SANCTION

          ยูเครน ในศตวรรษที่ 9 ได้มีการจัดตั้งรัฐของชาวสลาฟ โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่กรุง เคียฟ ที่จริงแล้วชาวยูเครนกับชาวรัสเซียก็เป็นชาวสลาฟด้วยกัน และยูเคนก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ เรื่องมาจนถึงในสมัยสหภาพโซเวียต อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากสหภาพโซเวียต ล่มสลายในปี 1991 ยูเครนได้แยกตัวออกมาเป็นประเทศเอกราช มีประชากร 45 ล้านคน
          20 ปีที่ผ่านมา ยูเครนประสบกับปัญหารต่าง ๆ มากมาย สาถบันทางการเมืองอ่อนแอไม่เป็นประชาธิปไตย การปฏิรูปและพัฒนาเศราฐกิจมีปัญหารรวมทั้งปัญหาคอรับชั่นและการผูกขาอำนาจ นอกจานี้ ยังมีปัญหาใหญ่ในเรืองเชื่อชาติ โดยางตะวันตกของยูเครน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวยูเครนและนิยมตะวันตก ส่วนทางตะวันออกและทางใต้ของประเทศ คนส่วนใหญ่มีเชื้อสายรัสเซีย และอย่างจะกลับไปรวมกับรัสเซีย
         2020 ยานุคโควิช ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี ด้วยการหาเสียงชูนโยบายที่จะกลับไปใกล้ชิดกับรัสเซีย อยางไรก็ตาม รัฐบาล ยานุคโควิค ได้ถูกกล่าวหาจากฝ่ายต่อต้นว่า ผูกขาดอำนาจและมีการคอรัปชั่นกันอย่างกวางขวางแต่ประเด็นที่นำไปสู่การต่อต้านครั้งใหญ่คือเรื่องความสัมพันะ์ระหว่างยูเครนกับ อียู โดยได้มีการเจรจาข้อตกลงทางเศณาฐกิจซึ่งมีลักษณะเป็น เขตการค้าเสรี ระหว่างยูเครนกับ อียู ซึ่งตอนแรกกำหนดจะลงนามในข้อตกลงดังกล่าวในช่วงปลายปี แต่รัสเซ๊ยได้ออกมาคัดค้านและกดดันอยางหนัก ทำให้ ยานุคโควิค ยกเลิกข้อตกลงดังกล่าว
          การตัดสินใจดังกล่าวได้ก่อให้เกิดกระแสต่อต้านรัฐบาลซึ่งฝ่ายต่อต้านก็เป็นชาวยูเครนนิยมตะวันตก รัฐบาล ยานุคโควิค ได้ใช้มาตรการรุนแรงในการปราบปรามฝ่ายต่อต้านซึ่งในที่สุด ยานุค..ได้ถูกบีบให้เดินทางออกนอกประเทศในชวงเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา แต่หลังเกิดสูญญากาศแห่งอำนาจ ชาวยูเครนกลุ่มนิยมตะวันตกกับกลุ่มที่นิยมรัสเซียก็ขัดแย้งกันอย่างหนัก โดยเฉพาะที่คาบสมุทรไครเมืย ที่อยู่ทางตอนใต้ของยูเครนซึ่งคนส่วนใหญ่เป็นชวรัสเซีย เกิดหตุการณ์จลาจล ต่อมาปูตินผู้นำรัสเซีย ตัดสินใจส่งกำลังทหารเข้าไปในไคเมียโดยอ้างว่าเพื่อปกป้องชาวรัสเซียในไครเมีย...http://www.drprapat.com/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%99/
            สาธารรัฐไครเมีย เป็นสาธารณรัฐที่ประกาศตนเป็นส่วนหนึ่่งของประเทศรัสเซีย ถือครองดินแดนส่วนใหญ่ของคาบสมุทรไครเมียในทะเลดำ ทางใต้ของประเทศยูเคน อธิไตยเหนือดินแดนดังกล่าวยังพิพาทกันระหวางประเทศยูเครนกับรัสเซีย
            สาธารณรัฐไครเมียก่อตั้งขึ้นจากผลแห่งการลงประชามติไครเมีย พ.ศ. 2557 โดยรัสเซียรับรองเอกราชของสาธารณรัฐไครเมียในวันเีดยวกับที่ก่อตั้ง ในวันรุ่งขึ้น ประเทศดังกล่าวขอเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซีย และมีการลงนามร่างกฎหมายเพื่อเปิดทางให้ดำเนินการได้ ซึ่งการรวมไครเมียเข้กับรัสเซียดังกล่าวไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติโดยทั่วไป ..มีเพียง 4 ประเทศเท่านนั้นที่รับรองเอกราชของสาธารัฐไครเมีย..
