วันอาทิตย์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Mafia

          26 พ.ย. 2560 จุดจบ "ไอ้สัตว์ป่า" เจ้าพือเหนือเจ้าพ่อ ซับวาตอเร "โตโต" รีนา หัวหน้าแก็งมาเฟียโคซา นอสตรา แห่งชิชิลี ฉายา "ไอ้สัตว์ป่า" ถูกนำตัวไปขึ้นศาลที่เมืองโลโลญญา เมื่อ 16 ม.ค. 2539 ก่อนถูกสาลตัสสินจำคุกตลอดชีวิตถึง 26 รอบ
           เป็นข่าวใหญ่ในวงการอาชญากรโลก เมื่อ ซัลวาตอเร "โตโต" รีนา หัวหน้แก็งมาเฟีย "โคซา นอสตรา" หรือแก๊ง "ปลากหมึกยักษ์ " อ็อกทอปัส ผู้อื้ฉาวแห่งเกาะชิชิลีในอตาลี ฉายา "เจ้าพื่อเหนือเจ้าพือ Boss of Bosses และ "ไอ้สัตว์ป่า" The Beast เสียชีวิตชีวติในเมื่อ 17 พ.ย. 2560 หลังวันคล้ายวันเกิด 87 ปี หนึ่งวัน
            รีนาซึ่งกำลังรับโ?ษจำคุกตลอดชีวิตตถึง 26 รอบ สิ้นลมหลังถุกส่งตัวจากเรือนจำไปรักษาอาการป่วยด้วยโรคมะเร็งระยะสุดทายที่ดรงพยาบาลในเมืองปาร์มาทางภาคเหนืออิตาลี และแพทย์วางยาให้เข้าสู่ภาวะ "โคม่า" หลังการผ่าตัด 2 รอบ ซึ่งแม้ทางการจะอนุญาตให้สมาชิกครอบครัวไปดูใจแต่ก็ไม่ทน คดีที่ด่งดังที่สุคือ การลอสังหารผุ้พิพากษานักต่อสู้มาเฟียชื่อดัง 2 คนในปี 2535 คือ จิฮโอวานนี ฟัลโคเน และเปาโล บอร์เซลลิโน ผุ้ไล่ล่าจับกุมพวกมาเียวมาดำเนินคดีได้กว่า 300 คน ในปี 2530 การลอบสังหาร ผู้พิพากษา 2 คนในเวลาห่างกันเพียง 2 เดือน สร้างความโกรธแค้นในหมู่ชาวอิตาลีรุนแรงจนออกมาเดินขบวนต่อต้านมาเฟียครั้งใหย๋ บีบให้เจ้าหน้าที่รัฐเปิดสงครามกับแก็งมาเฟีย กวาดจับ "เจ้าพ่อ"มาเฟียหลายร้อยคน มีการออกกฎหมายพิเศษต่อต้านมาเฟีย รวมทั้งให้แยก "ขังเดี่ยว" มาเฟียตัวบิ๊กๆ ที่จับได้
           อีกคดีหนึ่งคือ รีนาสั่งสมุนไปลักพาตัวเด็กชายวัย 13 ขวบ หวังปิดปากไม่ให้บิดาของเด็นเปิดเผยความลับของแก็ง และเด็กถูกฆ่ารัดคอก่อนใช้นำ้กรดละลายศพ
           รีนา เป็นลูกชายขาวนายากจน เกิดที่เมือง "คอร์เลโอเน" เขตหุบเขาทางตอนกลางเกาะชิชิลี เมืองเล็กๆ นี้ถูก "มาิโอ พูโซ" นักเขียนขื่อดัง นำมาเป็นฉากหลังในนวนิยาย "เธอะ ก๊อตฟาเธอร์" บิดาและน้องชายเสียชีวิตขณะแกะดิปืนจากลูกระเบิดของสหรัฐฯ ที่ยังไม่ระเบิด เมื่อเขาอายุ 19 ปี รีนาก็ฆ่าคนเป็นครั้งแรกก่อนเข้าไปเป็นลูกน้องของ "ลูเซียโน เลกจิโอ" หัวหน้าแก็งมาเฟียวเมืองคอร์เลโอเน และไต่เต้าขึ้นมาเร่อยๆ จนได้ป็นหัวหน้าใหญ่แก็ง "โคซา นอสตา" ที่มีเครือข่ายทั่วเกาะชิชิลีในที่สุด 
          รีนาขึ้นเป็นใหญ่โดยวิธี "เสี้ยม" ให้หัวหน้าแก๊งมาเฟียอื่นๆ ที่คูอริกันเข่ฆ่ากันเองในช่วงทศวรรษท 1970 ขณะที่ตัวเอง "นั่งภู ดูเสือกันกัน" รอบเก็บเกี่ยวผลประโยชน์
          ต่อมามรีนา ถูกจับในข้อหาพัวพันแก๊งมาเฟีย และหลังพ้นโทษจำคุก 5 ปี ทางการก็สั่งเนรเทศออกจากเกาะชิชิลี ทำให้เขาต้องหลบหนีเป็นมนุษย์ล่องหนตั้งแต่ปี 2512 แต่คงกบดานอยู่ที่เกาะชิชิลี โดยระหว่งการหลบหนี 23 ปี ภาพถ่ายของเขาที่เจ้าหน้าที่มีอยุ่ีอายุเก่าแก่ก่า 30 ปี จึงแทบไม่รุ้ว่าหน้าตาปัจจุบัเป็นอย่างไร
          มาเฟียแปรพักตร์บางคนเผยว่า ขณะหลยหนี รีนายังคงเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ บงการแก๊ํงโคซา นอสตรา จากที่ซ่อนในเมืองปาเลอร์โม และในปี 2530 เขาถูกศาลตัดสินจำคุกตลอดชีวิตเป็นครั้งแรกขณะหลบหนี แต่ก็ยังบงการเครื่อข่ายค้ายาเสพติด สังฆ่าอริ และเจ้าหน้าที่รัฐอีกมากมาย
          ต่อมา รีนา ถูกศาลทยอยตัดสินจำคุกตลอดชีวิตอี 25 รอบ หลังสมาชิกแก๊งโคซา นอสตราคนหนึ่งแปรพักตร์มาเป็นพยานปรักปรำเขาในศล ซึ่งรีนาก็ตอบโต้ ด้วยการสงลุกน้องไปฆ่าญาติพี่นอ้งผู้ทรยศถึง 11 ศพรวด แต่สุดท้ายก็หนีไม่รอด
           หลังถูกจับรีนาย่ิงคั่งแค้น มีคำสั่งลับให้ลูกน้องบอลวางระเบิดหลายระลอกในกรุงโรม มิลาน และฟลอเรนซื มีผุ้เสียชีวิตกว่า 10 ราย ขณะอยุ่ในคุกก็ไม่มีท่าที่สำนึกผิดใดๆ เจ้าหน้าที่ดังฟักการสนทนาของรีนาได้ว่า เขาไม่เสียใอะไรเลยในส่ิงที่ทำลงไปและจะไม่ยอมแพ้แม้ถูกตัดสินจำคุกถึง 3,000 ปี
           ผุ้เชียวชาญแก๊งมาเฟียขี้ว่าแ้การตายของรีนาและเบอร์นาร์โด โปรเวนซาโน เจ้าพ่อมาเฟียวอักคน จะทำให้แก๊งโคซา นอสตรา ที่แทรกซึมอยู่ทั่วทุกกอบคาพยพในอิตาลีอ่อนแอลง แต่ยังไม่แตกดับ และอาจ "กลายพันธุ์" แทรกซึมเข้าไปมีอิทธิพลทางการเมืองมากขึ้น อีกทั้งแมททีโอ เมสซินา เดนาโร หัวหน้าแก๊งคนสุดท้ายยังลอยนอล
           นอกจากนี ยังมีแก๊งมาเหียวใหญ่อีก 2 แก๊งผงาดขึนมาแทนที่ คือแก๊ง "คามอร์รา" ในเมืองเนเปิดลส์ และแก๊ง "เอ็นดรังเกตา" ในเมืองคาลาเบรีย และหลังยุค "สงครามมาเฟียครั้งที่ 2 " ช่วงตนทศวรรษ 1980 ยังมีสามาชิกแก๊งโคซา นอสตรา ที่ไม่ลงรอยกัน แยกตัวไปตั้งแก๊งใหม่ ที่เรียกว่า "สติดดา" ด้วย
           รีนากุมความลับของบรรดาแก๊งมาเฟียไว้เยอะมาก แทต่แทบไม่ยอมเปิดปากบอกเจ้าหน้าที่รัฐ เมื่อขเาตาย ก็เท่ากับ ความลับนั้นตายไปกับเขาด้วย..https://www.thairath.co.th/content/1135872
           ในโลกอาชญากรรม ไม่ว่าอาชญากรจากสัญชาติไหนๆ จะมีวิธีการบ่งบอกความเป็นแก๊ง หรือควาเป็นตัวตนของอาชญากรนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นเป็นยากูซ่า มาเฟียรัสเซีย มาเฟียอเมริกา มาเฟียแม็กซิกโก มาเฟียจีน รวมถึงมาเฟียในยุโรปด้วย สิ่งหนึ่งในหลายๆ สิ่งนั้นคือ รอยสัก รอยสังของมาเฟียต่างๆ บ่งบอกถึง ความเชื่อ กฎ หรือกระทั่งตำแหน่งในโลกอาชากรรม

            มาเฟียรัสเซีย


รอยสักรูปโบสถ์หรือวิหาร บ่งบอกได้ว่าคนๆ นั้น คือ "หัวขโมย ขนานแท้ และจำนวนยอดอุโอบสถทีอยู่ในรอยสัก ก็แสดงถึงจำนวนครั้งที่ โดนรบตัวและต้องโทษ





- รอยสักรูปดวยตานี้ ถ้าอยู่บริเวณหน้าอกด้านบน จะเป็นเครื่องบ่งบอกถึงตำแหน่งนักโทษอาวุโส ที่มีดีกรีสะสมเปนเข็มไมล์มาอย่างยาวนาน แต่ถ้ารูปดวงตานี้อยู่บริเวณหน้าท้อง ก็จะเป็นอีกความหมายคือ นักโทษคนนี้เป็นรักร่วมเพศ และพร้อมจับตาดูนักโทษคนใหม่ที่จะมา สร้างความสนิทสนมด้วยกัน




       - รอยสักรูปเรือสำเภาแบบโบราณ บ่งบอกว่านักทษผุ้นี ไม่ได้เป็เพนียงแค่หัวขโมยธรรมดา แต่เป็นผุ้ที่รับงานจารกรรมขนาดใหญ่ และเกือบที่จะหลบหนีไปได้




 - รอยสักรูปดาวแปดแฉก สัญลักษณ์ของคนจริงแห่งโลกอาชญากร ถ้าเห็นักฌ?ษคนใดมีรอยสักนี้อยู่บริเวณใต้ไหปลาร้า ขอให้พึงระลึกว่า นี่คือ "มืออาชีพ" อาจจะเป็นมาชิกแก๊งส์, เป็นนักค้ายาตัวใหญ่ หรือเป็นมือสังหารขององค์กร และยิ่งถ้าดาวแปดแฉกนี้อยู่บริเวณหัวเข่า นั้นคือการประกาศว่า "ไม่คุกเข่าให้แก่ผู้ใด" การเมีเรื่องกับนักโทษกลุ่มนี้จบลงด้วยความตายเท่านั้น





- รอยสักรูปปะคำที่ข้อมือ จะมีสำหรบนักโทษที่ใช้ชีวิตในเรือนคุมขังนานเกินกว่า 5 ปี และยิ่งถ้ามีรอยสักรูปกากบาทที่กำปั้น ก็บ่งบอกว่าเขาผุ้นั้น ได้ถูกเกณฑ์ไปใช้แรงงานหนัก ตามจำนวนกากบาทที่มีไว้






- รอยสักรูปวาบหวาม รอยสักแห่งความอัปยส จะถูกสักเอาไว้สำหรับผุ้ที่แพ้ในวงไพ่ เป็นไส้ศึกาให้กับผุ้คุม หรือทำผิดกฎสัตยาบันของแก็งส์ที่ตนสังกัด





