Politics and Economics Europe

             เศรษฐกิจยุโรปกับปัญหาที่รุมเร้ารอบด้าน
             นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจโลกในปี 2551 เศรษฐกิจยุโรปก็ประสบปัญหารุมเร้าต่อเนื่อง ทั้งจากปัญหาหนี้ภาครัฐของกลุ่มประเทศ PIIGS(โปรตุเกส ไอร์แลนด์ อิตาลี กรีช และสเปน) และปัญหารการเมืองที่มีารกฐสานมาจากความไม่พอใจของประชาชนที่สังสมมานานจากเสณาฐฏิจตกต่ำต่อเนื่องหลายปี ประกอบกับความไม่แน่นอนจากการเจรจา บรีซิทต์ รวมถึงปัญหาภาคธสคารมีหนี้เสียในระดับสูง เป็นอุปสรรคต่อการปล่อยก็และกดดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง อัตราการว่างงานที่พุ่งสูงเกิน 20% ในหลายประเทศ ประกอบกับมาตการรัดเข็มขัดของภาครัฐ ที่นำไปสู่การลด
สวัสดิการสังคม เช่น การยืดอายุเกษียณและการลดเงินอุดหนุนให้ผุ้เกษียณอายุ รวมไปถึงการปฏิรูปกฎหมายแรงงาน ซึ่งมุ่งลดสิทธิของลูกจ้างเพื่อให้การตลาดแรงงานมีความยืดหยุ่นมากขึ้น ก่อให้เกิดกาะแสต่อต้านพรรคการเมืองกระแสหลักทีประชาชนเห้นว่าเป้นต้นเหตุของปัญหา และหันไปให้การสนับสนุนพรรคการเมืองเกิดใหม่ ซึ่งมีนธยบายต่อต้านการัดเข็มขัด
            นอกจากคะแนนความนิยมของพรรคซึ่งมีนโยบายต่อต้านการรัดเข็มขัดทีเ่พ่ิมขึ้นแล้ว ควาไม่พอใจของประชาชนยังสะท้อนผ่านการออกเสียงประชามติ บรีซิทต์ และการออกเสียงประชมติควำ่การปฏิรูปการเมืองในอิตาลี เมื่อปีที่แล้ว รวมถึงความพยายมประกาศเอกราชของท้องถ่ิน เพื่อแผกตัวออกจากประเทศที่มีเสณษฐกิจตกต่ำ เช่น การเรียกร้องการแยกตัวออกจากสเปน เป็นต้น และการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานธิบดีสหรัฐฯ ของ โดนัล ทรัมป์ ซึ่งชูนโยบายกีดกันทางการค้า และการต่อต้านการรับผุ้อพยพเข้าประเทศ อาจเป็นอีกปัจจัยที่สนับสนุนให้กระแสพรรค ประชานิยม ในยุดรปเพิ่มสูงขึ้น(ส่งผลต่อความไม่แน่นอนทางการเมือง)
            ปัญหารในภาคธนาคาร เป็นอีกปัจจัยที่กดดันการเติบโตของเศรษฐกิจยุโรป ซึ่งมีหนี้เสียอยู่ในระดับสูง และผลกำไรที่ตำ่ำอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางเศรษฐกิจที่เติบโตช้า และการใช้นโยบายดอกเบี้ยติดลบของธนาคารกลางยุโรปซึ่งทำให้ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยของธนาคารหอแคบลง ผลทดสอบภาวะวิกฤต ของธนาคารกลางยุดรป เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ขี้ว่าธนาคารที่มีฐานะทางการเงินแย่สุดในยุโรป ได้แก่ธนาคารของอิตาลี
          Sovereign Wealth Fund ของประเทศกาตาร์ แต่แผนการเพ่ิมทุนดังกล่าวล้มเหลวหลังกองทุนจากกาตาร์ประกาศถอนตัว ซึ่งทำให้รับาลอิตาลีต้องของนุมัติเงินช่วยเหลือภาคธนาคารจำนวน 2 หมื่อนล้านยูโร สำหับการเพ่ิมทุนให้ BMPS' รวมถึงธนาคารอื่นๆ อีกหลายแห่งที่มีปัญหา วิกฤตธนาคารอิตาลีในครั้งนี้น่าจะสงผลกระทบในวงจำกัด เนื่องจากธนาคารที่มีปัญหาเป็นธนาคารขนาดใหญ่ และวงเงินที่ใช้ในการเพิ่มทุน (2 หมื่นล้านยูโร) นั้นคิดเป็นเพียง 1% ของ GDP อิตาลี และน้อยมากหากเที่ยงกับ GDP โดยรวมของยุโรป
 ธนาคารกลางยุโรปกำหนดให้ BMPS' จัดการเพิ่มทุนให้เสร็จภายในสิ้นปี 2016 โดยเสนอแผนการเพ่ิมทุนจำนวน ห้าพันล้านยูโร โดยการขายหุ้นให้กับ
