิง โปรเทคชั่นนิสต์ ของประธานาธิบดี ทรัมป์ ในขณะที่ผุ้นำยุโรปยึดมั่นกับการเดินหน้านโยบายการต้าเสรี รัฐมนตีพาณิชญ์สหรัฐฯ มองว่า "สงครามการต้ามันต้องต่อสุ้กันทุกวันอยู่แล้ว
“France is back at the core of Europe”เป็นการสร้างความเชื่อมีั่นในแก่ประชาคมดลกและยุดรปว่า ฝรัี่งเศสยือหยัดเดินหน้าเป็นแกนนำใหากรสร้างอนาคตของยุดรปต่อไป และบอกอีกว่า ฝรั่งเสสจะประสบสำเร็จไม่ได้เลยหากไม่มีความสำเร็จของยุโรป
ประธานาธิบดีฝรั่งเศส นาย มาครง ผลักดัน climate Change เขาประกาศวา
ประเด็นที่ฝรั่งเศสผลักดันมาในเวทีระหว่างประเทศ ได้แก่ การต่อสู้และการสร้างความร่วมือระดับโลกเรื่องการเปลี่ยนแปลงองสภาพอากาศ ฝรั่งเศสมีเป้าหมายจะปิดโรงงานถ่านหินทั้งหมดภายในปี ค.ศ. 2021 จะเป็นโมเตลในการต่อสู้ ไคลเมท เชนจ์ และต้องการผลักดันความตกลง พลาสทิส อกรีเมนท์ ให้เดินหน้าให้มีแผนปฎิบัติการอย่างเป็นรูปธรรมทีเห็นผลภายในปี ค.ศ.2020 ที่ดาวอส ประะานาธิบด มาครง ได้พบกับปรธานาธิบดีจีน นาย สี จีพิง และได้รับทราบเกี่ยวกับความุ่งมั่นของผุ้นำจีนใน ความตกลง พลาสทิส อะกรีเม้นท์ เรื่อง ไคลเมท เชนจ์ ด้วย เขาคิดว่า ความเชื่อมโยงระหว่างเอเชียกับยุโรป ในเส้นทาง ถนนสายไหมใหม่ นั้นจะต้องเป็นเส้นทาง "สีเขียว"
นายกรัฐมนตรี ญิง เออน่า โซลเบ่อ ของนอร์เวย์ชูประเด็นสิทธิสตรี เธอเป็นหนึ่งในวิทยากรหญิง 7 ท่านที่เข้าร่วมกันสัมนาในหัวข้อ เวทีการกาวอส หารือเรื่องสิทธิสตรี
นายกรัฐมนตรีหญิง ของนอร์เวย์ กล่าวว่า "ตอนนี้เรื่องใหญ่ที่สุดที่เราควรทำความเข้าใจไม่ใช่เกี่ยวกับว่าเป็นผุ้ชายหรือผุ้หญิง แต่เกี่ยวกบการใช้พรสวรรค์ของสังคมในภาพhttp://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/643883
รวม"
ดร.มาโนชญ์ อารีย์ หัวหน้าภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ และนักวิชาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งได้วิเคราะห์เรื่องราวเกี่ยวกับการเืองโลกในประเด็น แนวโน้ม การเมืองโลกที่จะมีความเปลี่ยนแปลงไป รวมถึคงขั้วอำนาจโลกที่จากเดิมคือสหรัฐฯ แต่ในอนาคตขั้นอำนาจจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หลังนาย โดนัลด์ ทรัมป์ ขึ้นครองเก้าอี้ประธานาธิบดี ทำให้สหรัฐฯ โดดเดียวตัวเองจากประชาคมดลกมากขึ้นและประเด็นที่มหาอไนาจไม่ต้องการทำสงครามกนเอง จนเป็นที่มาของสงครามตัวแทน ซึ่งเป็นแกนใหญ่ของการเปลี่ยนแปลงโลกในปีนี้อย่างน่าวสนใจ
เป้ฯที่มาของการเปลี่ยนแปลงโลก ประเด็นแรก การขับเคี่ยวของมหาอำนาจโลกหลังจากนี เห็นได้จากปี 2017 ที่ผ่านมา นโยบายนี้ ได้ลดบทบาทบนเวทีการเมืองโลกของสหรัฐฯ ลงอย่างมาก โดยสหรัฐฯ โดดเดี่ยวตัวเองจากสังคมดลก และถูกโดดเดี่ยวออกไป ในกรณีที่อเมริกาโดดเดียวตัวเองออกไป เห็นได้จากกรณีที่สหรัญฯ ไม่ร่วมมือ "ข้อตกลงปารีส" ที่ว่าด้วยเรื่องสิ่งแวดล้อม ขณะที่จีน ซึ่่งเป้นอีกนึ่งมหาอำนาจที่น่าจับตามมองกลับเป็นประเทศที่เรียกร้องให้สังคมระหว่างประเทศ ต่อสู้กับภาวะการเปลียนแปลของสภาพอากาศ
นโยบายอเมริกัน เฟริสต์
แกนอำนาจโลกเคลื่อนย้าย สหรัฐฯ ถุกลอทอนบทบาท จีนจับมือรัสเซียผงาด ขึ้นแท่น มหาอำนาจโลกเจ้าใหม่!!
สหรัฐฯ ถูกโดดเดียวในสังคมระหว่างประเทศ จากกรณีสหรัฐฯ รับรองสภานะของเยรูซาเล็ม เป็นเมืองหลวงของอิสราเอลในเวทีสหประชาชาติ เป้นการส่งสัญญาณว่า ในปี 2018 ทำให้สหรัฐฯ ถูกลอทอนบทบาท ลงไป ในขณะที่จีนจะก้าวขึ้นมามีบทบาทชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเป้นประเทศคอมมิวนิสต์ที่นำกลุ่มประเทศเสรีนิยม
ในปีที่แล้วประธานาธิบดี "สี จิ้น ผิง" ได้รับการยอมรับในประเทศมากขึ้น และกระชับความสัมพันะ์กับพรรคอมมิวนิสต์ในจีน ถึงขึ้นถูกวางสถานะเที่ยวเท่าประธานเหมา หรือ เหมา เจ๋อ ตุง ผุ้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน ดังนั้นในปีนี้บทบาทของจีนในเวทีโลกจึงเพ่ิมมากขึ้นตามไปด้วย เนื่องจากในประเทศมีเสถียรภาพมากขึ้น ดดยเฉาพะการจับมือกัลรัสเซีย ในลักษณะเป้นพันธมิตรร่วมกัน แม้จะตางความคิดต่างอุดมการณ์ แต่เชื่อว่าการที่สองประเทศทำเช่นนี้ ก็เพื่อคามอำนาจสหรัฐฯ ว฿่งเป้นขึ้นอำhttps://news.mthai.com/webmaster-talk/611544.html
นาจสำคัญของโลกในปี 2018 แกนอำนาจดลกเปลี่ยนและเคลื่อนย้าย เพราะจีนและรัศเซียจะก้าวขึ้นมามีบทบาทที่เด่นชัดมากย่ิขึ้นและจะส่งผลกับระบบระหว่างประเทศทั้งหมด รวมถึงประเทศเล็กๆ น้อยๆ ที่จะมีโอกาสในการตัดสินใจมากขึ้น ว่าจะมีนโยบายต่างประเทศกับมหาอำนาจอย่างไร และไม่จำเป้นต้ององกับสหรัฐฯ ดังเช่นหลังยุคสงครามเย็นอีกต่อไป เรพาะจีนและรัสเซยขึ้นมามีอำนาจ และมีสภานภาพที่สามารถพึงพิได้ ขณะที่ในปีนีจะมีบรรากาศที่ใกล้เคียงกับสงครามเย็น เพราะประเทศเล็กๆ สามารถแสวงหาผลประโยชน์ได้จากทุกฝ่าย ซึ่เงป็นข้อดีข้อหนึ่ง "สงครามเย็น"
วันพุธที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
love love EU
สังคมของยุโรปเป็นสังคมที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาการต่างๆ มาก เป็นสังคมเมืองมากกว่าชนบท มีัลักษณะเป็นครอบครัวเดียว มีความผูกพันกับเครื่อญาติไม่มากนัก ไม่แน่แฟ้นเหมือนสังคมไทย มีระเบียบวินัยเคร่งครัด รักประชธิปไตย รักความเป็นอิสระ รักเสรีถาพ ขยันขันแข็.ในการทำงานเน้นการช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด มีความเป็นตัวของตัวเอง
ในทางวัฒนธรรม เป็นวัฒนธรรมของขาวคริสต์ แบบประชาธิปไตย เพราะปรชากรส่วยนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์ รักเอระเสรี รัการปกครองระบอประชาธิปไตย...
