EU Members

           กันยายน 2013: แม้ว่ารัสเซ๊ยได้แสดงถึงการเข้าใจต่อการที่อียูได้เปิดขยายรับสมาชิกเพิ่มในปีนี้ แต่รัฐบาลมอสโคว์มีปฎิกิริยาที่น่ิงมากต่ออกาสของตุรกีในการเข้ามาเป็นสมาชิกองค์กรระดับภูมิภาค
อย่างสหภาพยุโรป ที่จริงแล้วมองโควเองกาจจะมองเห็นดอกาสบางอย่างที่จะได้รับจาการที่รัฐบาล "อังการา" จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การนี้
            แต่ในความเป็นจริง การที่ตุรกีจะเข้าไปเป็นสมาชิกในสหภาพยุโรปนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการที่ไม่สามารถที่จะอนตัวออกจากระบวนการของโลกาภิ
วัตน์ได้ มันไม่มีวิธีการใดๆ เพื่อต่อต้านเรื่องดังกล่าว ที่ยิ่งไปกว่านั้นคือ รัฐบาลมอสโควเองมีบทเรียนเกี่ยวกับความร่มมือในลักษณะนี้ในรอบหลายปีที่ผ่านมา ทั้งในเรื่องประเด็นเศรษฐกิจและการเมอืงในหลายๆ ประเทศที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แม้่าผลที่ออกมาจะเป็นด้านเสียหายเป็นส่วนใหญ่ นักการมเืองรัสเซียจึงหวังว่าจากประสบการณ์ครั้งนั้นั้นจะทำให้พวกเขานั้นหลีกเลี่ยงจากความผิดพลาดได้
            ดังนั้น เยฟเกนี พรีมากอฟ ประธานหอการค้าและอุตสาหกรรมรัสเซีย( ในขณะนั้น) ได้ตั้งข้อสังเกตุเมื่อคราประชุมว่าด้วยการค้าและเจรจาระว่างตุรกีและรัสเซีเมือปลายเดือนตุลาคมปี 2004 ว่า รัฐบาลมอสโควและรัฐบาลอังการต้องใช้ประสบการณ์ที่ได้รับจาากการขยายตัวของสหภาพยุดรปเพื่อทำทุกวิะีทางที่จะนำความสำเร็จมาสู่ทั้งสองฝ่าย รวมทั้งขจัดปัญหารต่าวๆ ที่มีต่อข้อตกลงทวิภาคีระหว่งทั้งสองฝ่ายถ้าหากวันหนึ่งตุรกีได้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป เยฟเกนียังได้เสริมอีกว่า แม้ว่าสิ่งนี้จะเป็นเรื่องของตุรกีและอียู แต่พันธมิตรทั้งหมดของตุรกีก็คงจะยินดีอย่างยิ่งถ้าหากสิ่งนี้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี
          เยฟเกนี่ รู้ดีว่า เมื่อใดที่ตุรกีเข้าร่วมกับสหภาพยุโรปแล้ว จะมีนักธุรกิจรัสเซียจำนวนมากที่จะได้รับผลกระทบและความูญเสียทางเศรษฐกิจ ดังนั้นมัเป็นการง่ายกว่าทีจะทำฑุรกิจกับรายประเทศแทนที่เป็นกลุ่มอย่างสหภาพยุโรป ตัวอย่างเช่น หารวันหนึ่งรัฐบาลอังการาอาจจะร่วมือกบประเทศในกลุ่มอียูเพื่อปั่นราคาพลังงานของรัสเซียให้มีราคาถูกลง.. เพื่อรักษาบรรยากาศที่ดีระหว่าบรัสเซียและตุรกี อย่างน้อย เราก็ควรที่จะหลีกเลี่ยงการแสดงความไม่เห็นด้วยกับความต้องการของตุรกีที่จะเข้า่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ถ้าหากว่าไม่สนับสนนุนมันที่ทุกวิธีทาง...
         https://web.facebook.com/611122668928347/photos/a.611176075589673.1073741827.611122668928347/633803009993646/?_rdc=1&_rdr
 ความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างรัสเซยและตุรกีได้พัฒนาเป็นอย่างมกในรอบหลายปีที่ผ่านมา สิ่งนี้ไม่ได้อยู่กับว่าทั้งสองประทเศจะเป็นสมาชิกขององค์กรในภุมิภาหรือไม่ ตรงกันข้าม อย่างบางเคส นีเ้เป้นโอกาสที่ดีต่อการนำสนธิสัญญาพหุภาคีที่รวมถึงประเทศต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือภูมิภาคยุโรปทางด้านการเมืองนั้น รัสเซียไดม่ควรที่จะตระหนกตกใจกับการที่ตุรกีจะเข้าไปเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แม้ว่าสิ่งนี้อาจจะสร้างผลกระทบบางอย่างต่อความสัมพันะ์ระหว่างรัฐบาลมอสโควและรัฐบาลกรุงอังการา..