         ปัญหาของธนาคารในอิตาลี แม้จะมีโอกาสน้อยที่จะลุกลามจนนำไปสู่วิกฤตเศณษฐกิจ แต่ก็สะท้อนถึงพื้นฐานเศณษฐกิจและภาคธนาคารในยุโรปที่ยังมีฐานะทางการเงินอ่อนแอ และยังมีความเสี่ยงที่อาจต้องเพ่ิมทุนหากเศราฐกิจยังเติบโตในระดับต่ำ นอกจากนั้น การเข้าชยเหลื่อภาคะนาคารจะเป็นการเพ่ิมภาระหนี้ให้กับรัฐบาลอิตาลีซึ่งมหนี้อยุ่ในระดับสูงอยุ่แล้ว และอาจเป็นจุดเริ่มต้นนำปสู่วิกฤตหนี้ภาครัฐฯ..http://www.forbesthailand.com/commentaries-detail.php?did=1580
        วิกฤต! เศรษฐกิจ "ตุรกี" ระเบิดเวลาลูกใหม่ของยุโรป
         เศณาฐกิจตุรกีเป็นบทเรียนดีที่สุดในแง่ที่ว่า การเมืองสามารถบ่อนเซาะ ทำลายเศรษฐกิจได้มากมายและรวดเร็วเพียงใด
       
 ตุรกีเคยได้ชื่อว่เาป็นประเทศที่พร้อมก้าวไปสู่หัวแถวทางเศษฐกิจหลังเร่ิมปฏิรูปศรษฐฏิจให้ทันสมยใรปี 2003 ซึ่งรวมถึงการลดระบบซ้ำซ้อนและเปิดตลาดใให้ภาพเอกชนได้พัฒนาเต็มที่ ความเชื่อมั่นต่ออนาคตของตุรกีสะท้อนได้จากเงินลงทุนต่างชาติที่ไหลเข้าประเทศต่อเนื่องระหว่างปี 2003-2012 สูงถึง 400,000 ล้านตอลลาร์ ที่มากว่ายอดรวมของ 20 ปีก่อนหน้านั้นถึง 10 เท่าตัว
         ในช่วงเวลาดังกล่าว อัตราการขยายตัวของจีดีพีเคยสุงถึง 9 เปอร์เซ็นต์ต่อปีแม้ว่าจะซบเซาลงไปบ้างตามเศรษฐกิจโลกในระยะหลัง แต่เศรษฐกิจตุรกีก็ยังมั่นคง แตกต่างมากมายจากในเวลานี้ที่ต้องตออยู่ในสภาพดิ้นรน ชนิดที่มองไม่เห็นอนาคต ไม่ว่าเศรษฐฏิจโลกจะฟื้นตัวหรือไม่ก็ตาม
         ความไม่แน่นอนทางการเมือง ความหวาดระแวงทางการเมือง ที่เกิดขึ้นหลังเกิดความพยายามก่อรัฐประหารแต่ไม่ประสบผลสำเร็จในวันที่ 15 กรกฎาคม 2560 ที่ผ่านมา เปลี่ยนทุกอย่างไปจนหมด
          ความเชื่อมั่นของนักลงทุนหดหาย นักท่องเที่ยวที่เคยพลุกพล่านเต้มชายหาด หลงเหลือพียงเบาบาง ในขณะที่รัฐบาลตกอยู่ในสภาพมุ่งมั่นกวาดล้างทางการเมืองชนิดไร้เหตุผล จนกลายเป้นการทำลายพ้นฐานธุรกิจในประเทศลงอย่างเลือดเย็น ค่าเงินลีร่า อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง กระทบกำลังซื้อภายในประเทศและกลยเป็นปัจจัยลลต่อเนื่องต่อเศรษฐกิจโดยรวมมากขึ้นไปอีก
         หลังทำลายความพยายามของกลุ่มทหารที่ก่อกบฎได้สำเร็จ ประธานาธิบดีเรเจป เทย์ยิป แอร์โดอาน จัดการจักกุมผู้ต้องสงสัยไปถึง สีหมืนห้าพันคน และไล่เจ้าหน้าที่ของรัฐพ้นตำแหน่งมากถึง 130,000 คน แต่ทุกอย่างกลับไม่ยุติเพียงแค่นั้น ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่่านมา ผุ้นำตุรกีมีคำสั่งให้อายัดกิจการของบริษัทต่างๆ มากมายถึง 800 บริษัท ฐานต้องสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกัยการก่อกบฎหรือมีส่วนกับการก่อการร้าย แกนนำระดับเจ้าของหรือผุ้บริหารสูสุดกว่า 60 รายถูกจับกุมคุมขัง มูลค่าตวมของกิจาการที่ถุกยึดกลายๆ ในครั้งนั้นสุงถึง 10,000 ล้านดอลลาร์
         การกระทำดังกล่าวสร้างความหวาดกลัวถึงระดบทีไม่ว่าจะไม่ว่าจะไม่พอใจมากเท่าใด มไ่มีนักธุรกิจรายไหนกล้าวิพากษ์รัฐบาล ด้วยเหตุผลที่ว่า "ไม่มีใครที่วิจารญ์แอร์โดอาน แล้วจะอยู่รอดปลอดภัยได้ในตุรกี" ...