- รอยสักรูปหัวกะโหลกไขว้มีด อีกหนึ่งรอยสักที่กำกับไว้สำหรับนักโทษสายพันธุ์อันตราย เพราะมนคือเครื่องหมายแก่ง "นักฆ่า" ผุ้มม่สนกฎเกณฑ์ใดๆ และยิ่งถ้ารอยสักอยู่บริเวณคอ จะเป็นอีกระดับของนักฆ่าเพราะเขาฆ่าเพื่อ "เงินค่าจ้าง"






- รอยสักท่านผุ้นำ มาตุภูมิรัสเซียมีรูปเคารพที่ทุกคนให้การนับถือ โดยเฉพาะกับเลนินและสตาลิน สัญลักษณ์แห่งเหล่ากรรมาชีพ รอยสักของท่านผู้นำบริเวณจุดสำคัญ จะช่วยปกป้องคุ้มภัย และทำให้เหล่าผุ้คุมไม่กล้าวุ่นวาย


- รอยสักรูปหัวแมวและอักษร KOT แมวเป็นสัตว์ที่มีความว่องไว ปราดเปรียว และเจ้าเล่ห์อย่างเหลือร้าย ใครที่ฮดบรับลวดลายนี้ ก็ตามตัวอักษร เป็นคนกลิ้งกลอก เชื่อถือไม่ได้ ส่วนตัวอักษร KOT ที่แปลว่า "แมว" นั้น กลับบ่งบอกว่าคนผุ้นี้เป็นักโทาในเขตพื้นที่






- รอยสักพระแม่มาดอนนา (พระแม่มารีย์) หนึ่งในรอยสักศักดิ์สิทธิ์ หลากหลายความหมาย เป็นที่เคาพรนับถือของเหล่าคนคุก ไม่ว่าจะในความมหายของนักโทษตั้งแต่วัยเยาว์ (ติดคุกตั้งแต่เด็ก), นักเลงผุ้มีความภักดีต่อกลุ่มแก๊งส์หรือเป็นเครื่องรางสำหรับความโชคดี ล้วนเป็นความหมายแผงในรอยสักทั้งสิน..https://daily.rabbit.co.th/%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%81-%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A9%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2

            ยากูซ่า
            แต่เดิมทีในฐี่ปุ่นรอยสักจะถูกใช้ในทางศาสนา จากความเชื่อในเรื่องผีสาง ผุ้คนมักจะนำสิ่งมีชีวิตมาร่วมกับความเชื่อจนออกมาเป็นรอยสัก นอกจากนี้รอยสักยังถูกนำมาใช้ในการแบ่งชนชั้นทางสังคม ในภายหลังรอยสักถูกนำไปใช้ในหลายๆ ด้าน

มังกร

- มักร ด้วยความสามารถในการเหะและพ่นไฟ บ่งบอกถึงความรุนแรงและมีพลัง ในประเทศญี่ปุนมักรเป็นตัวแทนของความแข็งแรงและความเือ้อาทรปัญญาที่เป็นประโยชน์ตอมนุษยชาติ มังกรจึงเป็นลายที่นิยมมาในรูปแบบรอยสักญี่ปุ่น
         














- หงส์ หรือมนกไฟ เป็นสัตว์ในตำนานคล้ายคลึงกับมังกร แต่ความหมายกลับต่างกันสิ้นเชิง ในขณะที่มักรจะเป็นตัวแทนของความแข็.แกร่ง มีพลัง ส่วนนกฟินิกซื ที่ดุเหมือนจะเป็นแค่นกธรรมดาทั้งไป กลังจากโดนเผาด้วยไฟมอดไปหมดแล้ว สามารถกลับเกิดขึ้นใหม่จากเถ่าถ่านของตัวเองและแข็งแกร่งกว่าเดิมเป็นที่มาของคำว่า What doesn't kill you makes you stronger" ก็ว่าได้
 

- เสือและสิงโต สิงโต ตัวแทนแห่งความกล้าหาญและการปกป้อง ในจีนและญี่ปุ่น Fu dog หรือสิงโตญี่ปุ่นเป็นสัตว์ที่ผสมผสานระหว่างสุนัขและสิงโต มักจะพบอยู่ทางเข้า เป็นลายที่ชื่อ
ชอบดยผุ้ที่มีแรงบันดาลใจกล้าหาญ





           









-งู เป็นสัญลักษณ์ที่มีหลากหลายความหมายซึ่งขึ้นอยู่ในแต่ล่ะคนจะต้องการสื่ออกมา บางคนเชื่อว่า
สามารถปกป้องจากโรคภัยไข้เจ็บและความโชคร้าย ส่วนใหย่คิดว่างูเป้นสัฐลักษณ์แห่งโชคลาภ นี้อาจจะเป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ชาวญี่ปุ่นชอให้อาหารงูเวลาเจอในบ้าน งูยังเป็นตัวแทนแห่งปัญญา ด้วยพฤติกรรมที่มันจะผลัดผิวเสมอ มีการเปลี่ยนแปลงเสมอ เปรีบเหมอนการที่เรายอมละทิ้งนิสัยเดิมเพื่อการเีรยนรู้ส่ิงใหม่ๆ



- กระโหลก โดยทั่วไปแล้วหัวกระโหลกมักจะใช้เป็นตัวแทนแห่งความตายหรือันตราย แต่ในญี่ป่นุใช้สื่อในด้านวงจรของชีวิต คล้ายๆ หยินและหยางของจีน รอยสักหัวกระโหลกจะถูกใช้เป็นเครื่องเตือนสติให้เห็นคุณค่าของชีวิต มีเกิด แก่ เจ็บ ตาย ตามวงจรของชีวิต นอกจากนี้ยังใช้ลายหัวกระโลหกในการำลึกถึงผุ้ที่จากไปอีกด้วย












   
- ปลาคาร์พ ตามตำนานปลาเหล่านี้จะพยายามว่ายทวดแม่น้ำเหลือง ซึ่่งจะมีน้อยตัวมากที่จะไปถึงจุดหมายเพื่อผ่านยังประตูมังกร โดยจะได้ับการตอบแทนด้วยการถูกเปลี่ยนเป็นมังกร ส่นมากจะใช้ลายปลาคาร์ฑเป็นเครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงความยากลำบากที่ได้ฝ่าฟันมา เป็นความมุ่งมั่นปรารถนาดีที่จะประสบความสำเร็จและความคิดในการเปลี่ยนเป็นส่ิงที่ดีกว่า





-  น้ำและคลื่นนำ้ เนื่องจากญี่ปุ่นมีภุมิประเทศเป็นเกาะ ผุ้คนจึงใช้ชีวิตอาศยน้ำเป็นส่วนใหญ่ ลายสักน้ำสามารถบ่งบอกในวัตนธรรมของญี่ปุ่นได้ดี อย่างไรก้ตามลายสักน้ำยังเป็นสัฐลักษณ์ของชีวิตและแห่งอาหาร














- หน้ากากญี่ปุ่น จากความเชื่อในโลกวิญญาณของญี่ป่นุ หน้ากากฮันยา จะพบได้ย่อยมากในญี่ปุ่น มีความเชื่อกันว่าหน้ากากนี้ มาจากปีศาจแห่งความชั่วร้ายในโลกของวิญญาณที่มักจะลงโทษอย่างไม่เป็นธรรม ส่วนมากมักจะใช้เป็นสัญลักษณ์ในการป้องกัน..
https://pepperrr.net/th/articles/3132


         ทางฝากฝั่งอเมริกาก็มีสัญลักษณ์เกี่ยวกับรอยสักในโลกอาชญากรรมเช่นเดียวกน อาทิ




อารยัน บราเธอร์ฮู็ด หรือBrand The AB, Alice Baker หนึ่งในสองแก๊ง และองค์กรอาชญากรรมที่มีอิทธิพลในประเทศอเมริกา เหล่าสมาชิกแก๊งมักจะทำเครื่องมหายตัวเอง ด้วรอยสักที่โดดเด่นบนร่า
กาย เช่น คำว่า Aryan Brotherhood " AB ", " 666 หรือ สัญลักษณ์ ss ของนาซี อักษรรูน และสวัสดิกะ









-  The Teardrop สัญลักษณ์รอยสักระดับสากลในหมู่ชาวแก๊งส์ รอยสักหยอน้ำตามมีความหมายได้หลากหลาย รอยสักหยดน้ำตาเปล่าๆ นั้นหมายความว่าคนนั้นด้สูญเสียคนที่รักหรือคนใกล้ชิด ส่วนรูปหยดน้ำตาทึบสีนั้นหมายความว่า คุณได้ฆ่าใครสักคนมาแล้ว












- ลาติน คิง แก๊งข้างถนนที่มีสมาชิกเป้นชาวลาตินอเมริกาทั้งหมด ถูก่อตั้งขึ้นที่ชิคาโก้ ในปี 1940 ลาติน คิงส์ ขยายอาณาเขตและมีจำนวนสมาชิกใน 36 รัฐ ทั่วสหรัฐอเมริกา โดยรับจ้างเป้นมือปืน ลอบสังหารเป้าหมายและค้ายาเสพติด







Blood และ Crips  คือสองแก็งใหญ่ใน LA ซึงไม่ถ๔กชุตกันอย่างแรงเป็นอริกลุ่มหใย่ซึ่งมีพรรคพวก
เกือบๆ 3 หมื่นคน ในแต่ละแก๊งและมีสาขาทั่วประเทศอเมริกา สองแก๊งนี้เป็นอริกันมาตั้งแต่ปลายยุค 70 ส่วนใหญ่เป็นชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ซึ่งแต่ละแก็งก็มีสัญลักษณ์ประจำตัว โดย blood สีแดง และ chips สีน้ำเงิน และ่ต่อมาก็มีสัญลักษณ์นิ้วมือ




ms 13 มีชื่อมีชื่อเต้ฒว่า Mara Salvatrucha Mara เป็น่ภาษาสเปนแปลว่าแก็ง ส่วน Salvatrucha ชาวซาวาดอเรียน โดยแรกเริ่มมีสมาชิกเพียง 13 คน
       ว่ากันว่าเป็นแก็ง แม๊กซิกัน ที่มีความโหดเหี่้ยม และชอบใช้ความรุนแรง และใหญ่ที่สุดในอเมริกา ถือกำเนิดในค่ายอพยพ ซึ่งมักจะถุกรักแกา จึงรวมตัวกันเพื่อตอบโต้



NLR Nazi Lowridwesเป็นกลุ่มแก๊งคนขาวที่มีกำลังการเติบโตมากที่สุดในุ แคลิฟอเนีย ในช่วงปี
1970 โดยเริ่มจากเยาชน ในโรงเรียน อุตสาหกรรม โดยเป้าหมายหลักจะเป็นการแบ่งแยกเชื้อชาติของอารยันประชาชาติ สมาชิกในกลุ่มมักแสดงรอยสักที่เป็นการส่งเสริมอำนาจสุงสุดเป็นอักษรเช่น SWP Supreme White Power หรือตัวอักษรชื่อแก๊ง ลัคกี้นัมเบอร์ 88 (หมายถึง คำว่าปว่า Heil Hilter) หรือ สัญลักษณ์ SS


Black Guerrilla Family (BGF)ครอบครัวผิวสี (black family) เป็นหนึ่งในแก็งอาชญากรข้าถนนที่เร่ิมไต่เต้าขึ้นมาเป็นกลุ่มของอาชญกรขนาดใหญ่ ถือกำเนิดในปี 1966 ในเรื่อนจำซานเควนติน แคลิฟอร์เนีย ซึ่งสมาชิกล้วนเป็นกลุ่มคนผิวสี ซึ่งเดิมที่กลุ่มคนผิวสีรวมตัวกันเพื่อไม่ให้ถูกคนขาวรังแก เชื่อกันว่าสำนักงานใหญ่ของแก๊งนี้อยู่ที่รัฐแมรีแลนด์ แลุะอยู่เบื้องหลังการลักลอบค้ายาเสพติดทุกชนิดในสหรฐฯ ที่ทุกวันนี้เจ้าหน้าตำรวจสหรัฐฯ ก็ยังหาหนางกำจัดกลุ่มอาชฐญากรผิวสีแก๊งนี้ไม่ได้ แม้จะจับหัวหน้าแก๊ํงเข้าคุกไปแล้วก็ตามhttp://petmaya.com/10-tattoo-criminal-gang