         
  20 ม.ค. 2558 : อียูยัน ไม่ผ่อนปรมคว่ำบาตรรัสเซีย หลังวิกฤตยูเครนเลวร้ายลง
            เหล่ารัฐมนตรีต่างประเทศอีูเห็นพ้องกัน ว่าทางกลุ่มจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่อรัสเซีย ในั้นรวมถึงมาตรการคว่ำบาตร ขณะที่หัวหน้าทูตของสหภาำแก่งนี้เดตอนว่าสถานการณ์ในยูเครนช่วงไม่กีสัปดาห์ที่ผ่านมา "เลวร้ายลงอย่างมาก"
             28 ชาติสมาชิกอียูกำหนดมาตรการคว่ำบาตรอย่างจำกัดต่อรัสเซีย หลังจากมอสโกผนวกไครเมียเข้าเป้นส่วนหนึ่งของอินแดนในเดือนมีนาคม 2014 จากนั้นก็เพิ่มความเข้มข้นในมาตรการค่ำวบาตร ตามหลังโคศกนาฎกรรมเครื่องยินมาเลเซีย แอร์ไลน์ส เที่ยวบิน MH 17  ถุกยิงตกทางภาคตะวันออกของยูเครนในเดือนกรกฎาคม...
            อียู มีความเห็นแตกแยกมานานเกี่ยวกับมาตรการคว่ำบาตร ดดยบางประเทศที่มีความสัมพันะ์ทางการค้าและการเมืองกับรัสเซีย อย่งเยอรมนี และอิตาลี ไม่สู้เต็มใจเพ่ิมคามหนักหน่วงของมาตรการคว่ำบาตร ตามหลังโศกนาฎกรรม MH17 ...https://mgronline.com/around/detail/9580000007150
           12 ก.พ. 2558 : "ปูติน" เผยผุ้นำ 4 ชาติเห็นพ้องในการเจรจาสันติภาพยูเครนให้ "หยุดยิง-ถอนอาวุธหนัก"
           ประธานาธิบดีวลาติมีร์ ปูติน แห่งรัสเซียประกาศ่า ตนและผู้นำฝรั่งเศส,เยอมนีตลอดจนยูเครน ได้เห็นพ้งอต้องกันให้มีกาถอนอาวุธหนักออกจาแนวรบในยูเครน รวมทั้งเห็นตรงกันให้กองกำลังของรัฐบาลเคียฟ กับกลุ่มติดอาวุธนิยมรัสเซีย ทางตะวันออกของยูเครนหยุดยิกันตั้งแต่วันที่ 15 ก.พ. เป็นต้นไป
           "เราสมารถตกลงกันในประเด็นสำคญไ ได้สำเร็จ" ปูตินกล่าวกับผุ้สื่อข่า ณ กรุงมินสก์ ของเบลารุส ภายหลังการเจรจาอันยือเยื้อยาวนานตั้งแต่เย็นวานนี้ ปิดฉากลง
            ผู้นำแดนหมีขาวกล่าวว่า "เราต่างเห็นพ้องให้ทั้งสองฝ่ายหยุดยิง นับแต่เที่ยงคืนของวันที่ 15 ก.พ."