วันนักบุญวาเลนไทน์ หรือที่เรียกกันว่า วันวาเลนไทน์ ตรงกับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี วันวาเลนไทน์มีการเฉลิมฉลองในหลายประเทศทั่วโลก ส่วนใหญ่เป็นประเทศทางตะวันตก แม้จะยังเป็นวันทำงานในทุกประทศเหล่านั้นก็ตาม
"วันนักบุญวาเลนไทน์" แต่เดิมเป็นเพียงวันฉลบองนักบุญในศาสนาคริสต์ยุแรกที่ชื่อ วาเลนตินัส( แต่นักบุญชื่อนี้มีหลายองค์) ความหมายโรแมนติกโดยนัยสมัยใหม่นั้นกวีเพ่ิมเติมในอีกหลายศตวรรษต่อมาทั้งสิ้น วันวาเลินไทนถูกกำหนดขึ้นครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเหลาซิอุสที่ 1 ใน ค.ศ. 496 ก่อนจะถูกลบออกจาปฏิทินนักบุญทั่วไปของโรมัน ในปี ค.ศ. 1969 โดยสมเด็นพระสันตะปรปรปอลที 6
วันวาเลนไทน์มาข้องเกี่ยวข้องกับรักแบบโรแมนติกเป็นครั้งแรกในแวดวงสังคมอขงเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ ช่วงกลางสมัยกลาง เมื่อประเพณีรักเทิดทุน เฟืองฟู (เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ เป็นนัก กวี นักปรชญา ข้าราชการและนักการทูตชาวอังกฤษ ได้รับการยอย่อว่าเป็นบิดาแห่งกวีนิพนธ์อังกฤษ แม้เขาจะเขียนงานไว้มากมาย แต่งานเขียนที่เป็นที่รุ้จักมากที่สุดคืิองานเขียนที่ยังไม่เสร็จ เรื่อง "ตำนานแคนเดอร์บรี"..)
ตำนานวันวาเลนไทน์..
ในคริสต์สตวรรษที่ 5 หรือ 6 งานเขียนชื่อPassio Marii et Marthae ได้แต่งเรื่องราวการพลีชีพเพื่อศาสนาแก่นักบุญวาเลนไทน์แห่งโรม ซึ่งปรากฎว่าไม่ได้อยู่บนพื้นฐานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ใดๆ เลย ผลงานนี้ อว้างว่า นักบุญวาเลนไทน์ถูกเบียดเบียนเพราะนับถือศาสนคริสต์ และถูกสอบลสวนใโดย จักรพรรดิคอลเดียส กอธิดัสเป็นการส่วนตัว วาเลนไทน์จักพรรคดคอลเดียสประทับใจและได้สนทนากับเขา โดยพยายามให้เขาเปลี่ยนไปนับถือลัทธิเพเกินโรมันเพื่อรักษาชีวิตของเขา วาเลนไทน์ ปฏิเสธและพยายาม โน้มน้าวให้จักรพรรคดิคลอเดียสหันมานับถอศาสนคริสต์แทน ด้วยเหตุนี้ เขาจึงถุกประการชีวิต ก่อนที่เขาจะถูกประการชีวตินั้นมีายงานว่าเขาได้แสดงปาฏิหารย์โดยรักษาบูกสาวตาบอดของผุ้คุมของเขา ...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B9%8C
หรืออีกตำนานหนึ่ง "วาเลนไทน์" มาจากชื่อของนักบุญ เซนต์ วาเลนไทน ในสมัยกษัตรยิ์คลอติอุสที่ 2 แห่งกรุงโรม เซนต์ วาเลนไทน เป็นบาทหลวง อยุ่ที่โบสถ์ใกล้ๆ กรุงโรม สมัยนั้นกาัตรยิืคลอติอุส ที่ 2 ออกกฎห้ามีการแต่างงาน ในเมืองของพระองค์เ พราะทรงต้องการให้ผุ้ชายทุกคน ไปเป็นทหาร เพื่อทำศึกสงครา สร้างกรุงโรมให้เป็นอาณาจักรที่รุ่งเรื่องหาผู้ชายที่มีครอบครัว ไปเป็นทหาร จะมีห่วง และมีอารมณือ่อ่นไหว เกินกว่าจะเป็นทหารที่ด ถ้ากากไม่มีการแต่างงานผุ้ชายจะสใจการรบอมากขึ้น
บาทหลวงวาเลนไทน์ รู้สึกเห็นอกเห็นใจหนุ่มสาว ที่มีความรัก จึงแอบจัดพิธีแต่งงาน ให้หนุ่มสาวที่ต้องการแต่างงาน หลายคู่ อย่างลับๆ โดยภายในงาน จะมีเพียงเจ้าบ่าว เจ้าสาว และบาทหลวง พวกขาจะกระซิบคำสาบาน และคำอธิษฐานต่อกัน ขณะเดียวกัน ก็ต้องเวี่ยหูฟัง การเดินตรวจตราของเหล่าทหารด้วย
เรื่องรู้ถึงหูคอลติอุส ในที่สุดนักบุญวาเลนไทน์ ถูกจับเข้าคุก และุถูกทรมานอย่างสาหัส ระหว่างที่อยู่ในคุก มีคู่แต่งงาน ที่บาทหลวงวาเลนไน์ เคยทำพิธีให้หลายคู่ ลอบไปเยียมเยียน อย่างสม่ำเสมอ พวกเขาได้โดยดอกไม้ และกระดาษเขียนจ้องความต่างๆ เข้าไปทางขช่องหน้าต่างของคุก เพื่อให้นักบุญวาเลนไทน์รู้ว่า พวกเขามีความเชื่อ และศรัทธาใรความรักเช่นกัน
ขณะที่ถูกขังอยุ่ในคุก รอการประหาร บาทหลวงวาเลนไทน์ ได้รู้จักับผุ้คุมชือแอสทีเรียส ซึ่งมีลูกสาวตาบอด และขอให้เขาช่วยรักาา เหมือนปาฎิหารย์ เธอสามารถมองเห็นได้อีก ลูกสาวของผุคุมจึบงมักมาเยี่ยมและให้กำลังใจบาทหลวงอยู่เสมอ กระทั่งก่อนเสียชีวิต เขาได้เขียนจดหมายถึงเธอ และลงท้ายว่า From your Valentine นักบุญวาเลนไทน์ เสียชีวิตในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ.270 ในคุกแห่งนั้นเอง..http://www.piwdee.net/sem7_1.htm
ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
มรณะสักขีในศาสนาคริสต์ยุแรกหลายคนมีชื่อว่า วาเลนไทน์ ซึ่งสาเลนไทน์ที่มีการฉลองในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ คือ วาเลนไทน์แห่งโรม และ วาเลนไทน์แห่งเทอร์นี วาเลนไทน์แห่งโรมเป็นนักบวชในโรมผุ้พลีชีพเพื่อสาสนาราว ค.ศ. 269 และฝังที่เวียฟลามีเนีย กละโหลกที่สวมมาลัยดอกไม้ของนักบุญวาเลนไทน์จัดแสดงในมหาวิหารซานตามารเรียในคอสเมดิน โรม เรลิกอื่นพบได้ในมหาวิหาร ซานตาพราสเซเต ในโรมเช่นกัน เช่นเดียวกับที่โลสถ์คาร์เมไลท์ถนนไวท์ไฟร์อาร์ ในดับลิน ไอร์แลนด์
วาเลนไทน์แห่งเทอร์นีกล่ายมาเป็นบิชอปแห่งอนตรัสมา ราว ค.ศ. 197 และกล่าวกันว่าเขาได้พลีชีพในช่วงการเบียดเบียนคริสศาสนิกชน ในรัชสมัยจักรพรรดิออเรเลียน ศพเขาฝังที่เวียฟลามีเดียเช่นกัน แต่คนละตำแหน่งกับที่ฝั่งวาเลนไทน์แห่งโรม เรลิกของเขาอยุ่ที่มหาวิหารนักบุญวาเลนไทน์แห่งเทอร์นี...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B9%8C