วันเสาร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

SANCTION II

         23 ก.ค. 2560 : อียูกังวลสหรัฐเตรียมคว่ำบาตรรัสเซียรอบใหม่
         หน่วยงานด้านบริหารของสหภาพยุโรป "แสดงความวิตกกังวล" ต่อการที่สภาอคงเกรสของสหรัฐเตรียมผ่านมาตรการคว่ำบาตรรัสเซียครั้งใหม่ ที่อาจส่งผลกระทบต่อโครงการสร้างท่อส่งก๊าซ
          สำนักข่าวต่างประเทศรายงนจากรุงบรัสเซลล์ ประเทศเบยเยียม ออกแถลงการณ์เมืื่อวันเสาร์ ว่ายุโรปมีความเข้าใจว่าร่างกฎหมายการควำ่บาตรรัสเซ๊ยฉบบใหม่ของสภาพคองเกรสสหรับ เป้นไปตามการพิจารณาจากปัจจัยภายในเป็นสำคัญ อย่างไรก็ตาม เป้นส่ิงสำคัญเช่นกันที่การเพ่ิมมตรการดังกล่าวควรเป้นไปตามครรลองของความร่วมมือกับพันธมิตรนานาชาติ เพื่อการรักษาความเป้ฯเอกภาพระหว่างกัน และเพื่อให้เป็นการมั่นใจว่ามาตรการคว่ำบาตรเป็นไปตามข้อกำหนดใข้อตกลมินhttps://www.dailynews.co.th/foreign/587092
สก์...
         24 ก.ค. 2560 : สภาคองเกรสบรรลุร่างกฎหมายคว่ำบาตรรัสเซียเข้มข้นขึ้น ปิดช่องทรัมป์สมานฉันท์รัฐบาลปูติน
         บรรดาแกนนำสมาชิกสภาคองเกรสสหรัฐฯจากพรรครีพิบลิกัและเดโมเครตสามารถบรรลข้อตกลงร่วมกันในร่างกฎหมายคว่ำบาตรฉบับใหม่ต่อประเทศรัสเซีย อิหร่าน และเกาหลีเหนือแล้ว ซึงจะเน้นจำกันทุกความพยายามของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ที่ระบุก่อหน้านี้ว่าจะผ่อนปรนท่าที่กับรัสเซียให้มากขึ้น
       
อย่างไรก็ตาม ภายใต้ร่างกฎหมายแบับใหม่นี้ได้กำหนดข้อห้ามต่างๆ ที่จำกันความเีก่ยวข้อฝระหว่างนโยบายต่างประเทศของสหรัฐกับประเทศรัสเซียให้รัดกุดมขึ้น ซึ่งรวมถึงการจำกัดอำนาจของประธานาะิบดีที่จะสั่งผ่อนปรมหรือยกเลิกมาตรการคว่ำบาตร และห้ามรัฐบาบคือสินทรัพย์างการทูตในแมรีแลนด์และนิวยอร์กให้รัสเซ๊ย
          นิวยอร์กไทมส์ระบุว่า หากทรัมป์เลือกที่จะใช้อำนาจประานาธิบดีสั่งยับยั้งร่างกฎหมายดังกลาว ก็อาจเพิ่มความเสี่ยงให้สาธารณชนคลางแคลงใจมากขึ้น ในข้อกล่าวหาว่าอาจร่วมมือกัรบรัสเซียแทรกแซงการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาซึ่งบุตรชายและคนใกล้ชิดของทรัมป์ได้พบกับนักข่าวรัีสเซียเพื่อหวังได้ข้อมูลด้นลบของฮิลารี คลิรตัน ที่เป็นคู่แข่งในขณะนัน
           ทั้งนี้ ร่างกฎหมายดังกล่าวเพ่ิมความซับซ้อนขึ้นเนื่องจากรวมการคว่ำบาตรอิหร่าน และเกาหลีเหนือเพิ่มเติมจากเดิมด้วย โดยก่อนหน้านี้วุฒิสภาสหรัฐเคยผ่านร่างกฎหมายคว่ำบาตรอิหร่านไปเมื่อเดือน มิ.ย. แต่ติดในชั้นสภาพผู้แทนราษฎร เนื่องจากพรรครีพับลิกันเสนอการคว่ำบาตรเกาหลีเหนือไปด้วย ก่อนจะกลายเป็นร่างกฎหมายฉบับล่าสุดนี้ ซึ่งสภาผูทแนราษฎรมีกำหนดจะลงมติในวันที่ 25 ก.ค. ตามเวลาในสหรัฐฯ....https://www.posttoday.com/world/504932
           27 ก.ค. 2560 อียูค้านอเมริกาคว่ำบาตรรัสเซียรอบใหม่
            เจ้าหน้าที่ระดับสูงขอวสหภาพยุโรปแสดงควาไม่เห็นด้วยต่อร่างกฎหมายฉบับใหม่ของสหรัฐ ที่เตรียมเพิ่มการคว่ำบาตรทางเศณาฐกิจต่อรัสเซีย และมีแนวโน้มกระทบความร่วมมือด้านพลังงานระหว่งอียูกับัฐบาลมอสโก
           สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงบัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม เมื่อวันที่ 27 ก.ค.. ว่านายฌอโคลด ยุงเกอร์ ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป (อีซี) กล่าวเมื่อวันพุทธ ว่าร่างกฎหมายคว่ำบาตรรัสเซียฉบับใหม่ ที่สภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐมีมติเห็นชอบเมือวัยอังคารที่ผ่านมา อาจส่งผลกระทบผละประโยชน์และความมั่นคงด้านพลังงานของยุโรป หากความวิตกกังวลดังกล่าวของอียูไม่ได้รับการตอบสนองอย่งหมาะสมจากรัฐบาลบวอชิงตันยุโรปพร้อมที่จะมี "มาตรการตอบโต้อยางเหมาะสม" ภายในอีกไม่กี่ว่นข้างหน้าเช่นกัน เนื่องจากนโยบาย "อเมริกาต้องมาก่อน" ไม่ได้หมายความว่า "ยุโรปต้องอยู่ลำดับสุดท้าย"
           ทั้งนี้แหล่งข่าวในอียูเผยว่ายุโรปเตรียมแนวทางปฏิบัติไว้ 3 ทางเลือกด้วยกัน คือการทำให้ทำเนียบขาวรับรองเป็นลาลักาณ์อังกร ว่ามาตรการคว่ำบาตรต่อรัสเซียครั้งใหม่จะไม่สงผลกระทบตอบริษัทในกลุ่มปรเทศสมชิกอียู หรือการใช้กฎหมายอียูในการคุ้มครองบริษัทืของยุโรปจากมาตรการคว่ำบาตรของสหรัฐ หรือกรยื่นคำร้องต่องค์การการค้าโลก ให้เข้ามาแสดงบทบาทต่อเรื่องที่เกิดขึ้น...https://www.dailynews.co.th/foreign/587887
           ตึงเครียด! สหรัฐคว่ำบาตรรัสเซ๊ยรอบใหม่ รัสเซ๊ยลั่นจงใจประกาศสงครามการต้าเต็มรูปแบบ-ความสัมพันธ์กับรัฐบาลทรัมป์ดับสิ้น
         
 สำนักข่าวต่างประเทศ รายงนว่า ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ได้ลงนามในร่างกฎหมายคว่ำบาตรรัสเซียครั้งใหม่ หลังจากผ่านการรับรองจากสภาคองเกรสก่อนหน้านี้
          ทั้งนี้ สัปดาห์ที่ผ่านมาวุฒิสภาสหรัฐมีมติผ่านร่างกฎหมายคว่ำบาตรในระดับที่รุนแรงขึ้นต่อรัสเซ๊ย อิหร่าน และเกาหลีเหนือ โดยก่อนหน้าที่จะมีการลงนามคว่ำบาตรรัสเซียนั้น กระทรวงการต่างประเทศรัสเซียออกแถลงการร์ก่อนหน้าว่า รัสเซียจะลดจำนวนนักการทูตของสหรัฐที่ประจำการอยู่ในรัสเซียลงเหลือ 455 คน รวมทั้งยึดที่พักขนาดใหญ่และโกดังสินค้าแห่งหนึ่งของสหรัฐในกรุงมอสโก เพื่อตอบโต้การกระทำที่เป้นปฏิปักษืต่อรัสเซีย
          อย่างไรก็ตาม หลังกรณีที่ ทรัมป์ลงนามคว่ำบาตรรัสเซียรอบใหม่นั้น นายดมิทรี เมดเวเดฟ นายกรัฐมนตรีรัสเซีย กล่าวว่า รัฐบาบสหรัฐฯได้ประกาศทำสงครามการต้าอย่างเต็มรูปแบบต่อรัสเซีย และได้โพสต์ข้อความผ่านทางเฟซบุ๊กว่า "ความหวังที่จะยกระดับความัมพันะ์กับรัฐบาลชุดให่ของสหรัฐนันได้ดับสิ้นลงแล้ว"... นายกฯรัสเซีญ กล่าวว่ากลุ่มอำนาจเก่าของสหรัฐมีอำนาจเหนือปรธานาธิบดีทรัมป์อย่างิส้ินเชิง โดยนายทรัมป์ไม่ได้ยินดีต่อมาตรการคว่ำบาตรรอบใหม่ แต่ก็ปฏิเสธที่จะลงนามไม่ได้ด้วยเช่นกัน และระบุ ว่า ผลประโยชน์ของธุรกิจสหรัฐนั้นถุกมองข้ามเกือบทั้งหมด ขณะที่กระแสต่อต้านรัสเซียได้กลายเป็นส่วนสำคัญในนโยบายของสหรัฐทั้งระดับในและต่างประเทศ นอกจากนี้กฎหมายนี้จะมผลบังคับใช้เป็นเวลาหลายทศวรรษ เนื่องจากกฎหมายใหม่นี้เปิดทางให้สภาคองเกรสมีอำนาจในการขัดขวางประธานาธิบดีทรัมป์ไม่ให้ยกเลิกการคว่ำบาตรรัสเซีย ด้วยเหตุนี้ ความสัมพันะ์ระหว่างรัสเซียกับสหรัฐจะเผชิญกับความตึงเครียดครั้งใหย่ ไม่ว่าสภาคองเกรสจะมีองค์ประกอบเช่นไร หรือตัวประธานาธิบดีเองจะมีทัศนคติอย่างไร เขากล่าวด้วยว่ารัสเซ๊ยจะเดินหน้าส่งเสริมเศณาฐฏิจและสังคมโดยสงล หันมาพึ่งพาตนเองมากขึ้น และเลิกพึ่งพาการนำเข้าจากชาติตะวันตก...https://www.prachachat.net/world-news/news-15555

            4 ส.ค. 2560 : นักวิเคราะห์จากสถาบันในกรุงบรสเซชส์ได้ออกมาเตือนว่า การที่สหรัฐออกมาตรการคว่ำบาตรรัสเซียระลอกใหม่นั้น ได้สร้างแรงกระเพื่อมที่กระทบต่อความสัมพันธ์ภายในกลุ่มชาติสมาชิกสหภาพยุโรป (อียู) อีกทั้งโหมกระพือความระหองระแหงระหวางสหรัฐกับ อียู จากเดิมที่เกิดความร้าวฉานอยุ่แล้วนับตั้งแต่ที่นายโดนัลด์ทรัมป์ก้าวขึ้นมารับตำแหน่งประธานาธิบดีของสหรัฐ
           จางจูจี้ เคนพ์ซีย์นักวิเคราะห์จากสถาบันคาร์เนกี ยุโรป ในกรุงบรัสเซลส์แสดงความเห็นว่า ประเทศที่แสดงจุดยืนคัดค้านโครงการวางระบบท่อส่งก๊าซธรรชาติ "นอร์ด สตรีม2 " ซึ่งทอดตัวผ่านทะเลบอลติกและใช้สำหรับส่งก็าซธรรมชาติจากรัสเว๊ยไปยัง EU นั้น ได้พิจารณามารตรการคว่ำบาตรของสหรัฐเป็นโอกาสดีในการกดดันให้เยรมนียุติการสนับสนุนโครงการท่อส่งก๊าซดังกล่าว โดยเธอกล่าวย้ำด้วยว่า ความเป็นเอกภาพของยุโรปกำลังสั่นคลอนจากความขัดแย้งในโครงการดังกล่าว..
           .. แม้ ประธานาธิบดี ทรัมป์จะระบุว่า กฎหมายคว่ำบาตรฉบับใหม่เป้นความบกพร่องที่ร้ายแรง แต่เขาก็ยอมลงนามบังคับใช้ "เพื่อเห็นแก่ความเป็นเอกภาพภายในประเทศ"
             ภายใต้กฎหมายคว่ำบาตรดังกล่าว บริษัทต่างๆ ที่ให้การสนับสนุนรัสเซียในการวางท่อส่งก๊าซธรรมชาติจะถูกสหรัฐสั่งปรับเงิน ซึ่งทำให้สหภาพยุโรปไม่พอใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากโครงการนอร์ด สตรีม2 นี้มีบริษัทพลังงานจาก EU 5 แห่งที่ร่วมมือกับบริษัทก๊าซพรอมของรัสเซีย..
         