           "สำหรับอีกประเด็นที่ผมเชื่อว่า มีความสำคัญมากก็คือการให้ทหารยูเครน กับกบฎในแคว้นดอนบาสถอนอาวุธหนักอกจากเส้นเขตแดน ที่รัฐบาลยูเครนยินยอมให้กลุ่มแบ่งแยกดินแดนมีสิทธิ์ปกครองตนเอง ตามที่เห็นพ้องกันในการเจรจาที่กรงุมินสก์ เมื่อวันที่ 19 กันยายน"
         
  ปูติน และประธานาธิบดี เปโตร โปโรเชนโก แห่งยูเครนระบุว่า เคียฟ และกลุ่มกบฎโปรรัสเซียได้ลงนามอนุมัติแผนยุทธศาสตร์ฉบับหนึ่ง เพื่อประกาศใช้ข้อตกลง ซึ่งมุ่งยุติวิกฤตสู้รบนาน 10 เดือนในภาคตะวันออก
            โปโรเชนโกกล่าว่า "ทั้งสองฝ่ายได้ลงนามรับรองเอกสารที่เราร่างขึ้น้ดวยความกดดันอย่างสาหัส" ..http://www.manager.co.th/Around/Viewnews.aspx?NewsID=9580000017571
           ปูตินชีแจงว่า พวกเขาเห้นควร "ให้มีการประกาศดำเนินมาตรการต่างๆ เืพ่อบังคัยใช้ข้อตกลงกรุงมินสก์" ซึ่งหมายึงข้อตกลงสันติภาพ ที่รัฐบาลยูเครน กับกบฎใฝ่รัสเว๊ยลงนามร่วมกันที่เมืองหลงวงของเบลารุส เมื่อเดือนกันายปีที่แล้ว ทว่ากลับมีการละเมิดข้อตกลงกันอย่างกว้างขวาง

           18 มิถุนายน 2558 : ชาติสมาชิกอียูเห็นพ้องกันในวันพุธ ( 17 มิ.ย.) ขยายกรอบเวลามาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อรัสเซียจากกรณีเข้าแทรกแซงวิกฤตยูเครนออกไปอีก 6 เดือน และจะไปสิ้นสุดในช่วงสิ้นเดือนมกราคม 2016
           เจ้าหน้าที่เผย่า ข้อตกลงระหวางเหล่าคณะทูตจรก 28 ชาติสมาชิกสหภาพยุโรป ในกรุงบรสเซลส์ เมืองหลวงของเยลเยียม จะถูกทไใ้ดเป็นทางการโดยเหล่ารัฐมนตรีต่างประเทศของกลุ่มซึ่งมีกำหนดนัดหรือกันในสัปดาห์หน้า
          จากนั้นในวันถัดไป เหล่ารัฐมนตรีต่างประเทศของฝรั่งเศส เยอรมนี ยูเครน และรัสเซีย จะนัดหารือกันในปารีส ด้วยความหวังว่าการประชุมเหล่านี้อาจช่วยกอบกู้แนวโน้มทางการทูตสู่การคลี่คลายวิกฤตความรุนแรงทางภาคตะวันออกของยูเครน และจัดการความตึงเครียดระหว่งรัสเซียกับชาติตะวันตก อันเกี่ยวกับความขัดแยเงและมาตรการคว่ำบาตรที่สืบเนื่องจากความขัดแย้งนี้
         
อียู กำหนดมาตรการคว่ำบาตรต่างๆ โดยมีเป้าหมายทีบรรดาธนาคารของรัศเวีย ภาคอุตสาหกรรมพลังงานและกลโหม ตามหลังเที่ยวบิน MH17 ของสายการบินมาเลเซีย แอร์ไลน์ส ถูกยิงตกในพื้นที่ยึดครองของฝ่ายกบฎนิยมมอสโก ทางภาคตะวันออกของยุเครน ในเดือนกรกฎาคม 2014 ขณะที่สหรัฐฯ ก็ออกมาตาการคว่ำบาตรทางเสณาฐกิจต่อรัสเซียเช่นกัน..