มุสลิมกับวาเลนไทน์
เรื่องราวเกี่ยวกับวาเลนไทน์นั้น ก็เป็นเรื่องที่คลุมเครือ จะสืบหาประวัติอะไรที่แน่นอน ก็ไม่ได้ ได้แต่สันิษฐานกันไป ไม่มีต้นกำเนินของเรื่อง และความเป็นมา ที่ชัดเจน ซึ่งพอสรุปได้ว่า
- วันวาเลนไทน์ เดิมเป็นการฉลองความเจริญพันธุ์ของพวกโรมันโบราณ ซึ่งเป็นการระลึกถึงเทพเจ้าลูเปอร์คุศ (เทพแห่งการเจริญพันธ์) ต่อมาภายหลัง จึงได้รับเอาเข้าม เป็นของคริสต์ศาสนา โดยโยงเข้ากับเรื่องการพลีชีพ เพื่อศษสนาของนักบุญทที่ชื่อวาเลนไทน์ ซึ่งมีวันฉลองใกล้กัน(ของเดิม 15 กุมภาพันธ์ ส่วนของนักบุญวันที่ 14 กัมภาพันธ์)
- ว่ากันว่า เซนต์วาเลนไทน์ เป็นผุ้พลีชีพ เพื่อศาสนาคริสต์ ซึ่งถูกประหารชีวิตในกรุงโรมเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 269 หรือ 270 มี 2 ท่าน ชื่อซ้ำกัน แต่ประวัติของทั้งสองท่าน เป้นเรื่องเล่ากันมา แบบปรัมปรา ซึ่งแท้จริงแล้ว อาจเป็นเรื่องที่เล่าต่างกัน แต่ตัวบุคคลเป็นคนเดียวกัน
- การฉลองวาเลนไทน์ เริ่มมีขึ้นในสมัยกลาของยุโรป แต่การที่ถือว่า เซนต์วาเลนไทน์ เป็นนักบุญผู้อุดหนุนคู่รัก เป็นเรื่องที่กลายมาในช่วงหลัง โดขถือว่ เป็นผุ้ช่วยเหลือคนที่มีความรัก ที่ตำอยุ่ในความททุกข์ ถูกข่มบังคับ
- การที่วันที่ระลึกเซนต์วาเลนไทน์ กลายมาเป็นวัแห่งความรักนั้น เป็นเรื่องบังเอิญ ซึ่งที่จริงไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับเซนต์วาเลนไทนเลย แต่เรื่องมาโยงกัน และกลายไป คงจะเนื่องจากชาวยุโรป สมัยกลางมีความเชื่อว่า นกเริ่มฤดุผสมพันธุ์ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ การเขียนข้อความแสดงความรัก ส่งถึงกันในวันนี้ ก็ว่าเร่ิมมาแต่ปลายสมัยกลาง โดยถือว่า เป็นวันเริ่มฤดูผสมพันธุ์ องนกนั่นเอง ส่วนในสหรัฐอเมิรกา เริ่มเฉลิมฉลองด้วยการจัดทำการ์ดวาเลนไทน์ เป็นธุรกิจ ในช่วง ค.ศ. 1840-1849
- วาเลนไทน์ คือวันที่ชาวคริสต์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ แทรความระลึกถึง "เซนต์วาเลนไทน์" บุรุษผุ้มีความรัก ความปรารถนาดี ต่อเพื่อมนุษย์ จนทำให้เขาต้องจบชีวติตัวเอง และหนุ่มผุ้มีหัวใจที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความรักนี้ ถุกประหารชีวิต เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 270..ตามตำนานข้างต้น
- วันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งความรัก เร่ิมต้นขึ้นมาจากวันฉลอง เพื่อระลึกถึงคริสเตียน 2 คน ที่เสียสละเพื่อมนุษย์ ชือ วาเลนไทน์ แต่ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับวันนี ก้ไม่มีส่ิงไหน ที่เีก่ยวพันถึงชีวิต ของนักบุญเหล่านี้ ประเพณีนี้ บางทีจะมาจากประเพณีโรมันโบราณ ที่เรียกว่า ลูเปอร์คาเลีย ชาวโรมันฉลองวันลูเปอร์คาเลียเป็นประเพณี แห่งความรักของหนุม่สาว ชายและญิ่งสว จะเลื่อกคู่สำหรับประเพณีนี้ ดดยากรเขียนช่อตนใส่กล่อง และจับฉลอก เพื่อเป็นเครืองหมาย แสดงความรัก และปกติเขาจะยังคงติต่อสัมพันธ์กัน เป็นเวลานาน หลังจากประเพณีนี้ ผ่านไปแล้ว หลายคู่ก็จะลงเอย ด้วยการแต่งงาน
หลังจากคริสเตียนแพร่ออกไป ชาวคริสเตียน ก็พยายามที่จะให้ความมหายของประเพณีนี้ในแง่ของคริสเตียน และพวกเขาเปลียนมาใช้วันที่ 14 กุมภาพันธ์ แต่ความหมาย ตามความรุ้สึก แบบประเพณีเก่า ก็ยังคงมีมาถึงปัจจุบัน..http://www.piwdee.net/sem7_103.html
ในทางวัฒนธรรม เป็นวัฒนธรรมของขาวคริสต์ แบบประชาธิปไตย เพราะปรชากรส่วยนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์ รักเอระเสรี รัการปกครองระบอประชาธิปไตย...
วันนักบุญวาเลนไทน์ หรือที่เรียกกันว่า วันวาเลนไทน์ ตรงกับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี วันวาเลนไทน์มีการเฉลิมฉลองในหลายประเทศทั่วโลก ส่วนใหญ่เป็นประเทศทางตะวันตก แม้จะยังเป็นวันทำงานในทุกประทศเหล่านั้นก็ตาม
"วันนักบุญวาเลนไทน์" แต่เดิมเป็นเพียงวันฉลบองนักบุญในศาสนาคริสต์ยุแรกที่ชื่อ วาเลนตินัส( แต่นักบุญชื่อนี้มีหลายองค์) ความหมายโรแมนติกโดยนัยสมัยใหม่นั้นกวีเพ่ิมเติมในอีกหลายศตวรรษต่อมาทั้งสิ้น วันวาเลินไทนถูกกำหนดขึ้นครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเหลาซิอุสที่ 1 ใน ค.ศ. 496 ก่อนจะถูกลบออกจาปฏิทินนักบุญทั่วไปของโรมัน ในปี ค.ศ. 1969 โดยสมเด็นพระสันตะปรปรปอลที 6
วันวาเลนไทน์มาข้องเกี่ยวข้องกับรักแบบโรแมนติกเป็นครั้งแรกในแวดวงสังคมอขงเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ ช่วงกลางสมัยกลาง เมื่อประเพณีรักเทิดทุน เฟืองฟู (เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ เป็นนัก กวี นักปรชญา ข้าราชการและนักการทูตชาวอังกฤษ ได้รับการยอย่อว่าเป็นบิดาแห่งกวีนิพนธ์อังกฤษ แม้เขาจะเขียนงานไว้มากมาย แต่งานเขียนที่เป็นที่รุ้จักมากที่สุดคืิองานเขียนที่ยังไม่เสร็จ เรื่อง "ตำนานแคนเดอร์บรี"..)
ตำนานวันวาเลนไทน์..