 .. ก่อนหน้านี้ความสัมพนะ์ระหว่างสหภาพยุโรปกับรัฐบาลของประธานาธิบดี ทรัมป์ตกอยู่ในภาวะหมิ่นเหมอยู่แล้ว หลงจากที่ทรัมป์ได้เรียกร้องให้ประเทศต่างๆ ใน อียู เพ่ิมงบประมาณกลาโหมให้ได้สัดส่วน 2% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดขององค์การสนธิสัญญาป้องกัแอตแลนติกเหนือ(นาโต้) นอกจากนี้ อียู ยังเกดความระแคะระคายกับการตัดสินใจของรัฐบาลสหรัฐในการถอนตังออกจาความตกลงปารีสตามกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั่วโลก
             นักวิเคราะห์มองว่า ในเวลานี้ได้เกิดความคลุ่มเครือขึ้นเกี่ยวกับผลกระทบจากมาตรการคงำบาตรรัสเซียที่มีต่อผลประโยชน์ของ อียู รวมถึงคำถามเกียวกับ "มาตรการที่เหมาะสม" ที่สหภาพยุโรปจะใช้ในการตอบโต้สหรัฐโดยปฏิเสธไม่ได้ว่า กฎหมายดังกล่าวได้สร้างบรรยากาศการเมืองที่อึมครึมขึ้น และได้เพิ่มชนวนความบาดหมางระหว่างสหรัฐกับสหภาพยุโรป...http://www.ryt9.com/s/iq26/2689070
         
         

วันศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

SANCTION

          ยูเครน ในศตวรรษที่ 9 ได้มีการจัดตั้งรัฐของชาวสลาฟ โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่กรุง เคียฟ ที่จริงแล้วชาวยูเครนกับชาวรัสเซียก็เป็นชาวสลาฟด้วยกัน และยูเคนก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ เรื่องมาจนถึงในสมัยสหภาพโซเวียต อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากสหภาพโซเวียต ล่มสลายในปี 1991 ยูเครนได้แยกตัวออกมาเป็นประเทศเอกราช มีประชากร 45 ล้านคน
          20 ปีที่ผ่านมา ยูเครนประสบกับปัญหารต่าง ๆ มากมาย สาถบันทางการเมืองอ่อนแอไม่เป็นประชาธิปไตย การปฏิรูปและพัฒนาเศราฐกิจมีปัญหารรวมทั้งปัญหาคอรับชั่นและการผูกขาอำนาจ นอกจานี้ ยังมีปัญหาใหญ่ในเรืองเชื่อชาติ โดยางตะวันตกของยูเครน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวยูเครนและนิยมตะวันตก ส่วนทางตะวันออกและทางใต้ของประเทศ คนส่วนใหญ่มีเชื้อสายรัสเซีย และอย่างจะกลับไปรวมกับรัสเซีย
         2020 ยานุคโควิช ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี ด้วยการหาเสียงชูนโยบายที่จะกลับไปใกล้ชิดกับรัสเซีย อยางไรก็ตาม รัฐบาล ยานุคโควิค ได้ถูกกล่าวหาจากฝ่ายต่อต้นว่า ผูกขาดอำนาจและมีการคอรัปชั่นกันอย่างกวางขวางแต่ประเด็นที่นำไปสู่การต่อต้านครั้งใหญ่คือเรื่องความสัมพันะ์ระหว่างยูเครนกับ อียู โดยได้มีการเจรจาข้อตกลงทางเศณาฐกิจซึ่งมีลักษณะเป็น เขตการค้าเสรี ระหว่างยูเครนกับ อียู ซึ่งตอนแรกกำหนดจะลงนามในข้อตกลงดังกล่าวในช่วงปลายปี แต่รัสเซ๊ยได้ออกมาคัดค้านและกดดันอยางหนัก ทำให้ ยานุคโควิค ยกเลิกข้อตกลงดังกล่าว
          การตัดสินใจดังกล่าวได้ก่อให้เกิดกระแสต่อต้านรัฐบาลซึ่งฝ่ายต่อต้านก็เป็นชาวยูเครนนิยมตะวันตก รัฐบาล ยานุคโควิค ได้ใช้มาตรการรุนแรงในการปราบปรามฝ่ายต่อต้านซึ่งในที่สุด ยานุค..ได้ถูกบีบให้เดินทางออกนอกประเทศในชวงเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา แต่หลังเกิดสูญญากาศแห่งอำนาจ ชาวยูเครนกลุ่มนิยมตะวันตกกับกลุ่มที่นิยมรัสเซียก็ขัดแย้งกันอย่างหนัก โดยเฉพาะที่คาบสมุทรไครเมืย ที่อยู่ทางตอนใต้ของยูเครนซึ่งคนส่วนใหญ่เป็นชวรัสเซีย เกิดหตุการณ์จลาจล ต่อมาปูตินผู้นำรัสเซีย ตัดสินใจส่งกำลังทหารเข้าไปในไคเมียโดยอ้างว่าเพื่อปกป้องชาวรัสเซียในไครเมีย...http://www.drprapat.com/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%99/
            สาธารรัฐไครเมีย เป็นสาธารณรัฐที่ประกาศตนเป็นส่วนหนึ่่งของประเทศรัสเซีย ถือครองดินแดนส่วนใหญ่ของคาบสมุทรไครเมียในทะเลดำ ทางใต้ของประเทศยูเคน อธิไตยเหนือดินแดนดังกล่าวยังพิพาทกันระหวางประเทศยูเครนกับรัสเซีย
            สาธารณรัฐไครเมียก่อตั้งขึ้นจากผลแห่งการลงประชามติไครเมีย พ.ศ. 2557 โดยรัสเซียรับรองเอกราชของสาธารณรัฐไครเมียในวันเีดยวกับที่ก่อตั้ง ในวันรุ่งขึ้น ประเทศดังกล่าวขอเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซีย และมีการลงนามร่างกฎหมายเพื่อเปิดทางให้ดำเนินการได้ ซึ่งการรวมไครเมียเข้กับรัสเซียดังกล่าวไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติโดยทั่วไป ..มีเพียง 4 ประเทศเท่านนั้นที่รับรองเอกราชของสาธารัฐไครเมีย..
         
  20 ม.ค. 2558 : อียูยัน ไม่ผ่อนปรมคว่ำบาตรรัสเซีย หลังวิกฤตยูเครนเลวร้ายลง
            เหล่ารัฐมนตรีต่างประเทศอีูเห็นพ้องกัน ว่าทางกลุ่มจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่อรัสเซีย ในั้นรวมถึงมาตรการคว่ำบาตร ขณะที่หัวหน้าทูตของสหภาำแก่งนี้เดตอนว่าสถานการณ์ในยูเครนช่วงไม่กีสัปดาห์ที่ผ่านมา "เลวร้ายลงอย่างมาก"
             28 ชาติสมาชิกอียูกำหนดมาตรการคว่ำบาตรอย่างจำกัดต่อรัสเซีย หลังจากมอสโกผนวกไครเมียเข้าเป้นส่วนหนึ่งของอินแดนในเดือนมีนาคม 2014 จากนั้นก็เพิ่มความเข้มข้นในมาตรการค่ำวบาตร ตามหลังโคศกนาฎกรรมเครื่องยินมาเลเซีย แอร์ไลน์ส เที่ยวบิน MH 17  ถุกยิงตกทางภาคตะวันออกของยูเครนในเดือนกรกฎาคม...
            อียู มีความเห็นแตกแยกมานานเกี่ยวกับมาตรการคว่ำบาตร ดดยบางประเทศที่มีความสัมพันะ์ทางการค้าและการเมืองกับรัสเซีย อย่งเยอรมนี และอิตาลี ไม่สู้เต็มใจเพ่ิมคามหนักหน่วงของมาตรการคว่ำบาตร ตามหลังโศกนาฎกรรม MH17 ...https://mgronline.com/around/detail/9580000007150
           12 ก.พ. 2558 : "ปูติน" เผยผุ้นำ 4 ชาติเห็นพ้องในการเจรจาสันติภาพยูเครนให้ "หยุดยิง-ถอนอาวุธหนัก"
           ประธานาธิบดีวลาติมีร์ ปูติน แห่งรัสเซียประกาศ่า ตนและผู้นำฝรั่งเศส,เยอมนีตลอดจนยูเครน ได้เห็นพ้งอต้องกันให้มีกาถอนอาวุธหนักออกจาแนวรบในยูเครน รวมทั้งเห็นตรงกันให้กองกำลังของรัฐบาลเคียฟ กับกลุ่มติดอาวุธนิยมรัสเซีย ทางตะวันออกของยูเครนหยุดยิกันตั้งแต่วันที่ 15 ก.พ. เป็นต้นไป
           "เราสมารถตกลงกันในประเด็นสำคญไ ได้สำเร็จ" ปูตินกล่าวกับผุ้สื่อข่า ณ กรุงมินสก์ ของเบลารุส ภายหลังการเจรจาอันยือเยื้อยาวนานตั้งแต่เย็นวานนี้ ปิดฉากลง
            ผู้นำแดนหมีขาวกล่าวว่า "เราต่างเห็นพ้องให้ทั้งสองฝ่ายหยุดยิง นับแต่เที่ยงคืนของวันที่ 15 ก.พ."
           "สำหรับอีกประเด็นที่ผมเชื่อว่า มีความสำคัญมากก็คือการให้ทหารยูเครน กับกบฎในแคว้นดอนบาสถอนอาวุธหนักอกจากเส้นเขตแดน ที่รัฐบาลยูเครนยินยอมให้กลุ่มแบ่งแยกดินแดนมีสิทธิ์ปกครองตนเอง ตามที่เห็นพ้องกันในการเจรจาที่กรงุมินสก์ เมื่อวันที่ 19 กันยายน"
         
  ปูติน และประธานาธิบดี เปโตร โปโรเชนโก แห่งยูเครนระบุว่า เคียฟ และกลุ่มกบฎโปรรัสเซียได้ลงนามอนุมัติแผนยุทธศาสตร์ฉบับหนึ่ง เพื่อประกาศใช้ข้อตกลง ซึ่งมุ่งยุติวิกฤตสู้รบนาน 10 เดือนในภาคตะวันออก
            โปโรเชนโกกล่าว่า "ทั้งสองฝ่ายได้ลงนามรับรองเอกสารที่เราร่างขึ้น้ดวยความกดดันอย่างสาหัส" ..http://www.manager.co.th/Around/Viewnews.aspx?NewsID=9580000017571
           ปูตินชีแจงว่า พวกเขาเห้นควร "ให้มีการประกาศดำเนินมาตรการต่างๆ เืพ่อบังคัยใช้ข้อตกลงกรุงมินสก์" ซึ่งหมายึงข้อตกลงสันติภาพ ที่รัฐบาลยูเครน กับกบฎใฝ่รัสเว๊ยลงนามร่วมกันที่เมืองหลงวงของเบลารุส เมื่อเดือนกันายปีที่แล้ว ทว่ากลับมีการละเมิดข้อตกลงกันอย่างกว้างขวาง