         ... เมื่ปลายปีที่แล้ว มุดีส์ อินเวสเตอร์ เซอร์วิส และสแตนดาร์ด แอนด์พัวร์ 2 บริษัทจัดอันดับความน่าเช่อถือชั้นนำของโลก ปรับลดอัีนดับความน่าเชื่อถือของตุรกีลงสู่ระดับ "ขยะ" ในขณะที่เงินลงทุนจากต่างประเทศลดลงฮวบฮาบถึงกว่า 40%...
         ... ตุรกีกำลังสุ่มเาี่ยงต่อการล้มละลาย ในสายตาของซอนเมซ ปัญหาก็คือ ตุรกีอาจฉุดลากเอาประเทศอื่นๆ จมน้ำตามไปด้วย ตอนนี้ตุรกีมีหนี้สินต่างประเทศอยุ่ถึคง 270,000 ล้านดอลลาร์ ในจำนวนนี้ 87,000 ล้านเป็นของสเปน 42,000 ล้านเป็นของฝรั่งเศศ และอีก 15,000 ล้านเป็นเงินเยอมรนี
        https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1492592583
 ถ้าตุรกีผิดนัดชำระหนี้ขึ้นมาเมือใด ซอนเมซเชื่อว่า วิกฤตการณ์การเงินรอบใหม่ในยุดรป ก็เกิดขึ้นตามมาได้ไม่ยาก!!!!
         
เศรษฐกิจทัวโลกส่งสัญญาฟื้นตัวอย่างมี่นัยสำคัญในปี 2017 ด้วยพลังขับเคลื่อนจากพรรดาประเทศเศรษฐกิจยักษ์ใหญ่ ซึ่งเติบโตอย่างพร้อมหน้าเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เกิดวิกฤตการเงินเมือเกือบ 10 ปีก่อน
          ข้อมูลจาก คอนฟิลเลนซ์ บอร์ด องค์กรวิจันเศรษฐกิจชั้นนำของโลกระบุวา ในปี 2017 ที่ผ่านมา ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศเศษรฐกิจรายใหญ่ ทั้งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศตลาดเกิดใหม่ขนาดใหญ่ทั่วดลก ต่างก้ฒีอัตราขยายตัวในระดับที่น่าพอใจ นำโดยสหรัฐอเมริกาทีเ่ติบโตระดับ 2.3% ส่วนจัน ขยายตัว 6.6% ขณะที่ญี่ปุ่น แม้จะยังไม่หลุดพ้นจากภาวะเงินฝืดก็ยังขยายตัวที่ระดับ 1.4%
        ยูโรโซน แม้เผชิญกับความไม่แน่นอนทางการเมืองในบางประเทศก็ยังเติบโตที่ระดับ 2.2% ขณะที่สหราชอาณาจักรที่ำลังดิ้นรนเจรจาแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป ยังเติบโตที่ 1.5%
         ประเทศเศรษฐกิจรายใหญ่อื่นๆ ต่างก็ขยายตัวแบบไม่ยอมน้อยหน้าเช่นกัน ประกอบด้วย อินเดียว 6.2% รัสเซีย 1.8% และบราซิล 1% ซึ่งเป็นสมาชิกในกลุ่ม BRICS ขณะที่แคนาดา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ เม็กซิโก ตุรกี และอินโดนีเซีย ซึ่งอยุ่ในกลุ่ม G20 ก็เติบโตที่ระดับ 2.5% 1.8% 2.7% 2.5% 4% และ 4.9% ตามลำดับ...https://thestandard.co/global-economy-2018/
         
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)