ในคริสต์สตวรรษที่ 5 หรือ 6 งานเขียนชื่อPassio Marii et Marthae ได้แต่งเรื่องราวการพลีชีพเพื่อศาสนาแก่นักบุญวาเลนไทน์แห่งโรม ซึ่งปรากฎว่าไม่ได้อยู่บนพื้นฐานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ใดๆ เลย ผลงานนี้ อว้างว่า นักบุญวาเลนไทน์ถูกเบียดเบียนเพราะนับถือศาสนคริสต์ และถูกสอบลสวนใโดย จักรพรรดิคอลเดียส กอธิดัสเป็นการส่วนตัว วาเลนไทน์จักพรรคดคอลเดียสประทับใจและได้สนทนากับเขา โดยพยายามให้เขาเปลี่ยนไปนับถือลัทธิเพเกินโรมันเพื่อรักษาชีวิตของเขา วาเลนไทน์ ปฏิเสธและพยายาม โน้มน้าวให้จักรพรรคดิคลอเดียสหันมานับถอศาสนคริสต์แทน ด้วยเหตุนี้ เขาจึงถุกประการชีวิต ก่อนที่เขาจะถูกประการชีวตินั้นมีายงานว่าเขาได้แสดงปาฏิหารย์โดยรักษาบูกสาวตาบอดของผุ้คุมของเขา ...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B9%8C
หรืออีกตำนานหนึ่ง "วาเลนไทน์" มาจากชื่อของนักบุญ เซนต์ วาเลนไทน ในสมัยกษัตรยิ์คลอติอุสที่ 2 แห่งกรุงโรม เซนต์ วาเลนไทน เป็นบาทหลวง อยุ่ที่โบสถ์ใกล้ๆ กรุงโรม สมัยนั้นกาัตรยิืคลอติอุส ที่ 2 ออกกฎห้ามีการแต่างงาน ในเมืองของพระองค์เ พราะทรงต้องการให้ผุ้ชายทุกคน ไปเป็นทหาร เพื่อทำศึกสงครา สร้างกรุงโรมให้เป็นอาณาจักรที่รุ่งเรื่องหาผู้ชายที่มีครอบครัว ไปเป็นทหาร จะมีห่วง และมีอารมณือ่อ่นไหว เกินกว่าจะเป็นทหารที่ด ถ้ากากไม่มีการแต่างงานผุ้ชายจะสใจการรบอมากขึ้น
บาทหลวงวาเลนไทน์ รู้สึกเห็นอกเห็นใจหนุ่มสาว ที่มีความรัก จึงแอบจัดพิธีแต่งงาน ให้หนุ่มสาวที่ต้องการแต่างงาน หลายคู่ อย่างลับๆ โดยภายในงาน จะมีเพียงเจ้าบ่าว เจ้าสาว และบาทหลวง พวกขาจะกระซิบคำสาบาน และคำอธิษฐานต่อกัน ขณะเดียวกัน ก็ต้องเวี่ยหูฟัง การเดินตรวจตราของเหล่าทหารด้วย
เรื่องรู้ถึงหูคอลติอุส ในที่สุดนักบุญวาเลนไทน์ ถูกจับเข้าคุก และุถูกทรมานอย่างสาหัส ระหว่างที่อยู่ในคุก มีคู่แต่งงาน ที่บาทหลวงวาเลนไน์ เคยทำพิธีให้หลายคู่ ลอบไปเยียมเยียน อย่างสม่ำเสมอ พวกเขาได้โดยดอกไม้ และกระดาษเขียนจ้องความต่างๆ เข้าไปทางขช่องหน้าต่างของคุก เพื่อให้นักบุญวาเลนไทน์รู้ว่า พวกเขามีความเชื่อ และศรัทธาใรความรักเช่นกัน
ขณะที่ถูกขังอยุ่ในคุก รอการประหาร บาทหลวงวาเลนไทน์ ได้รู้จักับผุ้คุมชือแอสทีเรียส ซึ่งมีลูกสาวตาบอด และขอให้เขาช่วยรักาา เหมือนปาฎิหารย์ เธอสามารถมองเห็นได้อีก ลูกสาวของผุคุมจึบงมักมาเยี่ยมและให้กำลังใจบาทหลวงอยู่เสมอ กระทั่งก่อนเสียชีวิต เขาได้เขียนจดหมายถึงเธอ และลงท้ายว่า From your Valentine นักบุญวาเลนไทน์ เสียชีวิตในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ.270 ในคุกแห่งนั้นเอง..http://www.piwdee.net/sem7_1.htm
ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
มรณะสักขีในศาสนาคริสต์ยุแรกหลายคนมีชื่อว่า วาเลนไทน์ ซึ่งสาเลนไทน์ที่มีการฉลองในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ คือ วาเลนไทน์แห่งโรม และ วาเลนไทน์แห่งเทอร์นี วาเลนไทน์แห่งโรมเป็นนักบวชในโรมผุ้พลีชีพเพื่อสาสนาราว ค.ศ. 269 และฝังที่เวียฟลามีเนีย กละโหลกที่สวมมาลัยดอกไม้ของนักบุญวาเลนไทน์จัดแสดงในมหาวิหารซานตามารเรียในคอสเมดิน โรม เรลิกอื่นพบได้ในมหาวิหาร ซานตาพราสเซเต ในโรมเช่นกัน เช่นเดียวกับที่โลสถ์คาร์เมไลท์ถนนไวท์ไฟร์อาร์ ในดับลิน ไอร์แลนด์
วาเลนไทน์แห่งเทอร์นีกล่ายมาเป็นบิชอปแห่งอนตรัสมา ราว ค.ศ. 197 และกล่าวกันว่าเขาได้พลีชีพในช่วงการเบียดเบียนคริสศาสนิกชน ในรัชสมัยจักรพรรดิออเรเลียน ศพเขาฝังที่เวียฟลามีเดียเช่นกัน แต่คนละตำแหน่งกับที่ฝั่งวาเลนไทน์แห่งโรม เรลิกของเขาอยุ่ที่มหาวิหารนักบุญวาเลนไทน์แห่งเทอร์นี...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B9%8C
มุสลิมกับวาเลนไทน์
เรื่องราวเกี่ยวกับวาเลนไทน์นั้น ก็เป็นเรื่องที่คลุมเครือ จะสืบหาประวัติอะไรที่แน่นอน ก็ไม่ได้ ได้แต่สันิษฐานกันไป ไม่มีต้นกำเนินของเรื่อง และความเป็นมา ที่ชัดเจน ซึ่งพอสรุปได้ว่า
- วันวาเลนไทน์ เดิมเป็นการฉลองความเจริญพันธุ์ของพวกโรมันโบราณ ซึ่งเป็นการระลึกถึงเทพเจ้าลูเปอร์คุศ (เทพแห่งการเจริญพันธ์) ต่อมาภายหลัง จึงได้รับเอาเข้าม เป็นของคริสต์ศาสนา โดยโยงเข้ากับเรื่องการพลีชีพ เพื่อศษสนาของนักบุญทที่ชื่อวาเลนไทน์ ซึ่งมีวันฉลองใกล้กัน(ของเดิม 15 กุมภาพันธ์ ส่วนของนักบุญวันที่ 14 กัมภาพันธ์)
- ว่ากันว่า เซนต์วาเลนไทน์ เป็นผุ้พลีชีพ เพื่อศาสนาคริสต์ ซึ่งถูกประหารชีวิตในกรุงโรมเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 269 หรือ 270 มี 2 ท่าน ชื่อซ้ำกัน แต่ประวัติของทั้งสองท่าน เป้นเรื่องเล่ากันมา แบบปรัมปรา ซึ่งแท้จริงแล้ว อาจเป็นเรื่องที่เล่าต่างกัน แต่ตัวบุคคลเป็นคนเดียวกัน
- การฉลองวาเลนไทน์ เริ่มมีขึ้นในสมัยกลาของยุโรป แต่การที่ถือว่า เซนต์วาเลนไทน์ เป็นนักบุญผู้อุดหนุนคู่รัก เป็นเรื่องที่กลายมาในช่วงหลัง โดขถือว่ เป็นผุ้ช่วยเหลือคนที่มีความรัก ที่ตำอยุ่ในความททุกข์ ถูกข่มบังคับ
- การที่วันที่ระลึกเซนต์วาเลนไทน์ กลายมาเป็นวัแห่งความรักนั้น เป็นเรื่องบังเอิญ ซึ่งที่จริงไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับเซนต์วาเลนไทนเลย แต่เรื่องมาโยงกัน และกลายไป คงจะเนื่องจากชาวยุโรป สมัยกลางมีความเชื่อว่า นกเริ่มฤดุผสมพันธุ์ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ การเขียนข้อความแสดงความรัก ส่งถึงกันในวันนี้ ก็ว่าเร่ิมมาแต่ปลายสมัยกลาง โดยถือว่า เป็นวันเริ่มฤดูผสมพันธุ์ องนกนั่นเอง ส่วนในสหรัฐอเมิรกา เริ่มเฉลิมฉลองด้วยการจัดทำการ์ดวาเลนไทน์ เป็นธุรกิจ ในช่วง ค.ศ. 1840-1849