           18 มิถุนายน 2558 : ชาติสมาชิกอียูเห็นพ้องกันในวันพุธ ( 17 มิ.ย.) ขยายกรอบเวลามาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อรัสเซียจากกรณีเข้าแทรกแซงวิกฤตยูเครนออกไปอีก 6 เดือน และจะไปสิ้นสุดในช่วงสิ้นเดือนมกราคม 2016
           เจ้าหน้าที่เผย่า ข้อตกลงระหวางเหล่าคณะทูตจรก 28 ชาติสมาชิกสหภาพยุโรป ในกรุงบรสเซลส์ เมืองหลวงของเยลเยียม จะถูกทไใ้ดเป็นทางการโดยเหล่ารัฐมนตรีต่างประเทศของกลุ่มซึ่งมีกำหนดนัดหรือกันในสัปดาห์หน้า
          จากนั้นในวันถัดไป เหล่ารัฐมนตรีต่างประเทศของฝรั่งเศส เยอรมนี ยูเครน และรัสเซีย จะนัดหารือกันในปารีส ด้วยความหวังว่าการประชุมเหล่านี้อาจช่วยกอบกู้แนวโน้มทางการทูตสู่การคลี่คลายวิกฤตความรุนแรงทางภาคตะวันออกของยูเครน และจัดการความตึงเครียดระหว่งรัสเซียกับชาติตะวันตก อันเกี่ยวกับความขัดแยเงและมาตรการคว่ำบาตรที่สืบเนื่องจากความขัดแย้งนี้
         
อียู กำหนดมาตรการคว่ำบาตรต่างๆ โดยมีเป้าหมายทีบรรดาธนาคารของรัศเวีย ภาคอุตสาหกรรมพลังงานและกลโหม ตามหลังเที่ยวบิน MH17 ของสายการบินมาเลเซีย แอร์ไลน์ส ถูกยิงตกในพื้นที่ยึดครองของฝ่ายกบฎนิยมมอสโก ทางภาคตะวันออกของยุเครน ในเดือนกรกฎาคม 2014 ขณะที่สหรัฐฯ ก็ออกมาตาการคว่ำบาตรทางเสณาฐกิจต่อรัสเซียเช่นกัน..
        แน่นอนว่าการขยายกรอบเวลามาตรการควำ่บาตรครั้งนี้ จะยังทำให้ความสัมพันะ์ระหว่างรัสเซียกับตะวันตกเย็นยะเยือกต่อไป แม้วิกฤตในยูเครนที่กระพือความแตกร้าวครั้งเลวร้ายท่สุดนับตั้งแต่สงครามเย็นจะผ่านพ้นมา หนึ่งปีกว่าแล้วก็ตาม...http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9580000068771
            21 ธ.ค. 2558 : กระทรวงการต่างประเทศรัสเซีย ออกมาประณามความเคลื่อนไหวของสหภาพยุโรปว่าเลือกที่ขยายมาตรการคว่ำบาตรมอสโกออกไปอีก 6 เดือน แทนที่จะหันมาร่วมมือกันในประเด็นต่างๆ ในนั้นรวมถึงการต้อสู้กับการก่อการร้าย
           "แทนที่จะเสริมสร้าความร่วมมือเชิงสร้างสรรค์เพื่อตอบโต้กับความท้าทายสำคัญๆ ในเวลานี้ อยางเช่นก่อการร้ายนานาชาติ แต่อียูอยากที่จะเดินหน้าคว่ำบาตร เล่มเกมอะไรตื้นๆ " โฆษำกระทรางการต่างประทเศรัสเซ๊ยระบุในถ้อยแถลง
             การขยายมาตการค่วำบาตรต่อรัสเซียของ อียู เกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกันที่นายดมิทรี เมคเวเดฟ นายกรัฐมนตรีแดนหมีขาวเปิดเผย ว่ารัสเซียจะเริ่มบังคัยใช้มาตรการห้ามนำเข้าสินค้าจากยูเครนในเดือนหน้าตอบโต้ข้อตกลงการต้าระหว่างเคียฟ กับอียู ถือเป็นการขยายมาตรการลงโทษที่กำหนดเล่นงานประเทศตะวันตกต่างๆ อยุ่ก่อนแล้ว
            "มาตรการนี้จะขยายไปยังยูเครนด้วย" เมคเวเดฟ เผยระหว่างการประชุมคณะรัฐมนตรี "ผมทเพ่ิงลงนามในกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง"
            ข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างยูเครนกับสหภาพยุโรป มีกำหนดข้าสู่การบังคัยใช้นับตั้งแต่วันที่ 21 มกราคมเป็นต้นไป ส่วนหนึ่งในข้อตกลงอย่างกว้างขวาง ซึ่งเป็นชนวนเหตุของวิกฤตรหว่าง เคียฟ ซ฿่งมีตะวันตกหนุนหลังกับมอสโกในเวลานี้
         
รัสเซียแสดงความกังวลบ่อยครั้งว่าข้อตกลงการต้าเสรีระหว่างยูเคนกับอียู อาจนำพาสินค้าจากยุโรปไหลบ่าเข้าสูตลาดของพวกเขา และหลายเดือนแห่งการเจรจาไตรภาคีกับอียู เพื่อให้การเลปี่ยนผ่านเป็นไปอย่างราบรืนก็ไม่สามารหาทางออกได้
            เมื่อเดือนที่แล้ว ประธานาิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ั่งระงับข้อตกลงการต้าเสรีระหวางรัสเซียกับยูเครนปี 2011 ความเคล่อนไหวกังกล่าวจะสงผลให้ธุรกิจยูเครนทีส่งออกสินค้ามายังรัสเซียต้องเสียค่าธรรมเนียมศุลากรเพ่ิมขึ้นอีก 7 %
            มอสโกกำหนดมาตรการห้ามนำเข้าสินค้าด้านการเกษตรหลากหลายชนิดจากอียูและประเทศอื่นๆ อย่างเช่น สหรัฐฯ ในปี 2014 เพื่อโต้ตอบที่ตะวันตกออกมาตการคว่ำบาตรรัสเว๊ยต่อกรณ๊เข้าแทรกแซงวิกฤตยูเครน..http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9580000139776
           

