วันเสาร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Syria's_refugees

          มีหลายฝ่ายตั้งคำถามวว่า  ผู้อพยพชาวซีเรียไม่เดินทางลี้ภัยในประเทศอ่านเอปร์เซียที่มีฐานะร่ำรวย และอยู่ในทำเลที่ใกล้ญีเรียมากกว่าด้วย อมิรา ฟาธีลลา บีบีซีมอนิเตอรริงที่ติดตามการรายงานข่าวของสื่อในภุมิภาคดังกล่าวอธิบายว่า ช่วงหลายปีที่ปผ่านา คนซีเรียที่หนีภัยสงครามนบ้านเกิดได้ข้ามเข้าไปยังเลบานอน จอร์แดน และตุรกีแล้วเป็นจำนวนมาก แต่การอพยพเข้าไปยังประเทศอาหรับชาติอื่น โดยเฉพาะชาติในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียเป็นเรื่องที่ค่อยข้างซับซ้อน
          ตามกฎหมาย ขาวซีเรียวามารถยื่นขอวีซ่าทำงานหรือวีซ่านักท่องเที่ยวเพื่อเข้าไปยังประเทศภุมิภาคอ่าวเปอร์เซียได้ แต่วิธีนี้มีค่ามช้จ่ายสูง และชาวซีเรียยังรู้ดี่า หลายชาติในอ่านเปอร์เซียไม่ต้อรับพวกเขา ดังนั้นในทางปฏิบัติแล้วจึงเป็นเรื่องยากที่จะได้วีซ่ามาแบบง่ายๆ ในกรณีที่ประสบความสำเร็จั้น ส่วนใหญ่เป็นคนซีเรียที่อาศัยในประเทศอ่าวเปอร์เซียนอยุ่แล้ว และได้ขอขยายเวาการพินักออกไห หรือเป็นกลุ่มที่มครอบครัวอยุ่ที่นั้น ส่วนใหญ่เป็นคนซีเรีที่อาศัยในประเทศอ่าวเปอร์เซียอยู่แล้วและได้ขอขยายเวบลาการพำนักออกไป หรือเป็นกฃุ่มที่มีครอบครัวอยุ่ที่นั้น อุปสรรคอีกอย่างคื อหากไม่มีวีซ่า พวกเขาก็ไม่สามารถเข้าประเทศอาหรับชาติอื่นได้เช่นกัน...https://web.facebook.com/BBCThai/posts/1693197274234639?_rdc=1&_rdr
           ตั้งแต่สงครามในซีเรียเร่ิมขึ้นในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2554 จนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันะื 2560 The Violations Documentation Center in Syria (VDC) ซึ่งเป็นเครื่อข่ายนักเคลื่อนไหวในซีเรีย รายงานว่า เท่าที่มีการบันทึกในเอกสาร มีผุ้เสียชีวิตแล้เว 174,184 รายในจำนวนนี้ แบ่งเป็นพลเรือนประมาณร้อยละ 63 และทีไม่ใชพลเรือนประมาณร้อยละ 37 โดยกว่าร้อยละ 80 ของทั้งหมดเสียชีวิตจากความรุนแรงที่ก่อขึนดดยรัฐบาลซีเรีย จากจำนวนดังกล่าว สำนักช่าวบีบีซีประเมิน่าเราอาจต้องใช้เวลาถึง 19 ชัวฌมงในการอ่นรายชื่อเด็กที่เสียงชีวิตทั้งหมด
           ก่อนสงครามในซีเรียจะปะทุขึ้น ชาวซีเรียต้องเผชิญกับปัญหาการว่างงาน คือร์รัปชัน การขาดเสรีภาพทางการเมือง ตลอดจนการปราบปรามอย่างเข้มงวดโดยรัฐ จนหระทั่งกลางเือนมีนาคม พ.ศ. 2554 การลุกฮือของประชานเพื่อต่อต้านรัญในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง หรืออาหรับสปริง(Arab Spring) ก็ได้จุดชนวนการประท้วงต่อต้านระบบการปกครอง ภายใต้การนำของประะานาธิบดีบาชาร์ อัลฮัสชาด และรัฐบาลซีเรีย ที่กดขี่พวกเขามากว่า 40 ปี