- วาเลนไทน์ คือวันที่ชาวคริสต์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ แทรความระลึกถึง "เซนต์วาเลนไทน์" บุรุษผุ้มีความรัก ความปรารถนาดี ต่อเพื่อมนุษย์ จนทำให้เขาต้องจบชีวติตัวเอง และหนุ่มผุ้มีหัวใจที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความรักนี้ ถุกประหารชีวิต เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 270..ตามตำนานข้างต้น
- วันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งความรัก เร่ิมต้นขึ้นมาจากวันฉลอง เพื่อระลึกถึงคริสเตียน 2 คน ที่เสียสละเพื่อมนุษย์ ชือ วาเลนไทน์ แต่ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับวันนี ก้ไม่มีส่ิงไหน ที่เีก่ยวพันถึงชีวิต ของนักบุญเหล่านี้ ประเพณีนี้ บางทีจะมาจากประเพณีโรมันโบราณ ที่เรียกว่า ลูเปอร์คาเลีย ชาวโรมันฉลองวันลูเปอร์คาเลียเป็นประเพณี แห่งความรักของหนุม่สาว ชายและญิ่งสว จะเลื่อกคู่สำหรับประเพณีนี้ ดดยากรเขียนช่อตนใส่กล่อง และจับฉลอก เพื่อเป็นเครืองหมาย แสดงความรัก และปกติเขาจะยังคงติต่อสัมพันธ์กัน เป็นเวลานาน หลังจากประเพณีนี้ ผ่านไปแล้ว หลายคู่ก็จะลงเอย ด้วยการแต่งงาน
หลังจากคริสเตียนแพร่ออกไป ชาวคริสเตียน ก็พยายามที่จะให้ความมหายของประเพณีนี้ในแง่ของคริสเตียน และพวกเขาเปลียนมาใช้วันที่ 14 กุมภาพันธ์ แต่ความหมาย ตามความรุ้สึก แบบประเพณีเก่า ก็ยังคงมีมาถึงปัจจุบัน..http://www.piwdee.net/sem7_103.html
วันอังคารที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
..The End of Globalization
ความเป็น "ฝ่ายขวา" เช่นที่กำลังเกิดขึ้นไม่ใชขวาในแบบเดิมของยุคสงครมเย็นแต่อย่างใด เพราะความเปลี่ยนแปลงของบริบทางการเมือง ซึ่งหากสำรวจอย่างสงเขปแล้ว จะเห็ฯได้ว่าประชานิยมปีกขวานี้มองค์ประกอบที่เป็นดังแก่นแกนความคิด 6 ชุดทีสำคัญ ได้แก่ การต่อต้านสากลนิยม, การต่อต้านโลกาภิวัตน์, การต่อต้านผุ้อพยพ, การต่อต้านอิสลาม, การต่อต้านอิสลาม, การต่อต้านพหุนิยม, และกาต่อต้านผุ้มีอนาจและอิทธิพลในสังคมการเมือง...
1. ลัทธิชาตินิยมและการต่อต้านสากลนิยม เป็นองค์ประกอบสำคัญ ซึงมีความเด่นชัดอย่างมากของลัทธิประชานิยมปีกขวา ซึ่งในบริบทโลกปัจจุบันที่เป็นโลกาภิวัตน์นั้น น่าสนใจนเป็นอย่างยิ่งกับสมมติฐานที่ว่า รัฐประชาชาติ จะอยู่ในภาวะ
อ่อนแดลง หรือโดยนัยก็คื อลลัทธิชาตินิยมจะกลายป็นเพียงการะแากรเมืองเก่าที่จะถูกบดบังด้วยบลัทธิสากลนิยม ในสภาพที่โลกาภิวัตน์ยิ่งขับเคลื่อนมากเท่าใด รัฐประชาชาติและลัทธิชาตินิยมก็จะยิงอ่อนแอลงเท่านั้นและ เปิดโอกาสให้ลัทธิสากลนิยมเข้มแข็งมากขั้นด้วย และขณะเดียวกันก็นำมาซึ่งบรรทัดฐานของ "ลัทธิเสรีนิยมใหม่" ที่ให้ความสำคัญเรื่องสิทธิมนุษยชน ปัญหาสิ่งแวดล้อม ตลอดรวมถึงการเคารพในความแตกต่างทางเพศ เป็นต้น
แต่ในความเป็นจริง เรากลับพบว่าดลกาภิวัตน์ในความเป็น "โลกไร้พรมแดน" นั้นกลับกลายเป็นโอกาสของการกำเนินชนชั้นนำใหม่กลายเป็นการขยายความมั่งคั่งให้กับคนบางกลุ่มอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน สภาพเช่นนี้จึงกลายเป็น "ช่องว่างขนาดใหญ่" ของความจนและความรวย หรือจะกลาวได้ว่า โลกาภิวัตน์เป็นสถานการณ์ความยาก
ลำบากในชีวิตของชนชั้นล่าง ซึงสำหรับโลกตะวันตกก็คือบรรดาคนงานผิวขาว และอีกส่วนก็คือคนผิวขาวในชนบท ที่พวกเขารู้สึกว่าดลกาภิวัตน์กลายเปนผลร้ายมากว่าที่จะเป็นผลดีกับชีวิตของพวกเขา การหันกลับสุ่ความเป็นชาตินิยมด้วยการสร้างความเข้มแข็.ของรัฐและให้ความสำคัญกับการควบคุมชายแดนเพื่อกีดกันผุ้อพยพในฐานะของ "คนนอก" จึงเป้นประเดนที่ได้รับการยอมรับอย่างมาก
กระบวนการสร้างประชานิยมปีกขวาในสภาวะเช่นนี้จงมีคำตอบอย่างชัดเจนด้วยการตอต้านลัทธิเสรีนิยมและโลกาภิวัตน์ และหันกลับสูลัธิชาตินิยม
คำประกาศของเลอแปงในการหารเสียงที่ริเวียราในช่วงกลางปี 2016 ว่าถึงเวลาของการนำรัฐประชาชาติกลับแลว และมีผู้ฟังก็ตะโกนกลับว่า ถึงเวลาของการพาเส้นเขตแดนกลับมาด้วย
และในการหาเสียงของทรัมปกฌมีวาทกรรมไปในทางเดียวกัน ที่ให้ความสำคัญกับเส้นเขตแนด ตลอดรวมถึงการร้องหาความเป็นอิสระจากข้อกำหนดขององค์การระหว่างประเทศ ดดยเฉพาะองค์การ "เหนือชาติ" แบบสหภาพยุโรป...(ซึ่งแน่นอนว่าประชานิยมแบบขวาจัดก็คือต่อต้าน สหภาพยุโรปด้วยนั้นเอง)
2. การต่อต้านโลกาภิวัตน์-ต่อต้านลัทธิเสรีนิยมใหม่
หรืออาจกล่าวได้ว่าพวกเขาต่อต้านลัทธเเสรีนิยมใหม่ที่ถือว่าเป็นแกนหลางทางความคิดของยุดคโลกาภิวัตน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างบรรทัดฐานทางสังคมในเรื่องของ "ความถูกต้องทางการ
เมือง" เพื่อให้เกิดการเคารพในความแตกต่าง เช่น ความแตกต่างในเรื่องเพศ สีผิว เป็นต้น
ในทางเศรษฐกิจ พวกเขามีควาคิดที่ชัดเจน เ่น การที่ทรัมป์ตอด้านแนวคิดเรื่องการต้าเสรี ซึ่งถือว่าเป็นแกนสำคัญอีกส่วนของโลกาภิวัตน์ และเรียกสิ่งนี้ว่าเป็น "การค้าที่ล้มเหลว" ไม่ใช่ "การค้าเสรี" โดยเขาเสนอให้ยกเลิกข้อตกลงหุ้สวยยุทธศาสตร์เศราฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก และเสนอให้เจรจาใหม่ในเรื่องของเขตการต้าเสรี อเมริกาเหนือ หรือแม้กระทั่วการสงสัญญาณว่าสหรัฐอาจจะถอนตัวจาก "ปฏิญญาปารีส" ในเรื่องของความเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศของโลก..