วันพฤหัสบดีที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

EU Members

           กันยายน 2013: แม้ว่ารัสเซ๊ยได้แสดงถึงการเข้าใจต่อการที่อียูได้เปิดขยายรับสมาชิกเพิ่มในปีนี้ แต่รัฐบาลมอสโคว์มีปฎิกิริยาที่น่ิงมากต่ออกาสของตุรกีในการเข้ามาเป็นสมาชิกองค์กรระดับภูมิภาค
อย่างสหภาพยุโรป ที่จริงแล้วมองโควเองกาจจะมองเห็นดอกาสบางอย่างที่จะได้รับจาการที่รัฐบาล "อังการา" จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การนี้
            แต่ในความเป็นจริง การที่ตุรกีจะเข้าไปเป็นสมาชิกในสหภาพยุโรปนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการที่ไม่สามารถที่จะอนตัวออกจากระบวนการของโลกาภิ
วัตน์ได้ มันไม่มีวิธีการใดๆ เพื่อต่อต้านเรื่องดังกล่าว ที่ยิ่งไปกว่านั้นคือ รัฐบาลมอสโควเองมีบทเรียนเกี่ยวกับความร่มมือในลักษณะนี้ในรอบหลายปีที่ผ่านมา ทั้งในเรื่องประเด็นเศรษฐกิจและการเมอืงในหลายๆ ประเทศที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แม้่าผลที่ออกมาจะเป็นด้านเสียหายเป็นส่วนใหญ่ นักการมเืองรัสเซียจึงหวังว่าจากประสบการณ์ครั้งนั้นั้นจะทำให้พวกเขานั้นหลีกเลี่ยงจากความผิดพลาดได้
            ดังนั้น เยฟเกนี พรีมากอฟ ประธานหอการค้าและอุตสาหกรรมรัสเซีย( ในขณะนั้น) ได้ตั้งข้อสังเกตุเมื่อคราประชุมว่าด้วยการค้าและเจรจาระว่างตุรกีและรัสเซีเมือปลายเดือนตุลาคมปี 2004 ว่า รัฐบาลมอสโควและรัฐบาลอังการต้องใช้ประสบการณ์ที่ได้รับจาากการขยายตัวของสหภาพยุดรปเพื่อทำทุกวิะีทางที่จะนำความสำเร็จมาสู่ทั้งสองฝ่าย รวมทั้งขจัดปัญหารต่าวๆ ที่มีต่อข้อตกลงทวิภาคีระหว่งทั้งสองฝ่ายถ้าหากวันหนึ่งตุรกีได้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป เยฟเกนียังได้เสริมอีกว่า แม้ว่าสิ่งนี้จะเป็นเรื่องของตุรกีและอียู แต่พันธมิตรทั้งหมดของตุรกีก็คงจะยินดีอย่างยิ่งถ้าหากสิ่งนี้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี
          เยฟเกนี่ รู้ดีว่า เมื่อใดที่ตุรกีเข้าร่วมกับสหภาพยุโรปแล้ว จะมีนักธุรกิจรัสเซียจำนวนมากที่จะได้รับผลกระทบและความูญเสียทางเศรษฐกิจ ดังนั้นมัเป็นการง่ายกว่าทีจะทำฑุรกิจกับรายประเทศแทนที่เป็นกลุ่มอย่างสหภาพยุโรป ตัวอย่างเช่น หารวันหนึ่งรัฐบาลอังการาอาจจะร่วมือกบประเทศในกลุ่มอียูเพื่อปั่นราคาพลังงานของรัสเซียให้มีราคาถูกลง.. เพื่อรักษาบรรยากาศที่ดีระหว่าบรัสเซียและตุรกี อย่างน้อย เราก็ควรที่จะหลีกเลี่ยงการแสดงความไม่เห็นด้วยกับความต้องการของตุรกีที่จะเข้า่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ถ้าหากว่าไม่สนับสนนุนมันที่ทุกวิธีทาง...
         https://web.facebook.com/611122668928347/photos/a.611176075589673.1073741827.611122668928347/633803009993646/?_rdc=1&_rdr
 ความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างรัสเซยและตุรกีได้พัฒนาเป็นอย่างมกในรอบหลายปีที่ผ่านมา สิ่งนี้ไม่ได้อยู่กับว่าทั้งสองประทเศจะเป็นสมาชิกขององค์กรในภุมิภาหรือไม่ ตรงกันข้าม อย่างบางเคส นีเ้เป้นโอกาสที่ดีต่อการนำสนธิสัญญาพหุภาคีที่รวมถึงประเทศต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือภูมิภาคยุโรปทางด้านการเมืองนั้น รัสเซียไดม่ควรที่จะตระหนกตกใจกับการที่ตุรกีจะเข้าไปเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แม้ว่าสิ่งนี้อาจจะสร้างผลกระทบบางอย่างต่อความสัมพันะ์ระหว่างรัฐบาลมอสโควและรัฐบาลกรุงอังการา..
          พศจิกายน 2559  ความสัพันธ์อียู-ตุรกี : ความขัดแย้งอย่างต่อเนื่อง
            ความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปหรืออียู กับตุรกีเคยมีความผันผวนที่ซับซ้อนมาอย่างยาวนาน และปัจจุบัน ความสัมพันธ์นี้ยิงทวีความตึงเครียดมากขึ้น เพราะในหลายวันที่ผ่านมา ทั้งอสองฝ่ายมีการโตตอบกันในหลายปัญหา การขาอดความไว้วางใจและความสงสัยต่อกันคือเหตุผลหลักท่ทำให้ทั้งสองฝ่ายยากที่จะแสวงหาเสียงพุดเดียวกันเพื่อร่วมมือ ตลอดจนแก้ไขปัญหาทั้งในระดับภุมิภาคและโลกทีต้องได้รับการลงมือแก้ไขจากทั้งสองฝ่าย เมื่อในวันที่ 26 ที่ผ่านมา คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป ได้อนุมติข้อเสนอเพื่อยุติการสนทนรับตุรกีเข้าเป็นสมาชิกของอียู เนื่องจากตุรกีได้ละเมิดสิทธิมนุษยชน อียูก้ได้พิจารณามาตรการคว่ำบาตรด้านเศรษฐกิจต่อตุรกีเนื่องจากรัฐบาลตุรกีได้จับกุมสมาชิกของพรรคฝ่ายค้านหลังจากเกิดเหตุก่อกบฎเมื่อเือนกรำฎาคมที่ผ่านมา
          ภายหลังท่าที่ดังกล่าวของ อียู ประธานาธิบดีตุรกี ระเซป ตอยยิบ เออร์โดกัน ได้เรียกร้องให้อียูต้องรู้ "ขอบเขตของตน" ทางการตุรกีมีความรับผิดชอบต่อการบริหารประเทศ และ อียูไม่มีสิทธิ์แทรกแซงกิจการภายในของตุรกี ตุรกีอาจจะพิจารณาการขยายเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินนปะระเทศนี้ต่อไป ซึ่งมีผลบังคับใช้หลังการก่กบฎ ตลอดจนการกลับไปใช้โทษประหารชีวิตและการที่ตุรกีสามารถจัดการลงประชามติภายในปี 2017 เกี่ยวกับการจัดการเจรจาเพื่อขอเขาเป็นสมาชิกของอียู ต่อไปหรือไม่ ก่อนหน้านั้น ประธานาธิบดี รีเซป ตอยยิบ เออร์โดกัน ยังไ้ด้เตือนว่าจะเปิดชายแดนให้ผุ้อพยพไปยังยุโรป ถ้าหากอียูยังคงสร้างแรงกดดันต่อประเทศนี้
            เป็นเรื่องไม่ยากกับท่าทีของตุรกีหลังการตัดสินใจระงับข้อตกลงของอียู ตุรกีได้ส่งเอกสารขอเข้าเป็นสมาชิกของอียูเมื่อปี 1987 แต่กระบวนการเจรจาได้เริ่มขึ้นเมือปี 2005 เท่านั้ในตลอด 11 ปีที่ผ่านมา กระบวนการเจรจาเพื่อขอเข้าเป็นสมาชิกของอียูของตุรกีก็ได้ประสบอุปสรรคมากมาย และจนถึงขณะนี้ ทั้งสองฝ่ายสามารถเห็นพ้องกันในไม่กี่เรื่องในหลายปัญหาต้องปฏิบัติเพื่อให้ตุรกีเข้าเป็นสมาชิกของอียู
             เหตุผลทีตุรกีกต้องการอียูเพราะอยากได้ับสิทธิพิเศษด้านเสณาฐกิจ การต้า การเงินและการลงทุนตลอดจนสวัสดิการสังคมจากอียู แต่ในเวลาที่ผ่านมา อียูไม่ได้ให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการรับตุรกีเข้เป็นสมาชิก โดยหนึ่งในเหตุผลหลักคือตุรกีเป็นประเทศมุสลิม เพราะอียูมีความวิตกกังวลว่า การมีประเทศสาชิกมุสลิมจะสร้างความไร้เสถียรภาพให้แก่การเชื่อมโยงด้านสังคมอื่นๆ ในสหภาพยุโรป
ประชาคมชาวมุสลิมเคยถุกถือว่ามีแนวคิดที่แตกต่างกับชุมชนอื่นๆ และแนวคิดของชาวมุสลิมหัวรุนแรงทำให้ผุ้นำอีูต้องระมัดระวัง จนทำให้อียูมีความวิตกกังวลในการรับตุรกีเป็นสมาชิก แต่เมือเกิดกระแสผู้อพยพนับล้านคนจากตะวันออกกลาง และในทางกลับกัน ตุรกีมีความประสค์ที่จะใช้ปัญหาผุ้อพยพผลักดันกระบวนการเข้าเป้นสมาชิกของอียู แต่ก็ไม่เป็นไปตามความประสค์เรพาะอียูได้ตำหนินโยบายภายในระทศของรัฐบาลตุรกีหลังเกิดเหตุก่อกบฎโดยกองทัพและระงับกระบวนการเจรจาเข้าเป้นสมชิกอียู ซึ่งี้ถือเป้นการจุชนวนให้ตุรกีเกิดความไม่พอใจ
             จากสถานการณืดังกล่าว ทำให้ประธานาธิบดีตุรกี รีเซป ตอยบิบ เออร์โดกัน ได้กล่าวถึงเหตุผลว่า ทำไม่ถึงอย่างหันหลังให้แกการเป็นสมาชิกของอียูและหันไปของเข้าเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมือเซียเไฮ้หรือเอสซีโอแทน ซึ่งเป็นองค์การที่มี 6 ประเทศสมาชิก รวมทั้งรัสเซียและจีน ซึ่งเป้ฯสองประเทศคู่แข่งของอียู ในทางเป็นจริง คำประกาศดังกล่าวมิใช่เพียงคำพูดแบบลอยๆ เพราะเมื่อปี 2017 ตุรกีจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสโมสรพลังงานของเอสซีโอ ซึ่งถือเป็นประเทศแรำที่ไม่ใช่เป็นสมาชิกขององค์การนี้ที่เป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมดังกล่าวและเป็นประโานสโมสรนี้  ในขณะที่อียูเพิกเฉพยตุรกี ประเทศจีนก็ได้แสดงความสนใจเป็นอย่างมากโดยเมื่อเร้ซๆฟ นี้ โฆษกกระทรางการต่างประเทศจีนได้ประกาศว่า พร้อมที่จะพิจารณากาขอเข้าเป็นสมาชิกเอสซีโอของตุรกี ตุรกีเป็นหุ้นสวนสนทนาที่ยาวนาน และร่วมมือที่ใกล้ชิดกับองค์การนี และจีนให้ความสำคัญต่อความปรารถนาของตุรกีเกี่ยวกับกาผลักดันความร่วมมือนี้...http://vovworld.vn/th-TH/%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87-491625.vov
         
             

วันพุธที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ISIS, far right, Democracy and Communist

           อาหรับสปริง ในช่วงปี 2011 เป็นช่วงที่ชาวอหารับในหลายประเทศเร่ิมลุกขึ้นต่อต้านรัฐบาล
เผด็จการในประเทศตัวเอง สื่อเรียกการลุกฮือในครั้งนี้ว่า อาหรับสปริง และเกิดขึ้นในหลายประเทศ เร่ิมจากตูนีเซีย หลายประเทศนั้นโค่นล้มรัฐบาล เปลี่ยนการปกครองได้สำเร็จ แต่หลายประเทศ เช่น ซีเรีย ก็ไม่ได้โชคดีเช่นนั้น
            ไอเอส หรือ ไอซิส ถื่อกำเนิดห้วงเวลานี้..
             - https://draft.blogger.com/blogger.g?blogID=57583117367728393#editor/target=post;postID=2789601635248182168;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=1;src=postname..
         
เมื่อท้าวความไปยังกลุ่ม อัลกออิดะห์ กลุ่มติดอาวุธ ที่ก่อการร้ายในอเมริกา กลุ่มนี้ เป็นทหารอาสาสมัครเก่าที่ซาอุดิอาระเบียกับอเมริกาเคยให้การสนับสนุนสมัยที่รัสเซียบุกอัฟกานิสถานในป 1979 และสามารถขับไล่รัเซียออกไปได้ ประกอบกับรัสเซียล่มสลาย (ความบังเอิญ) กลุ่มนี้จึงยังคงรวมตัวกันต่อ ซึ่งทหารกลุ่มนี้ไม่ชอบผู้นำที่ปกครองแบบเผด็จการ และไม่ชอบพวกประเทศตะวันตกที่เข้ามายุ่มย่ามกับประเทศคนอื่น ก็เลยประกาศตัวว่าจะต่อต้านคนพวกนี้ด้วยความรุนแรง จและวางแผนจี้เครื่องบินพุ่งชนตึกเวิล์ดเทรดเซ็นเตอร์ ในปี 2001
           ในสงครามอิรัก กลุ่มอัลกอลิดะห์ อาศัยจังหวะนีแฝงตัวจากอัฟการนิสถานเข้าไปในอิรักแล้วโจมตีทหารของอเมริกากับประชาชนที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามนิกายเดียวกัน
           AQI หรือ อัลกอดอดะห์ในอิรัก นำโดย ชาร์กาวี สาบานตนกับบินลาดิน แต่เป็นกลุ่มหัวรุนแรงมีแนวคิดการกวาดล้างแบบสุดโต่ง แบบที่อัลกออิดะหืเองยังรับไม่ได้ และไม่นาน ซาร์กาวีก็โดนระเบิดของอเมริการเสียชีวิต
           เมื่อสงครามซีเรียเริ่มขึ้น บักดาดี ชาวอิรัก จึงรวมกลุ่ม อัลกอลิอะห์ห์ AQI ของซาร์กาวี ขึ้นอีกครั้ง แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น ISI (Islamic State of Iraq) หรือรัฐอิสลามแห่งอิรัก แล้วสงคนบางส่วนให้แฝงตัวเข้าไปในซีเรียตามคำแนะนำของอัลกออิดะฮ์ หรือกลุ่ม จาบัค อัล-นุสรา ที่เป้นสาขาของอัลกออิดะห์ในซีเรีย
            2013 บักการดีเริ่มกลัวว่า อัล-นุสราไม่ค่อยฟังคำสั่งจึงตั้งกลุ่มให่ หรือ ISIS Islamic State of Iraq and Syria หรือรัฐอิสลามแห่งอิรักและซีเรีย เพื่อส่งคนของตนเข้าไปในซีเรีย และประกาศว่าตัวเองเป็นผู้คุมลักกออิดะห์ทั้งหมด แต่อัลกออิดะห์และ จาบัด อัล นุสราก็ไม่สนใจ จึงกลายเป้นศัตรูกันโดยสมบูรณ์
           กลุ่ม ISIS รุกคืบไปในซีเรียและยึดเมืองหลายเมืองไว้ได้ ปัจจุบันเกือบครึ่งของประเทศซีเรียฝั่งตะวันออกเป็นพื้นที่ของกลุ่ม ISIS กลุ่มนี้เป็นกลุ่มก่อการร้ายที่มีประสิทธิภาพ และโหดร้ายกว่ากลุ่มอื่นๆ

            สงครามกลางเมืองในซีเรีย ลุกลามกลายเป็นสงครามตัวแทน สู่การเมืองระดับโลก อเมริกาและรัศเซียต่างคุเชิงกัน รัสเซีย สนับสนับฝ่ายรัฐบาล อเมริกาสนับสนนุฝ่ายกบฎ ส่วน UN พยายามแก้สถานกาณ์ครั้งแล้วครั้งเล่า ประกาสจะคว่ำบาตร งดให้การสนับสนุน ช่วยร่างมติจัดการปัญหารในซีเรีย ซึ่งจีนกับรัสเซียนไม่เห็นด้วย(สองประเทศนี้เป็นสมาชิกถาวรของ สหประชาชาติ ถ้าโหวตเมื่อไรแล้วสมาชิกถาวรแม้ประเทศเดียวไม่เห็นด้วย มติก็ไม่ผ่าน) โดยผู้แทนรัสเซียให้เหตุผลว่า ร่างนี้จะเปิดช่องให้ประเทศอื่นเข้าไปยุ่มย่ามกับซีเรียมากไป.. ปัญหานี้จึงไม่ได้รับการแก้ไข และ ประธานาธิบดีอาซาดก็ไม่ยอมสละตำ่แหน่ง เหตุการณ์บานปลายกระทั้งปัจจุบัน
            กลุ่มขวาจัด ในยุโรปและอเมริกาซึ่งเป็นกลุ่มการเมืองที่ทำให้ดุลอำนาจโลกเปลี่ยนไป กลุ่มนี้มีนโยบายหลักๆ คือ ต่อต้านอียู และต้องการเส้นแบ่งเขตแดนคือ กีดกันผุ้อพยพ และต่อต้านมุสลิม.
              - .https://draft.blogger.com/blogger.g?blogID=57583117367728393#editor/target=post;postID=7167996038809532425;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=9;src=postname
              - https://draft.blogger.com/blogger.g?blogID=57583117367728393#editor/target=post;postID=2756154036323721332;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=8;src=postname
         