           ในช่วงแรก กลุ่มกบฎผุ้ต่อต้ารรัฐบาล ซึ่งส่นใหญ่เป้นชาวมุลิมนิกายชุนนี ใช้เพียงแค่ป้ายและเพลงป็นเครื่องมือในการเรียกร้องเสรีภาพและประชาธิปไตย แต่หลักงจากที่รัฐบาลซีเรียซึ่งอยุ่ภายใต้อิทธิพลของชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ ใช้อำลังปราบปรามกลุ่มกบฎอย่างรุรนแรง เช่น การใช้กำลังทหารจับกุม และการบังคับให้สูญหาย กลุ่มกบฎจงหันมาจับอาวุธ ในขณะที่ทหารซีเรียส่วนหนึ่งซึ่งไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลก็จัดตั้งกองกำลังปลกปล่อยซีเรีย ขึ้น เพื่อเป็นปีกทางการทหารให้แก่กลุ่มกบฎ ทำให้การต่อสู้เพื่อปกป้องตนเองของกลุ่มกบฎ ได้ถุกยกระดับไปสู่การตอ่สู้เพื่อขับไล่กองกำลังรักษาความปฃอดภีบชอ
รัฐ แฃะกลายเป็นสงครามกลางเมืองในที่สุด
         
ความพยายามของประธานาธิบดีอัสซาดที่จะปราบปรามกลุ่มกบฎนำไปสู่การใช้กำลังและความรุนแรงที่เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งการทรมานและสังหาร การใช้อาวุธเคมี ลอดจนการปล่อยตัวนักโทษกลุ่มซาลาฟิญิฮาด ซึ่งเป็นชาวมุสลิมนิกายซุนนีที่มีแนวคิดสุดโต่ง เพื่อให้เข้าร่วมกับกลุ่มกบฎ และทำให้พวกเขาสูญเสียความชอบธรรมในการต่อสู้กับรัฐบาล
          "อเลปโป" ตั้งอยุ่ทางตะวันตกเแียงเหนือของซีเรีย และเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีคนอยุ่อาศัยป็นระยะเวลานานที่สุดเมืองหนึ่งของโลก เนื่องจากที่ตั้งซึ่งอยุ่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและดินแดนตะวันออก ทใไ้อเลปโปเป็นศูนย์กลางการต้าของภูมิภาค ที่มีควมสำคัญทั้งในทางการเมืองและเสรษฐฏิจตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา
           ตั้งแต่ซีเรียได้รับอิสรภาพจากผรังเศสในปี 2489 อเลปโปก็พัฒนาเป็นศุนย์กลางอุตสาหกรรมของประเทศในขณะเดียวกัน ประชากรในอเลปโปก็เพ่ิมขึ้อย่างรวดเร็ซ จาก 3 แสน เป็น 2.3 ล้าน ในปี พ.ศ. 2547 อเปลฌปจึงเป็นเมืองที่ให่ที่สุดของซีเรย และมีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์มาก แม้จะไม่ใช้เมืองหลวงของประเทศก็ตาม
          กรกฎาคม 2555 อเลปโปได้กลายเป็นสมรภูมิที่สำคัญของสงครามกลางเมืองซีเรียเมื่อกลุ่มกบฎสามารถยึดครองดินแดนทางเหนือของซีเรียได้ อย่างไรก็ตามกองกำลังขอกลุ่มกบฎสามารถยึดครองดินแดนทางเหนืของซีเรียได้ อย่างำรก็ตาม กองกำลังของกลุ่มกบฎไม่สามารยึกครองอเลปโปได้อย่างเด็ดขาด อเลปโปจึงถูกแบ่งเป็นองฝั่ง ได้แก่ ฝั่งตะวันตก ซึ่งควบคุมโดยรัฐบาลซีเรีย และฝั่งตะวันอออก ซึ่งควบคุมโดยกลุ่มกบฎ
          นับแต่นัน การสู้รบในอเลปโปก็ทวีความรุนแรงและขยายวงกว้างไปจนถึงเขตเมืองเก่า ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก โดยตั้งแต่ปลายปี 2013 เป็นต้นมา องกำลังฝ่ายรัฐบาลได้หันมาต่อสู้โดยการทิ้งระเบิดถัง ทางอากาศ ผลจากการสุ้รบทำให้สถานทีสำคัญหลายแห่งในอเลปโปถูกทำลาย ทั้งตลาดนัดกลางแจ้ง มัสยดอุมัยยะห์ และป้อมปราการแห่งอเลปโป ซึ่งเป็นปราสาทที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งโลก ... การสู้รบในอเลปโปดำเนินไปจนถงเดือนธันวาคม 2559 เมื่อกองกำลังของรัฐ ซึ่งได้รับการสนับสนุนด้วยการโจมตีทางอากาศจากรัสเซีย สามารถไล่ต้อนกลุ่มกบฎ และเป็นฝ่ายเข้ายึดครองเมืองได้สำเร็จ...https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...