การกล่าวต่อต้านโลกาภิวัตน์คู่ขนานกับการต่อต้านการค้าเสรีได้กลายเป็นทิศทางหลักชุดหนึ่งของกระแสประชานิยมปีกขวา และทัศนะต่อต้านโลกาภิวัตน์ยังปรากฎให้เห็นอย่างชัดเจนในอีกส่วนหนึงจากการเน้นถึง "พรมแดนแห่งชาติ" ซึ่งตรงข้ามกับโลกาภิวัตน์โดยสิ้นเชิง ที่เกิจกรรมต่างๆ จะมัลักษณะ "ข้ามชาติ" ไม่ว่าจะเป็นการไหลข้ามเ้นพรมแดนของคน ทุน สินค้า ข้อมุล ข่าวสาร และวัฒนธรรม จนปรากฎการณ์เช่นนี้ทำให้รัฐประชาชาติได้รับการอธิบายว่าเป็น "รัฐไร้พรมแดน"..ทีจริงแล้ว บรรดาประชานิยมปีกขวามีความเห็นตรงกันว่า โลกาภิวัตน์เป็นปัจจัยลบต่อการสร้างความเข้มแข็งของรัฐ และเป็นปัจจัยที่ทำลายเสณษบกิจของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการแสวงหาแหล่งแรงงานราคาถูกในการผลิตทางอุตสาหกรรม
ดังนั้น การขึ้นสู่อำนาจของทรัมป์และการขยายอิทธิพลของประชานิยมปีกขวาในยุดรปจึงเป็นดังการส่งสัญญาณถึง "การสิ้นสุดของโลกาภิวัตน์" และกับคำถามที่ว่าจะเป็น "การสิ้นสุดของลัทธิสรีนิยมใหม่" กำลังเกิดขึ้นหรือไม่ ซึ่งเป็นคำถามใหญ่ของเศรษฐกิจและการเมืองโลกปัจจุบันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และหากการสิ้นสุดดังกล่าวเป็นเรื่องจริงแล้ว ก็ย่อมจะกระทบต่อการจัดระเบียบใหม่ของโลกในอนาคตอย่างมากด้วย จนยากที่จะคาดเดาว่าระเบียบโลกใหม่ในยุคของทรัพมป์จะมีรูปลักษณ์อย่างไร และจะส่งผลกระทบต่อโลกทั่วในบริบททางการเมือง ความมั่นคง และศรฐกิจอย่างไร....www.matichonweekly.com/column/article_26650
1. ลัทธิชาตินิยมและการต่อต้านสากลนิยม เป็นองค์ประกอบสำคัญ ซึงมีความเด่นชัดอย่างมากของลัทธิประชานิยมปีกขวา ซึ่งในบริบทโลกปัจจุบันที่เป็นโลกาภิวัตน์นั้น น่าสนใจนเป็นอย่างยิ่งกับสมมติฐานที่ว่า รัฐประชาชาติ จะอยู่ในภาวะ
อ่อนแดลง หรือโดยนัยก็คื อลลัทธิชาตินิยมจะกลายป็นเพียงการะแากรเมืองเก่าที่จะถูกบดบังด้วยบลัทธิสากลนิยม ในสภาพที่โลกาภิวัตน์ยิ่งขับเคลื่อนมากเท่าใด รัฐประชาชาติและลัทธิชาตินิยมก็จะยิงอ่อนแอลงเท่านั้นและ เปิดโอกาสให้ลัทธิสากลนิยมเข้มแข็งมากขั้นด้วย และขณะเดียวกันก็นำมาซึ่งบรรทัดฐานของ "ลัทธิเสรีนิยมใหม่" ที่ให้ความสำคัญเรื่องสิทธิมนุษยชน ปัญหาสิ่งแวดล้อม ตลอดรวมถึงการเคารพในความแตกต่างทางเพศ เป็นต้น
แต่ในความเป็นจริง เรากลับพบว่าดลกาภิวัตน์ในความเป็น "โลกไร้พรมแดน" นั้นกลับกลายเป็นโอกาสของการกำเนินชนชั้นนำใหม่กลายเป็นการขยายความมั่งคั่งให้กับคนบางกลุ่มอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน สภาพเช่นนี้จึงกลายเป็น "ช่องว่างขนาดใหญ่" ของความจนและความรวย หรือจะกลาวได้ว่า โลกาภิวัตน์เป็นสถานการณ์ความยาก
ลำบากในชีวิตของชนชั้นล่าง ซึงสำหรับโลกตะวันตกก็คือบรรดาคนงานผิวขาว และอีกส่วนก็คือคนผิวขาวในชนบท ที่พวกเขารู้สึกว่าดลกาภิวัตน์กลายเปนผลร้ายมากว่าที่จะเป็นผลดีกับชีวิตของพวกเขา การหันกลับสุ่ความเป็นชาตินิยมด้วยการสร้างความเข้มแข็.ของรัฐและให้ความสำคัญกับการควบคุมชายแดนเพื่อกีดกันผุ้อพยพในฐานะของ "คนนอก" จึงเป้นประเดนที่ได้รับการยอมรับอย่างมาก
กระบวนการสร้างประชานิยมปีกขวาในสภาวะเช่นนี้จงมีคำตอบอย่างชัดเจนด้วยการตอต้านลัทธิเสรีนิยมและโลกาภิวัตน์ และหันกลับสูลัธิชาตินิยม
คำประกาศของเลอแปงในการหารเสียงที่ริเวียราในช่วงกลางปี 2016 ว่าถึงเวลาของการนำรัฐประชาชาติกลับแลว และมีผู้ฟังก็ตะโกนกลับว่า ถึงเวลาของการพาเส้นเขตแดนกลับมาด้วย
และในการหาเสียงของทรัมปกฌมีวาทกรรมไปในทางเดียวกัน ที่ให้ความสำคัญกับเส้นเขตแนด ตลอดรวมถึงการร้องหาความเป็นอิสระจากข้อกำหนดขององค์การระหว่างประเทศ ดดยเฉพาะองค์การ "เหนือชาติ" แบบสหภาพยุโรป...(ซึ่งแน่นอนว่าประชานิยมแบบขวาจัดก็คือต่อต้าน สหภาพยุโรปด้วยนั้นเอง)
2. การต่อต้านโลกาภิวัตน์-ต่อต้านลัทธิเสรีนิยมใหม่
หรืออาจกล่าวได้ว่าพวกเขาต่อต้านลัทธเเสรีนิยมใหม่ที่ถือว่าเป็นแกนหลางทางความคิดของยุดคโลกาภิวัตน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างบรรทัดฐานทางสังคมในเรื่องของ "ความถูกต้องทางการ
เมือง" เพื่อให้เกิดการเคารพในความแตกต่าง เช่น ความแตกต่างในเรื่องเพศ สีผิว เป็นต้น
ในทางเศรษฐกิจ พวกเขามีควาคิดที่ชัดเจน เ่น การที่ทรัมป์ตอด้านแนวคิดเรื่องการต้าเสรี ซึ่งถือว่าเป็นแกนสำคัญอีกส่วนของโลกาภิวัตน์ และเรียกสิ่งนี้ว่าเป็น "การค้าที่ล้มเหลว" ไม่ใช่ "การค้าเสรี" โดยเขาเสนอให้ยกเลิกข้อตกลงหุ้สวยยุทธศาสตร์เศราฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก และเสนอให้เจรจาใหม่ในเรื่องของเขตการต้าเสรี อเมริกาเหนือ หรือแม้กระทั่วการสงสัญญาณว่าสหรัฐอาจจะถอนตัวจาก "ปฏิญญาปารีส" ในเรื่องของความเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศของโลก..
