19 กุมภาพันธ์ 2561 : ทรัมป์ต่อเวลาคุ้มครองผุ้อพยพชาง.รเนยในสหรัฐ
รัฐบาลสหรัฐขยายระยะเวลาสถานะผู้อพยพพิเศษให้กับพลเมืองซีเรียราว 7,000 คน อาศัยต่อในประเทศได้จนถึงสิ้นเดือน ก.ย. เป็นอยางน้อย
สำนักข่าวต่าประเทศรายานจากรุงวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เมืองนที่ 1 ก.พ. ว่านางเคิร?์สต์ เจน นีเซน รมว. กระทรวงความั่นคงแห่งมาตุภูมิของสหรัฐ (ดีเอชเอส) กล่าวเมือวันพุทธว่า ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ลงนามในกฎหมายสภานะคุ้มครองชัวครตาว (ทพีพเอส) สำหรับผู้อพยพชาวซีเรียราว 7,000 คน ให้อาศัยอยู่ในประเทศต่อได้ "อีกย่งน้อย 18 เดือน" หรือจนถึงวันที่ 30 ก.ย. 2562 เนื่องจากสถานการณ์สงครามกลางเมืองในซเรีย "ยังไม่มีแนวโน้มคลีคลาย" แต่การขยายระยะยเวลบังคับใช้คตำสั่งดังกล่าว ที่จะหมดอายุในเดือน มี.ค. นี จะไม่มีผลครอบคลุมผู้ลี้ภัยชาวซีเรียซึ่งเดินทงเข้ามาในสหรัฐหฃังเดือน ส.ค. 2559
อนึ่ง ทีพีเอสเป็นสถานะผุ้ลี้ภัย "กรณีพิเศษ" ที่รัฐบาลชิงตันจัดตั้งขึ้นเือปี 2533 เพื่อเป็นมอบความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมให้แก่ประชาชนจากประเทศที่เผชิญกับสสภานกาณณ์สงครา ม และความไม่สงบทางการเมือง หรือภัยธรรมชาติ ในการใช้ชีวิตและทำงานอยู่ในสหรัฐไ้อย่างถูกต้อง ตามกฎมหาย "ในช่วงเวลาที่จำกัด" โดยปัจจุบันสถานะที่พีเอสครอบคลุมพลเมืองจาก 10 ประเท ได้แก่ เฮติเอล ซัลวาดอร์ ซีเรีย เนปาล ฮอนดูรัส เยเมน โซมาเลีย ซูดาน ซูดานใต้ และนิการากัว
https://www.dailynews.co.th/foreign/624788
อย่างไรก็ตาม ทรัมป์มีคำสั่งเมือช่วงต้นเดือนนียกเลิกสถานะที่พีเอสสำหรับชาวเอลซัลวาดอร์ราว 262,500 คน แต่ผ่านผันระยะเวลานการเดินทางออกนอกประเทสภายใน 18 เดือน ขณะที่ย้อนกลับไปเมื่อเดือน พ.ย. ปีที่แล้ว ผู้นำสหรัญประกาศยุติสถานะที่พีเอสของผุ้อพยพชาวเฮติและชาวนิการากัว ในช่วงิส้นปี 2562 ด้วย
สงครามตัวแทนในซีเรีย
กลุ่มกบฎและพันธมิตร
กลุ่มกบฎในซีเรียไม่ไมเพียงกลุ่มเดียว แต่เป็นการรวตัวกันอย่างหลวมๆ ของชาวมุสลิมนิกายซุนนีหลายกลุ่มย่อน ที่ต่อต้านประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาล (แต่อาจมีแนวคิดด้านอื่นต่างกัน) โดยมีการคาดการณ์ว่า กลุ่มกบฎอาจมีจำนวนสูงถึง 1,000 กลุ่มย่อย ประกอบด้วยนักรบประมษณ 1 แสนคน และด้วยเหตุนี้เอง เมื่อสงครามดำเนินไป สมาชิกส่วนหนึ่งจึงหันไปเข้าร่วมกันจกลุ่มมุสลิมที่มีแนวคิดสุดโต่ง เช่น อัล นุสรา และไอซิส นำไปสู่การสู้รบกันเองในหมู่ผู้ต่อต้านประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาลซีเรีย
หนึ่งในกลุ่มย่อยที่สำคัญที่สุดของฝ่ายกบฎคือ อัล-นุสรา ซึ่งเป็นกฃลุ่มติดอาวุธของชาวมุสลิม ซุนนี ที่มีสามาชิกส่วนใหย่เป็นญิฮาดชาวซีเรีย อัล-นุสราเคยเป็นเครื่อข่ายของกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ในซีเรีย แต่แยกตัวออกมาในปี 2559 และเปลี่ยนชื่อกลุ่มให่เป็น Jabhat Fateh al-Sham หรือแนวหน้าเืพ่อการพิชิตซีเรีย ดยมีจุดมุ่งหมายคือการโค่นล้มรัฐบาลของประธานาธิบีอัสซด และจัดตั้งรัฐอิสลามภายใต้กฎหมายชะรีอะห์ ต่างชาติที่ให้การสนับสนุนกลุ่มกบฎในญีเรีย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ประเทศในกลุ่มรัีฐอ่าวอาหรับ จอร์แดน และตุรกี ข้อสังเกตที่สำคัญคือ แม้ว่าในภาพรวม ประเทศเหล่านี้จะสนับสนุนกลุ่มกบฎหมือนกัน แต่ก็ยังมีความขชัดแย้งกันเองภายในกลุ่ม เนื่องจากเป้าหมายของแต่ละปรเทศ และกลุ่มที่แต่ละฝ่ายต่อต้าน ไม่เป้ฯไปในทิศทางเดียวกันทั้งหมด