สหรัฐปรัลยุทธศาสตร์รับมือ "จีน-รัสเซีย" มากกว่าภัยก่อการร้าย
           เจมส์ แมตทิส รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐ เปิดเผยยุธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติฉบับใหม่ของสหรัฐ โดยเน้นไปที่การรับมือกับประเทศมหาอำนาจชาติอืน โดยเฉพาะจนและรัสเซียมากกว่าการรับมือภัยก่อการ้ายเหมือนที่ผ่านมาดดยนับเป้นการเปลี่ยนแปลงนโยบายกลารโหมระหว่างประเทศครั้งแรกนับตั้งแต่โศกนาฎกรรม 9/11/2001 สหรัฐปรับยุทธศาสตร์เน้นรับมือสัตรุเ่กช่วงสงครามเย็มมากก่าภัยก่อรการร้าย จีน-รัสเซียโดย
          " เรากำลังเผชิญภัยคุกคามใหม่จากประเทศอย่างจีนและรัสเซีย ที่มุ่งเปลี่วนดุลอำนาจของโลกและพยายามสร้างโลกใหม่ภายใต้ลัทธิเผด็จการ" แมตทิส กล่าว แต่ไม่ได้ระบุมาตการรับมือที่ชัดเจน  พร้อมเรียกร้องให้สภาคองเกรสพิจารณาเพ่ิมวบประมาณกลาโหมเพื่อให้สหรัฐยังสามารถข่งขันทางด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับต่างประเทศได้"
            ทัี้งนี้ ยุทธศาสรต์ดังกล่าวได้ระบถึงจีนและรัีสเซียว่า จีนเป็นประเทศคู่แข่งสหรัฐที่ใช่นนโยบายเศณาฐกิจในการกพดันประเทศเืพ่อบ้าน และยังใช้กำลังทหารแผ่อินธิพลในทะเลจีนใต้ ในขณะที่รัสเซียให้ทหารของตนรุกล้ำเข้าไปยังอาณาเขตประเทศอื่น และใช้สิทธิวีโต้ในเวทีระหว่างประเทศในการชี้นำนธยบายภายในของประเทศเพื่อนบ้าน
           เซอร์เกย์ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย ตอบโตสหรัฐว่า รู้สึกเสียใจที่สหรัฐใช้มาตรการเชิงรุกเพื่อขึ้นเป็นผู้นำโลก มากว่าจะใช้กาเจรจาอย่างสันติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ โดยรัสเซียพร้อมเจรจากับสหรัฐ ขณะที่ เหรินกัวเจียง โฆษกกระทรวงกลาโหมจีน เรียกร้องให้สหรัฐยกเลิกแนวคิดเผชิญหน้าเหมือกับช่วงสงครามเย็น และระบุว่ามาตรการมั่นคงระหว่างประเทศของจีนสมเหตุสมผลแล้ว...
              - https://www.posttoday.com/world/536678
             ซึ่งจากนโยบายของประธานาธิบดี โรนัลด์ ทรัมป์ และกลุ่มขวาจัดที่ต้องการจะปิดประเทศ และเรียกร้องเส้นแบ่งเขตแดน จึงเป็นการโดดเดี่ยวสหรัฐฯ ซึ่งต้องลดบทบาทของตนในเวทีโลกลงไปโดยปริยาย..
            - https://draft.blogger.com/blogger.g?blogID=57583117367728393#editor/target=post;postID=6573009862647344021;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=6;src=postname
         

วันอังคารที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Syria's_refugees : ISIS

            จากสงครามกลางเมือง กลายเป็นสงครามตัวแทนสงผลให้เกิดการอพยพเป็นกว่าครึ่งทศวรรษของชาวซีเรียสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก สงครามตัวแทนที่มีทั้ง กลุ่มรัฐบาลและพันธมิตร กลุ่มกบฎ รัสเซีีย  อเมริกา กลุ่มรัฐบาลอ่าว และเหนือสิ่งอื่นใด ก่อกำเนิดกลุ่มก่อการร้ายใหม่ นาม ไอซิส ขึ้นมา  Islamic State of Iraq And Syria : ISIS
             ท่ามกลางความวุ่นวายของสงครามกล่างเมืองในซีเรีย ไอซิสได้เข้ามามีบทบาทในเวทีกระเมืองระดับโลกเมื่อปี 2557 เมื่อพวกเขายึดครองพื้นที่ส่วนหนึ่งในซีเรียและอิรักได้ และประกาศจัดตั้งรัฐเคาะลีฟะฮ์ ซึ่งเป็นรัฐรูปแบบหนึ่งของอิสลาม ภายใต้กฎหมายชะรีอะห์
               ไอซิกำเนิดขึ้นในปี 2557 โดยแยกตัวมาจากกกลุ่มอัลอกอิดะฮ์ในอิรัก ภายหลังจากจัดตั้ง กลุ่มอัล-นุสรา และ อัลกออิดะฮ์ต่างออกมาแสดงความไม่เห็นด้วยกับไปซิส จุดมุ่งหมายหลักของไอซิสคือ ต้องการใช้ชาวมุลิมทั่วโลกสาบานความจงรักภักดี ต่อ อะบู บักร์ อัล-บั"ดาดี ผุ้นำกฃุ่มไอซิส และย้ายถ่ินฐานมาอยู่ในดินแดนภายใต้การควบคุมของกลุ่ม นอกจานี้ ไอซิสยังต้องการให้กฃลุ่มญิฮาดอื่นๆ ทั่วโลกยอมรับในฐานะผู้มีอำนาจเหนือกว่า
             https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
ในเดื่อกันยายน ปี 2557 มีการประเมินว่าไอซิสยึดครองพื้นที่ส่วนใหย่ของลุ่มแม่น้ำไทกริสยูฟรติส ซึ่งมีขนาดเที่ยบได้กับสหราชอาณาจัก หรือประมาร 2.1 แสนตารางกิโลเมตร หลังจากที่สหรัฐและพันธมิตรเริ่มโจมตีทั้งทางอากาสและพื้นดินในปี 2558 พื้นที่ใีครอบครองของไอซิสทั้งในอิรักและซีเรียก็ลดลงประมาณ 1.5-2 หมื่นตารางกิดลเมตร อย่างไรก็ตาม ไอซิสกับสามารถยึดครองพื้ที่ยุทธศาสรตร์ เชนเมืองพัลไม่ราในซีเรียได้..
             ณ วันนี้ เชื่อว่าควไม่มีใครไม่รู้จัก กลุ่มรับอิสลามในอิรักและซีเรีย "ไอเอส" หรือ "ไอซิล"
             แรกเริ่มเดิมที่ กลุ่มไอเอสมาจากกลุ่มติดอาวุธที่ช่วยเหลือรัฐบาลอิรัก สู้รบกับกองกำลงสหรัฐฯ ในช่วงสงครามอิรักปี 2546 ก่อนที่ต่อมาจะจัดตั้งเป็นกลุ่ม "รับอิสลามแห่งอิรัก" จากนั้นได้ขยายอิทธิพล
ไปยังหลายเมืองของประเทศซีเรียในช่วงที่ซีเรียกำลังเกิดสงครามกลางเมือง และจึงเกิดการบัญญัติชื่อกลุ่ม "รัฐอิสลสมแห่งอิรักและซีเรีย" หรือไอซิส กลุ่มติดอาวุธมิสลิมนการซุหนี่ กระทั่งล่าสุดได้เปลี่ยนช่อมาเป็นเพีีงกลุ่มรัฐอิสลามหรือไอเอส ณ วันนี้กลุ่มไอเอสไดกลายเป็น "กลุ่มหัวรุนแรงที่อันตรายที่สุดในโลก
            อาบู บาการ์ อัล-แบกดาดี หัวหน้ากลุ่มชาวอาหรับเชื้อสายจอร์แดน ซึ่งประกาศตนเป็นกาหลิบ (ผู้ปกครองชาวมุสลิมทั่วทุกหนแห่ง) ในเมืองโมซุลของอิรักเมื่อเดือนกรกฎาคม ปี 2557 เชื่อกันว่า บักดาดี เกิดที่เมืองซามาร์รา ของอิรัก
เมื่อปี 2541 (อายุ 44 ปี) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก รวดเดียวที่ศูนย์ศึกษาอิสลาม (กวี
และประวัติศาสตร์อิสลาม) ที่มหาวิทยาลับแบกแดด เปคขประกอบอาชีพนักวิชาการควบคู่ไปกับการเป็นครูสอนศาสนที่เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมและกฎหมายอิสลาม ไ้เข้า่วมกับกลุ่มกบฎ เพื่อต่อต้านกองทัพสหรัฐหลังจากทหารอเมริกันบุกอิรักเพื่อโค่นล้มอำนาจนายกรัฐมนตรี "ซัดดัม ฮุสเซน" ภายหลังถูกควบคุมตัวในเรื่องจำของกองทัพสหรัฐ เขาได้ก้าวขึ้นเป็นผุ้นำหฃลุ่มติดอาวุธกลุ่มหนึ่ง ก่อนทจะร่วมมือกับกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะห์ โดยใช้ชื่ดกลุ่มว่ารัฐอิสลามแห่งอิรัก เมื่อปี 2553 ในเวลานั้น
         อาบู บาการ์ อัล-แบกดาดี เคยได้รับยกย่องว่าเป็นผู้นำญิฮาดที่ดดเด่นที่สุดในศตวรรษ?ี่ 21 เทียงเท่านายโอซามา บิน ลาดิน ผู้นำกลุ่มติดอาวุธอัลไกดา จนมีชื่อเลื่องลือในเรื่องความโหดเหี่้ยมว่าใครก็ตามที่ต้องสงสัยว่าช่วยเหลือทหารอเมริกันก็จะถุูกประหารขีวิตกลางที่สาธารณะเมื่อก้าวขึ้นมาเป็นผุ้นำ ไอเอส อาบู บักห์ดาดี" ได้พลิกกลยุทธ์ใหม่ให้กับกลุ่มหลายประการhttps://news.mthai.com/world-news/417957.html
           การโจมตีในยุโรปและอเมริการเหนือ
           การโจมตีเกิดขึ้น 63 ครั้งในช่วงตั้งแต่เดือน กันยายน 2014 (หลังคำประกาศแนวทางการต่อสู้ของ "กาหลิบ" โดยไอเอส) มาถึงจนปลายเดือน ส.ค. 2017 ประเทศที่ถูกโจมตีคือ ยุโรป เก้าประเทศ สหรัฐอเมริกา และ อคนนาดา
           โดยเป้าหมายคือเมืองใหญ่ที่มีคนจำนวนมา ไม่ว่าจะเป็นนครบาร์เซโลนาของสเปน กรุงลอนดอนและเมืองแมนเชสเตอร์ของอังกฤษ กรุงปารีสและเมืองนีซของฝรั่งเศส กรุงเบอร์ลินของเยอมนี กรุงบรัสเซลล์ของเบลเยียม กรุงสตอกโอมล์มของสวีเดน และเมืองออร์แลนโดของสหรัฐฯ
           การโจมตีเกินขึ้น 63 ครั้ง ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 424 คนเสียชีวิตและทำให้คนมากกว่า 1,800 คนได้รับบาดเจ็บ โดยไม่นับรวมผุ้ทีก่อการที่มักเสียชีวิตในขณะที่โจมตีด้วย การโจมตีในกรุงปารีสเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2015 เป็นครั้งร้ายแรงที่สุด มีผุ้เสียชีวิตถึง 130 คน รองลงมาก็คือการโจมตีด้วยรถบรรทุกที่เมืองนีซทางตอนใตของฝรั่งเศสที่คร่ชีิวิตผุ้คนไปถึง 86 คน
           สิ่งที่ก่อนใหเ้กิดการถกเถียงกันมากในยุดรปและสหรัฐฯ ก็คือการรับผุ้อพยพจากประเทศมุสลิมเข้ามาจะทำให้พวกที่ปฏิบัติการเพ่ิมขึ้นหรือไม่ จนทำให้มีคนลุกมาเรียกร้อยว่าให้กำัดการเข้าเมืองของคนเหล่านี้ แต่จากการรวบนั้นพบว่าถึง 2 ใน 3 ของผุ้ปฏิบัติการเป็นพลเมืองของประเทศที่ตนเองโจมตี และทีเ่หลือเป็นผู้อยู่อาศัยโดยถูกกฎหมายหรือเข้ามาเยี่ยมเยือนโดยถูกกฎหมาย มีน้อยมาที่เป็นผู้อพยพ..http://www.bbc.com/thai/international-41095035#orb-banner