การกล่าวต่อต้านโลกาภิวัตน์คู่ขนานกับการต่อต้านการค้าเสรีได้กลายเป็นทิศทางหลักชุดหนึ่งของกระแสประชานิยมปีกขวา และทัศนะต่อต้านโลกาภิวัตน์ยังปรากฎให้เห็นอย่างชัดเจนในอีกส่วนหนึงจากการเน้นถึง "พรมแดนแห่งชาติ" ซึ่งตรงข้ามกับโลกาภิวัตน์โดยสิ้นเชิง ที่เกิจกรรมต่างๆ จะมัลักษณะ "ข้ามชาติ" ไม่ว่าจะเป็นการไหลข้ามเ้นพรมแดนของคน ทุน สินค้า ข้อมุล ข่าวสาร และวัฒนธรรม จนปรากฎการณ์เช่นนี้ทำให้รัฐประชาชาติได้รับการอธิบายว่าเป็น "รัฐไร้พรมแดน"..ทีจริงแล้ว บรรดาประชานิยมปีกขวามีความเห็นตรงกันว่า โลกาภิวัตน์เป็นปัจจัยลบต่อการสร้างความเข้มแข็งของรัฐ และเป็นปัจจัยที่ทำลายเสณษบกิจของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการแสวงหาแหล่งแรงงานราคาถูกในการผลิตทางอุตสาหกรรม
ดังนั้น การขึ้นสู่อำนาจของทรัมป์และการขยายอิทธิพลของประชานิยมปีกขวาในยุดรปจึงเป็นดังการส่งสัญญาณถึง "การสิ้นสุดของโลกาภิวัตน์" และกับคำถามที่ว่าจะเป็น "การสิ้นสุดของลัทธิสรีนิยมใหม่" กำลังเกิดขึ้นหรือไม่ ซึ่งเป็นคำถามใหญ่ของเศรษฐกิจและการเมืองโลกปัจจุบันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และหากการสิ้นสุดดังกล่าวเป็นเรื่องจริงแล้ว ก็ย่อมจะกระทบต่อการจัดระเบียบใหม่ของโลกในอนาคตอย่างมากด้วย จนยากที่จะคาดเดาว่าระเบียบโลกใหม่ในยุคของทรัพมป์จะมีรูปลักษณ์อย่างไร และจะส่งผลกระทบต่อโลกทั่วในบริบททางการเมือง ความมั่นคง และศรฐกิจอย่างไร....www.matichonweekly.com/column/article_26650
วันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
right-wing populism
ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา ประชานิยมได้ขยายตัวอย่งกว้างขวางในยุโรป ในปัจจุบัน พรรคการเมืองแนวประชานิยมเข้าไปอยู่ในรัฐสภาของประเทศต่างๆ ในยุโรป รวมทั้งรัฐสภาของสหภาพยุโรปเองด้วย โดยมีหาประเทศที่พรรคการเมืองปนวประชานิยมครองเสียงข้างมากในรัฐสภา ใได้แก่ กรีก ฮังการี โปแลนด์ สดลวาเกี่ย และสวิตเซอร์แลนด์ โดยเฉพาะในฮังการี พรรคแกนนำรัฐบาล และพรรคคแกนนำฝ่ายค้าน ต้างเป็นพรรคแนวประชานิยม ในประเทศอื่นๆ เช่น ฟินแลนด์ ลิทัวเนยและนอร์เวย์ พรรคการเมืองปนวประชนิยมร่วมกัจดตั้งรัฐบาลผสม
ในการทำความเข้าใจประชานิยมระลอกล่าสุด เราพึงย้อนพินิจกำเนินของมัีนในการเปลี่่ยนแผ่านเชิงโครงสร้างของระเบียบเซณษฐฏิจการเมืองของยุดรปและโลกในข่วงปลายทศวรรษที่ 1970 เป็นต้นมา นั่นคื อการเปลี่ยนผ่านจากระเบียบแบบรัฐสวัสดิการและลัทธิเศณษบกิจกาเรมืองแบบเคนส์ มาสู่ระเบียบเศรษฐกิจการเมืองแบบเสรีนิยมใหม่ ซึ่งผลักดันการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ การโอนกิจการสาธารณะเป็นเอกชนการลดกฎเกณฑ์ต่างฟ ที่กำกับทุนนิยม และการขยายตัวของทุนการเงิน
เราจะเก็นได้จากความเป็นตริงในยุโรปว่า พรรคการเมืองแบบประชานิยมไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนักจนกระทั่งในช่วงทศวรรษที่ 1980 หรือ 1990 เป็นต้นมา
ประชานิยมระลอกล่าสุดในยุโรปเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ในยุโรปอย่างน้อยสามประการสำคัญ ได้แก่
ประการแรก ลัทธิเสรีนิยมใหม่ก่อให้เกิดการเมืองแบบที่ฌองตาล มูฟ เรียกว่า"หลักการเมือง" นันคือ การเมืองที่ทำลายอุดมการณ์ทางการเมืองฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา ให้เหลือเพียงการเมืองของฉันทมติ กล่าวค อทั้งฝ่ายกลางซ้ายและกลางขวาต่างยอมรับในระบบเสณาฐกิจแบบเสรียิยมใหม่
ลัทธิเสรียิมใหม่ยังลดทอนแระเด็นทางการเมืองให้กลายเป็นรืเ่องทางเทคนิคที่อาศัยผุ้เชี่ยวชาญเฉพาะเข้ามาบริหารจจัดการแทนที่จะเป็นประเด็นทางการเมืองที่ประชาชนมีสวนร่วมในกระบวนกรตัดสินใจต่างๆ แม้กระทั่งในกรณีที่ประชาชนมีสิทธิในการตัดสินใจ เช่น การทำประชามติ ก็อาจจะมีกาล้มประชมติ โดยศาลรัฐธรรมนูญหรือองค์กรอิสระที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง เพราะผลการลงประชามตินั้นขัดต่อระเบียบเศรษฐกิจกาเรมืองแบบเสรีนิยมใหม่หรือไม่ใช่ "ทางเลือกที่ใช่" เช่น การลประชามติรับสนธิสัญญาลิสบอนของไอร์แลนด์ในปี 2008 หรือแม้กระทั่งความพยายามในช่วงหลังการลงประชามติถอนตัวออกจาสหภาพยุโรป ของสหราชอาณาจักร หรือ บรีซิสต์ในปี 2016
กระบวนการเสรีนิยมใหม่ดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในรัฐชาติยุดรปเท่านั้น แต่เกิดขึ้นในโครงสร้างสถาบนของสหภาพยุโรปด้วย บริบททางการเมืองแบบ "หลังการเมือง" หรือ "ไร้การเมือง" ทั้งในระดับรัฐ และเหนือรัฐ เอื้ออำนวยให้พลังประชานิยมเข้มแข็งในยุดรป โดยเฉพาะอย่างยิงประชานิยมฝ่ายขวา
ประการที่สอง วิกฤตเศณษฐกิจในยูโรโซน และวิกฤตหนี้สาธารณะในกลุ่มประเทศ PIIGS รวมทั้งการรับมือกับวิกฤตดังกล่าวของสหภาพยุโรป ยิ่งซ้ำเติมวิกฤตเศรษบกิจ นโยบายการรัดเข็มขัด กลับเสริมสร้างลัทธิเสรีนิยใหม่ให้ลงหลักปักฐานมากขึ้นในประเทศเหล่านั้น