สหรัฐอเมริกา
ตั้งแต่ช่วงต้นของสงคราม สหรัฐอเมริการส่งความช่วยเหลือที่ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรง เช่น อาหารและรถบรรทุก ให้แก่กลุ่มกบฎ ภายหลังจากที่สงครามยกระดับความรุนแรง ในปี 2556 สหรัฐอเมรกาก็เร่ิมให้ความช่วยเหลือเป็นตัวเงิน อาวุธ รวมทั้งการสงเจ้าหน้าที่เข้าร่วมต่อสู้อย่างไรก็ตาม การที่สหรัฐอเมริกาไม่ใช่กำลังทหารโจมตีซีเรีย หลังจากที่รัฐบาลของประธานาธิบดีอัสซาดใช้อาวุธเคมีเข้าประาบปรามกลุ่มกบฎ ทำให้หลายฝ่ายวิพากษ์วิจารณ์ว่าการต่อต้านการใช้ความรุนแรงและการไมไสนับสนุนประธานาธิบดีอัสซาดของสหรัฐอเมริกาเป็นเพียงการสร้างภาพเท่านั้น
เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มกบฎที่มีแนวคิดสุดโต่งมีจำนวนมากขึ้น ในปี 2557 สหรัฐอเมรกาเปลี่ยนจุดมุ่งหมาย จากการให้ความช่วยเลหือกลุ่มกบฎมาเป็นการทำสงครารมต่อต้านไอซิสและกลุ่มก่อการร้ายอื่นๆ ในภูมิภาค ซึ่งรวมไปถึงอัล-นุสราด้วย สหรัฐอเมริกาได้จัดโคึรงการฝึกนแฃละติดอาวุธให้แก่กองกำลังกลุ่มกบฎ แต่ดครงการดังกลาวไม่ประสบความสำเร็จ คาดการณืว่ามีผุ้เข้าร่วมโครงกาเรพีงประมาณ 200 คน เนื่องจากข้อตกลงที่ไม่ใ้กสูรบกับกองกำลังของปรธานาธิบดีอัสซาด แต่จะสู้รบได้กับผุ้ก่อการร้ายเท่านั้น
รัฐอ่าวอาหรับ นำโดยชาอุดิอาระเบีย
รัฐอ่าวอาหรับ ซึ่งปกครองโดยชาวมุลิมนิกายซุนนี ให้ความช่ยเหลือกลุ่มกบฎโดยการส่งเวงินและอาวุธผ่านทางตุรกีและจอร์แดน จุดมุ่งหมายของรัฐอาวอาหรับคือกาต่อต้านอิทธิพลในภูมิภาคของอิหร่าน ซึ่งปกครองโดยชาวมุสลิมนิกายชีอะห์
รัฐอ่าวอาหรับได้เข้าร่วมกับสหรัฐในการทำสงครามต่อต้านไอซิส เนื่องจาไอซิสเร่มได้รับความนิยมมากขึ้นในหมู่ชนกุ่มน้อยชาวซาอุดิอาระเบีย อย่างรก็ตาม รัฐอ่าวอหารับยังคงให้การสนับสนุนกลุ่ม อัล-นุสรา ซึ่งสหรัฐถือว่าเป็นกลุ่มก่อการร้าย แสดงให้เห็นว่ารัฐอ่าวอาหรับให้ความสำคัญกับการโค่นล้มประธานสธิบดีอสซาด มากว่าการทำวสงครามต่อต้านการก่อการร้าย
ตุรกี
รัฐบาลตุรกีไม่สนับสนุนประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาซีเรียตั้งแต่การประท้วงต่อต้านเร่ิมขึ้นในปี 2554 ส่วนหนึ่งเป็นเพราะตุรกีมีดินแพดนแทรก อยู่ในเมืองอเลปโปของซีเรีย นธยบายสนับสนนุกลุ่มกบฎของตุรกีมีตั้งแต่การจัดส่งอาุธ การฝึกฝนและติดอาวุธให้กองกำลังฝ่าายกบฎ การอนุญาตคให้ใช้ดินแดนตุรกีเป็นช่องทางลำเลี่ยงอาวุธ เป็นที่ประชุมของแกนนำกลุ่มกบฎ เป็นที่พำนักของผุ้ลี้ภัยขวาซเรีย ตลอดจนเป็นทางผ่านให้แก่นักรบของกองกำลังฝ่ายกบฎ อย่งไรก็ตาม นโยบายดังกล่าวกลับทำให้ญิฮาดจากประเทศต่าง ๆใช้ตุรกีเป็นเส้นทางในการเข้าร่วมกับกลุ่มไอซิส
นอกจากนี้ ตุรกีและสกรัฐยังขัดแย้งกันในประเด็นเกี่ยวกับชาวเคิร์ดในซีเรีย กล่วคือ ตุรกีเห็นว่าชาวเคิร์ดในซีเรียเป้นภัยคุกคามต่อประเทศของตน จึงโจมตีกองกำลังชาวเคิร์ที่ยึคดครองพื้นที่ทางตอนเหนือของซีเรีย ซึ่งสหรัฐให้การสนับสนุนในนามกองกำลังประชาธิปไตยซีเรีย ทั้งนี้ ความขัดแยเ้งอันรุนแรงระหว่างตุรกีและชาวเคิร์ดซึ่งเป็นชานกลุ่มน้อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในตุรกี เร่ิมมาตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐตุรกีในปี 2466https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น