วันจันทร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Syria's_refugees III

            19 กุมภาพันธ์ 2561 : ทรัมป์ต่อเวลาคุ้มครองผุ้อพยพชาง.รเนยในสหรัฐ
             รัฐบาลสหรัฐขยายระยะเวลาสถานะผู้อพยพพิเศษให้กับพลเมืองซีเรียราว 7,000 คน อาศัยต่อในประเทศได้จนถึงสิ้นเดือน ก.ย. เป็นอยางน้อย
             สำนักข่าวต่าประเทศรายานจากรุงวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เมืองนที่ 1 ก.พ. ว่านางเคิร?์สต์ เจน นีเซน รมว. กระทรวงความั่นคงแห่งมาตุภูมิของสหรัฐ (ดีเอชเอส) กล่าวเมือวันพุทธว่า ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ลงนามในกฎหมายสภานะคุ้มครองชัวครตาว (ทพีพเอส) สำหรับผู้อพยพชาวซีเรียราว 7,000 คน ให้อาศัยอยู่ในประเทศต่อได้ "อีกย่งน้อย 18 เดือน" หรือจนถึงวันที่ 30 ก.ย. 2562 เนื่องจากสถานการณ์สงครามกลางเมืองในซเรีย "ยังไม่มีแนวโน้มคลีคลาย" แต่การขยายระยะยเวลบังคับใช้คตำสั่งดังกล่าว ที่จะหมดอายุในเดือน มี.ค. นี จะไม่มีผลครอบคลุมผู้ลี้ภัยชาวซีเรียซึ่งเดินทงเข้ามาในสหรัฐหฃังเดือน ส.ค. 2559
            อนึ่ง ทีพีเอสเป็นสถานะผุ้ลี้ภัย "กรณีพิเศษ" ที่รัฐบาลชิงตันจัดตั้งขึ้นเือปี 2533 เพื่อเป็นมอบความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมให้แก่ประชาชนจากประเทศที่เผชิญกับสสภานกาณณ์สงครา ม และความไม่สงบทางการเมือง หรือภัยธรรมชาติ ในการใช้ชีวิตและทำงานอยู่ในสหรัฐไ้อย่างถูกต้อง ตามกฎมหาย "ในช่วงเวลาที่จำกัด" โดยปัจจุบันสถานะที่พีเอสครอบคลุมพลเมืองจาก 10 ประเท ได้แก่ เฮติเอล ซัลวาดอร์ ซีเรีย เนปาล ฮอนดูรัส เยเมน โซมาเลีย ซูดาน ซูดานใต้ และนิการากัว
            https://www.dailynews.co.th/foreign/624788
อย่างไรก็ตาม ทรัมป์มีคำสั่งเมือช่วงต้นเดือนนียกเลิกสถานะที่พีเอสสำหรับชาวเอลซัลวาดอร์ราว 262,500 คน แต่ผ่านผันระยะเวลานการเดินทางออกนอกประเทสภายใน 18 เดือน ขณะที่ย้อนกลับไปเมื่อเดือน พ.ย. ปีที่แล้ว ผู้นำสหรัญประกาศยุติสถานะที่พีเอสของผุ้อพยพชาวเฮติและชาวนิการากัว ในช่วงิส้นปี 2562 ด้วย
             สงครามตัวแทนในซีเรีย
              กลุ่มกบฎและพันธมิตร
              กลุ่มกบฎในซีเรียไม่ไมเพียงกลุ่มเดียว แต่เป็นการรวตัวกันอย่างหลวมๆ ของชาวมุสลิมนิกายซุนนีหลายกลุ่มย่อน ที่ต่อต้านประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาล (แต่อาจมีแนวคิดด้านอื่นต่างกัน) โดยมีการคาดการณ์ว่า กลุ่มกบฎอาจมีจำนวนสูงถึง 1,000 กลุ่มย่อย ประกอบด้วยนักรบประมษณ 1 แสนคน และด้วยเหตุนี้เอง เมื่อสงครามดำเนินไป สมาชิกส่วนหนึ่งจึงหันไปเข้าร่วมกันจกลุ่มมุสลิมที่มีแนวคิดสุดโต่ง เช่น อัล นุสรา และไอซิส นำไปสู่การสู้รบกันเองในหมู่ผู้ต่อต้านประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาลซีเรีย
           หนึ่งในกลุ่มย่อยที่สำคัญที่สุดของฝ่ายกบฎคือ อัล-นุสรา ซึ่งเป็นกฃลุ่มติดอาวุธของชาวมุสลิม ซุนนี ที่มีสามาชิกส่วนใหย่เป็นญิฮาดชาวซีเรีย อัล-นุสราเคยเป็นเครื่อข่ายของกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ในซีเรีย แต่แยกตัวออกมาในปี 2559 และเปลี่ยนชื่อกลุ่มให่เป็น Jabhat Fateh al-Sham หรือแนวหน้าเืพ่อการพิชิตซีเรีย ดยมีจุดมุ่งหมายคือการโค่นล้มรัฐบาลของประธานาธิบีอัสซด และจัดตั้งรัฐอิสลามภายใต้กฎหมายชะรีอะห์ ต่างชาติที่ให้การสนับสนุนกลุ่มกบฎในญีเรีย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ประเทศในกลุ่มรัีฐอ่าวอาหรับ จอร์แดน และตุรกี ข้อสังเกตที่สำคัญคือ แม้ว่าในภาพรวม ประเทศเหล่านี้จะสนับสนุนกลุ่มกบฎหมือนกัน แต่ก็ยังมีความขชัดแย้งกันเองภายในกลุ่ม เนื่องจากเป้าหมายของแต่ละปรเทศ และกลุ่มที่แต่ละฝ่ายต่อต้าน ไม่เป้ฯไปในทิศทางเดียวกันทั้งหมด
             สหรัฐอเมริกา
             ตั้งแต่ช่วงต้นของสงคราม สหรัฐอเมริการส่งความช่วยเหลือที่ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรง เช่น อาหารและรถบรรทุก ให้แก่กลุ่มกบฎ ภายหลังจากที่สงครามยกระดับความรุนแรง ในปี 2556 สหรัฐอเมรกาก็เร่ิมให้ความช่วยเหลือเป็นตัวเงิน อาวุธ รวมทั้งการสงเจ้าหน้าที่เข้าร่วมต่อสู้อย่างไรก็ตาม การที่สหรัฐอเมริกาไม่ใช่กำลังทหารโจมตีซีเรีย หลังจากที่รัฐบาลของประธานาธิบดีอัสซาดใช้อาวุธเคมีเข้าประาบปรามกลุ่มกบฎ ทำให้หลายฝ่ายวิพากษ์วิจารณ์ว่าการต่อต้านการใช้ความรุนแรงและการไมไสนับสนุนประธานาธิบดีอัสซาดของสหรัฐอเมริกาเป็นเพียงการสร้างภาพเท่านั้น
             เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มกบฎที่มีแนวคิดสุดโต่งมีจำนวนมากขึ้น ในปี 2557 สหรัฐอเมรกาเปลี่ยนจุดมุ่งหมาย จากการให้ความช่วยเลหือกลุ่มกบฎมาเป็นการทำสงครารมต่อต้านไอซิสและกลุ่มก่อการร้ายอื่นๆ ในภูมิภาค ซึ่งรวมไปถึงอัล-นุสราด้วย สหรัฐอเมริกาได้จัดโคึรงการฝึกนแฃละติดอาวุธให้แก่กองกำลังกลุ่มกบฎ แต่ดครงการดังกลาวไม่ประสบความสำเร็จ คาดการณืว่ามีผุ้เข้าร่วมโครงกาเรพีงประมาณ 200 คน เนื่องจากข้อตกลงที่ไม่ใ้กสูรบกับกองกำลังของปรธานาธิบดีอัสซาด แต่จะสู้รบได้กับผุ้ก่อการร้ายเท่านั้น
             รัฐอ่าวอาหรับ นำโดยชาอุดิอาระเบีย
             รัฐอ่าวอาหรับ ซึ่งปกครองโดยชาวมุลิมนิกายซุนนี ให้ความช่ยเหลือกลุ่มกบฎโดยการส่งเวงินและอาวุธผ่านทางตุรกีและจอร์แดน จุดมุ่งหมายของรัฐอาวอาหรับคือกาต่อต้านอิทธิพลในภูมิภาคของอิหร่าน ซึ่งปกครองโดยชาวมุสลิมนิกายชีอะห์
              รัฐอ่าวอาหรับได้เข้าร่วมกับสหรัฐในการทำสงครามต่อต้านไอซิส เนื่องจาไอซิสเร่มได้รับความนิยมมากขึ้นในหมู่ชนกุ่มน้อยชาวซาอุดิอาระเบีย อย่างรก็ตาม รัฐอ่าวอหารับยังคงให้การสนับสนุนกลุ่ม อัล-นุสรา ซึ่งสหรัฐถือว่าเป็นกลุ่มก่อการร้าย แสดงให้เห็นว่ารัฐอ่าวอาหรับให้ความสำคัญกับการโค่นล้มประธานสธิบดีอสซาด มากว่าการทำวสงครามต่อต้านการก่อการร้าย
             
ตุรกี
               รัฐบาลตุรกีไม่สนับสนุนประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาซีเรียตั้งแต่การประท้วงต่อต้านเร่ิมขึ้นในปี 2554 ส่วนหนึ่งเป็นเพราะตุรกีมีดินแพดนแทรก อยู่ในเมืองอเลปโปของซีเรีย นธยบายสนับสนนุกลุ่มกบฎของตุรกีมีตั้งแต่การจัดส่งอาุธ การฝึกฝนและติดอาวุธให้กองกำลังฝ่าายกบฎ การอนุญาตคให้ใช้ดินแดนตุรกีเป็นช่องทางลำเลี่ยงอาวุธ เป็นที่ประชุมของแกนนำกลุ่มกบฎ เป็นที่พำนักของผุ้ลี้ภัยขวาซเรีย ตลอดจนเป็นทางผ่านให้แก่นักรบของกองกำลังฝ่ายกบฎ อย่งไรก็ตาม นโยบายดังกล่าวกลับทำให้ญิฮาดจากประเทศต่าง ๆใช้ตุรกีเป็นเส้นทางในการเข้าร่วมกับกลุ่มไอซิส
             นอกจากนี้ ตุรกีและสกรัฐยังขัดแย้งกันในประเด็นเกี่ยวกับชาวเคิร์ดในซีเรีย กล่วคือ ตุรกีเห็นว่าชาวเคิร์ดในซีเรียเป้นภัยคุกคามต่อประเทศของตน จึงโจมตีกองกำลังชาวเคิร์ที่ยึคดครองพื้นที่ทางตอนเหนือของซีเรีย ซึ่งสหรัฐให้การสนับสนุนในนามกองกำลังประชาธิปไตยซีเรีย ทั้งนี้ ความขัดแยเ้งอันรุนแรงระหว่างตุรกีและชาวเคิร์ดซึ่งเป็นชานกลุ่มน้อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในตุรกี เร่ิมมาตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐตุรกีในปี 2466https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...