วิกฤตดังกล่าวโอนยัายอำนาจในการตัดสินใจเรื่องเศรษฐกิจไปสู่มือของสหภาพยุรปและ(ุ้เชี่ยวชาญทางเศรษฐกิจ ที่พ้นไปจากกระบวนการทางการเมืองของประชาชน ส่ิงที่เราเห็นคอการจุดกระแสของฝ่ายต่อต้านสหภาพยุโรป และต่อต้านนโยบายการัดเข็มขัดเพิ่มมากขึ้นประเด็นนี้ดูเหมือนกจะปรากฎในหมู่ประชานิยมฝ่ายซ้าย ในกรีซ และในสเปน มากกว่าประชานิยมฝ่ายขวา
อย่างไรก็ตาม เมื่อเข้าสูอำนจการเมืองแล้ว พรรคการเมืองแนวประชานิยมจำต้องเลือกระหว่าง (1) ความรับผิดชอบต่อเสียงประชาน หรือ (2) เสียงเรียกร้องกดดันจาสหภาพยุโรปในกรณีกรีซ เมื่อพรรคการเมืองแนวประชานิยมฝ่ายซ้ายขึ้นมามีอำนา นายกรัฐมนตรี อเล็กซิส ซิปราส ซึ่งเคยรณรงค์หาเสียงว่จะไม่ยอมรับนโยบายการรัดเข็มขัด ก็ต้องยอมถอย และถูกบับให้ต้องดำเนินกมาตากรตัดลอดรายจ่ายภาครัฐและการปฏิรูปโครงสร้างต่างๆ ตาแแผนการของสหภาพยุโรปและผุ้เชียวชาญจากธนาคารกลางยุโรปและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ การตัดสินใจนี้ลดทอนความชอบธรรมทางการเมืองชอ
พรรค ไปค่อนข้างมาก
ประการที่สาม วิกฤตผู้อพยพจากภูมิภาคที่เผชิญสงคราม ดดยเฉาะในตะวัออกกลาง และกระแสการก่อการร้ายในยุโรป ยิ่งส่งเสริมวาทกรรม "คนอื่น" โดยเฉพาะ "คนมุสลิม" ในฐานะ "ภัยคุกคาม" ทั้ต่อความมั่นคงและการเข้ามาแย่งงานของคนในชาติ
งานวิชาการสำคัญอย่งเชืน งานของโอลิเงียร์ รอย เสนอไว้เมืองหลายปีมาแล้วว่า เอาเข้าจริง พวกมุสลิมหัวรุนแรงในยุโรป ซึงเขาเรียกว่า เป็น นีโอ ฟลันดามินทาลิสต์ หรือในปัจจุบันคือ โลน-วูฟ เอทโรริสต์ นั้นเป็นคนที่เกิดในยุโรปเอง มากว่าพวกที่อพยพมาจากตะวันออกกลาง ทั้งนี้เนื่องมาจากกระบวนการเบียดขับให้เป็นชายขอบภายในวังคมยุโรป เช่น คนฝรั่งเศสที่เป็นมุสลิมจำนวนหนึ่งไม่ได้รับความยอมรับทางอัตลักษณ์หรือความเท่าเทียมกันในสังคม จึงผันตัวเองไปเป็นหัวรุนแรง เป็นต้น
บริบทแห่งวิกฤตผู้อพยพและการก่อการร้ายเสรีสร้างกระแสประชานิยมฝ่ายขวามที่โยนปัญหาเหล่านี้ให้แก่ผุ้อพยพ และความหลากหลายในสังคมการเมือง ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว สภาวะการว่างงานอย่างหว้างขวางในยุโรปส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากนโยบายสเรีนิยมใหม่ นั้นคือ การโยกย้ายฐานการผลิตออกไปสูเศราฐกิจที่มีแรงงานราคาถูกกว่า ซึ่งได้แก่ ยุดรปตะวันออก หรือบริเวณประเทศกำลังพัฒนาต่างๆ มากว่าเกิดจากผู้อพยพแย่งงาน..https://www.the101.world/thoughts/populism-in-europe/
เมื่อประชานิยมกำลังา อนาคตข้างหน้าไม่มีอะไรแน่นอน
ขาวอเมริกันชูป้ายประท้วงไม่ยอมรับโดนัลด์ ทรัมป์ เป็นประธานาธิบดี ขณะชุมนุมที่หน้ารัฐสภาของมลรัฐ โคโลราโด เรียกรองคณะผู้เลือกตั้งของรัฐปฏิเสธการลงคะแนนให้ทรัมป์ ในวันที 19 ธันวาคม
กระแสประชานิยมฝ่ายขวาสร้างความสั่นสะเทือนเลื่อลั้นที่สองฝั่งมหาสมุทรแอตเลนติก ไหนจะเบร็กซิต ไหนจะการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา
แม้ในการเลือกตั้งทั่วไป ของประเทศต่างๆ ในยุโรป ประชานิยมขวาจัดจะได้รับความพ่ายแพ่ นับจากออสเตรีย เนเธอร์แลนด์ มาถึงความพ่ายแพ้ของ มารี เลอแปน ในการเบือกตั้งชิงต่ำแหน่งประะานาธิบดีฝรั่งเศสรอบตัดสิน ถือเป็นความสูญเสียรอบล่าสุดสไกรับฝ่ายขวาจัดในยจุโปร แต่นักวิเคราะห์ระบุว่า การเดินหน้าสู่อำนาจของพวกเขายังห่างไกลจากความว่าสิ้นสุด
... "ขบวนการเคลื่อนไหวฝ่ายขวาจัดมีปอิทพิพลไม่ใช่จากการปกครอง แต่เป็นการควบคุมจำกัดการบริหารจัดการของพรรคการเมืองสายกลาง" คาร์สเทน นิกเกล ขององค์กรวิชากรเตเนโอในกรุงบรรัสเซชส์บอก และว่า "เราควไมาสามารถบอกได้ว่านี่เปนปีที่ย่ำแย่ของฝ่ายขวาจัดในออสเตรีย โอเฟอร์ได้คะแนนเสียงเกือบ 50% ใน เนเธอร์แลนด์ พรรคกลางวซ้ายถูกกวาดออกไปหมด ขณะที่วิลเดอร์สถือเะป็นผุ้เล่นสำคัญในรัฐสภาเนเธอร์แลนด์"
และแม้ชัยชนะของ "มาครง" จะเป็นผลลัพท์ที่ดี แต่ในความเป็นจริงแล้ว นี้ือผลงานที่ดีที่สุดขงพรรค เนชั่นแนล ฟรอนท์ ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศสในประวัติศาสตร์ 44 ปีของพรรค
ในการกล่าวสุทรพจน์ยอมรับความพ่ายแพ้ มารีน เลอเปน ประกาศว่า เอฟเอ็นจะเป็นพรรคฝ่ายค้านหลักพร้อมระบุว่ เส้นแบ่งใหม่ระหวาง "ผู้รักชาติ" กับ "นักโลการภิวัตน์" ถูกขึดขึ้นมาแล้ว
สื่อในยุโรปหลายสำนักได้เตื่อนว่า "นักประชานิยมขวาจัดใน ออสเตรีย เนเธอแลนด์ เยอรมนี และฝรั่งเศส อาจเรียกได้ว่าอยู่ในช่วงเวลาที่เข้ามแข็งที่สุดมากกว่าครั้งไหนๆ และไม่มีข้อบ่งชี้ใดๆ ่าพวกเขากำลังสูญหายไป" ขณะที่เดอะไทม์ส ของอังกฤษระบว่า "มาครงจำเป็นต้องแสดงให้ชาวฝรั่งเศสเห้นว่าที่จริงแล้วเขาเป็นทางเลือกที่ชาวฝรั่งเสสรอคอย" หากเขาทำไมได้ เลอแปน หรือคนอย่างเลอ แปน ก็จะปรากฎตัวขึ้นมา....www.matichon.co.th/news/559491
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...