        แน่นอนว่าการขยายกรอบเวลามาตรการควำ่บาตรครั้งนี้ จะยังทำให้ความสัมพันะ์ระหว่างรัสเซียกับตะวันตกเย็นยะเยือกต่อไป แม้วิกฤตในยูเครนที่กระพือความแตกร้าวครั้งเลวร้ายท่สุดนับตั้งแต่สงครามเย็นจะผ่านพ้นมา หนึ่งปีกว่าแล้วก็ตาม...http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9580000068771
            21 ธ.ค. 2558 : กระทรวงการต่างประเทศรัสเซีย ออกมาประณามความเคลื่อนไหวของสหภาพยุโรปว่าเลือกที่ขยายมาตรการคว่ำบาตรมอสโกออกไปอีก 6 เดือน แทนที่จะหันมาร่วมมือกันในประเด็นต่างๆ ในนั้นรวมถึงการต้อสู้กับการก่อการร้าย
           "แทนที่จะเสริมสร้าความร่วมมือเชิงสร้างสรรค์เพื่อตอบโต้กับความท้าทายสำคัญๆ ในเวลานี้ อยางเช่นก่อการร้ายนานาชาติ แต่อียูอยากที่จะเดินหน้าคว่ำบาตร เล่มเกมอะไรตื้นๆ " โฆษำกระทรางการต่างประทเศรัสเซ๊ยระบุในถ้อยแถลง
             การขยายมาตการค่วำบาตรต่อรัสเซียของ อียู เกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกันที่นายดมิทรี เมคเวเดฟ นายกรัฐมนตรีแดนหมีขาวเปิดเผย ว่ารัสเซียจะเริ่มบังคัยใช้มาตรการห้ามนำเข้าสินค้าจากยูเครนในเดือนหน้าตอบโต้ข้อตกลงการต้าระหว่างเคียฟ กับอียู ถือเป็นการขยายมาตรการลงโทษที่กำหนดเล่นงานประเทศตะวันตกต่างๆ อยุ่ก่อนแล้ว
            "มาตรการนี้จะขยายไปยังยูเครนด้วย" เมคเวเดฟ เผยระหว่างการประชุมคณะรัฐมนตรี "ผมทเพ่ิงลงนามในกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง"
            ข้อตกลงการค้าเสรีระหว่างยูเครนกับสหภาพยุโรป มีกำหนดข้าสู่การบังคัยใช้นับตั้งแต่วันที่ 21 มกราคมเป็นต้นไป ส่วนหนึ่งในข้อตกลงอย่างกว้างขวาง ซึ่งเป็นชนวนเหตุของวิกฤตรหว่าง เคียฟ ซ฿่งมีตะวันตกหนุนหลังกับมอสโกในเวลานี้
         
รัสเซียแสดงความกังวลบ่อยครั้งว่าข้อตกลงการต้าเสรีระหว่างยูเคนกับอียู อาจนำพาสินค้าจากยุโรปไหลบ่าเข้าสูตลาดของพวกเขา และหลายเดือนแห่งการเจรจาไตรภาคีกับอียู เพื่อให้การเลปี่ยนผ่านเป็นไปอย่างราบรืนก็ไม่สามารหาทางออกได้
            เมื่อเดือนที่แล้ว ประธานาิบดีวลาดิมีร์ ปูติน ั่งระงับข้อตกลงการต้าเสรีระหวางรัสเซียกับยูเครนปี 2011 ความเคล่อนไหวกังกล่าวจะสงผลให้ธุรกิจยูเครนทีส่งออกสินค้ามายังรัสเซียต้องเสียค่าธรรมเนียมศุลากรเพ่ิมขึ้นอีก 7 %
            มอสโกกำหนดมาตรการห้ามนำเข้าสินค้าด้านการเกษตรหลากหลายชนิดจากอียูและประเทศอื่นๆ อย่างเช่น สหรัฐฯ ในปี 2014 เพื่อโต้ตอบที่ตะวันตกออกมาตการคว่ำบาตรรัสเว๊ยต่อกรณ๊เข้าแทรกแซงวิกฤตยูเครน..http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9580000139776
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)