          พศจิกายน 2559  ความสัพันธ์อียู-ตุรกี : ความขัดแย้งอย่างต่อเนื่อง
            ความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปหรืออียู กับตุรกีเคยมีความผันผวนที่ซับซ้อนมาอย่างยาวนาน และปัจจุบัน ความสัมพันธ์นี้ยิงทวีความตึงเครียดมากขึ้น เพราะในหลายวันที่ผ่านมา ทั้งอสองฝ่ายมีการโตตอบกันในหลายปัญหา การขาอดความไว้วางใจและความสงสัยต่อกันคือเหตุผลหลักท่ทำให้ทั้งสองฝ่ายยากที่จะแสวงหาเสียงพุดเดียวกันเพื่อร่วมมือ ตลอดจนแก้ไขปัญหาทั้งในระดับภุมิภาคและโลกทีต้องได้รับการลงมือแก้ไขจากทั้งสองฝ่าย เมื่อในวันที่ 26 ที่ผ่านมา คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป ได้อนุมติข้อเสนอเพื่อยุติการสนทนรับตุรกีเข้าเป็นสมาชิกของอียู เนื่องจากตุรกีได้ละเมิดสิทธิมนุษยชน อียูก้ได้พิจารณามาตรการคว่ำบาตรด้านเศรษฐกิจต่อตุรกีเนื่องจากรัฐบาลตุรกีได้จับกุมสมาชิกของพรรคฝ่ายค้านหลังจากเกิดเหตุก่อกบฎเมื่อเือนกรำฎาคมที่ผ่านมา
          ภายหลังท่าที่ดังกล่าวของ อียู ประธานาธิบดีตุรกี ระเซป ตอยยิบ เออร์โดกัน ได้เรียกร้องให้อียูต้องรู้ "ขอบเขตของตน" ทางการตุรกีมีความรับผิดชอบต่อการบริหารประเทศ และ อียูไม่มีสิทธิ์แทรกแซงกิจการภายในของตุรกี ตุรกีอาจจะพิจารณาการขยายเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินนปะระเทศนี้ต่อไป ซึ่งมีผลบังคับใช้หลังการก่กบฎ ตลอดจนการกลับไปใช้โทษประหารชีวิตและการที่ตุรกีสามารถจัดการลงประชามติภายในปี 2017 เกี่ยวกับการจัดการเจรจาเพื่อขอเขาเป็นสมาชิกของอียู ต่อไปหรือไม่ ก่อนหน้านั้น ประธานาธิบดี รีเซป ตอยยิบ เออร์โดกัน ยังไ้ด้เตือนว่าจะเปิดชายแดนให้ผุ้อพยพไปยังยุโรป ถ้าหากอียูยังคงสร้างแรงกดดันต่อประเทศนี้
            เป็นเรื่องไม่ยากกับท่าทีของตุรกีหลังการตัดสินใจระงับข้อตกลงของอียู ตุรกีได้ส่งเอกสารขอเข้าเป็นสมาชิกของอียูเมื่อปี 1987 แต่กระบวนการเจรจาได้เริ่มขึ้นเมือปี 2005 เท่านั้ในตลอด 11 ปีที่ผ่านมา กระบวนการเจรจาเพื่อขอเข้าเป็นสมาชิกของอียูของตุรกีก็ได้ประสบอุปสรรคมากมาย และจนถึงขณะนี้ ทั้งสองฝ่ายสามารถเห็นพ้องกันในไม่กี่เรื่องในหลายปัญหาต้องปฏิบัติเพื่อให้ตุรกีเข้าเป็นสมาชิกของอียู
             เหตุผลทีตุรกีกต้องการอียูเพราะอยากได้ับสิทธิพิเศษด้านเสณาฐกิจ การต้า การเงินและการลงทุนตลอดจนสวัสดิการสังคมจากอียู แต่ในเวลาที่ผ่านมา อียูไม่ได้ให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการรับตุรกีเข้เป็นสมาชิก โดยหนึ่งในเหตุผลหลักคือตุรกีเป็นประเทศมุสลิม เพราะอียูมีความวิตกกังวลว่า การมีประเทศสาชิกมุสลิมจะสร้างความไร้เสถียรภาพให้แก่การเชื่อมโยงด้านสังคมอื่นๆ ในสหภาพยุโรป
ประชาคมชาวมุสลิมเคยถุกถือว่ามีแนวคิดที่แตกต่างกับชุมชนอื่นๆ และแนวคิดของชาวมุสลิมหัวรุนแรงทำให้ผุ้นำอีูต้องระมัดระวัง จนทำให้อียูมีความวิตกกังวลในการรับตุรกีเป็นสมาชิก แต่เมือเกิดกระแสผู้อพยพนับล้านคนจากตะวันออกกลาง และในทางกลับกัน ตุรกีมีความประสค์ที่จะใช้ปัญหาผุ้อพยพผลักดันกระบวนการเข้าเป้นสมาชิกของอียู แต่ก็ไม่เป็นไปตามความประสค์เรพาะอียูได้ตำหนินโยบายภายในระทศของรัฐบาลตุรกีหลังเกิดเหตุก่อกบฎโดยกองทัพและระงับกระบวนการเจรจาเข้าเป้นสมชิกอียู ซึ่งี้ถือเป้นการจุชนวนให้ตุรกีเกิดความไม่พอใจ
             จากสถานการณืดังกล่าว ทำให้ประธานาธิบดีตุรกี รีเซป ตอยบิบ เออร์โดกัน ได้กล่าวถึงเหตุผลว่า ทำไม่ถึงอย่างหันหลังให้แกการเป็นสมาชิกของอียูและหันไปของเข้าเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมือเซียเไฮ้หรือเอสซีโอแทน ซึ่งเป็นองค์การที่มี 6 ประเทศสมาชิก รวมทั้งรัสเซียและจีน ซึ่งเป้ฯสองประเทศคู่แข่งของอียู ในทางเป็นจริง คำประกาศดังกล่าวมิใช่เพียงคำพูดแบบลอยๆ เพราะเมื่อปี 2017 ตุรกีจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสโมสรพลังงานของเอสซีโอ ซึ่งถือเป็นประเทศแรำที่ไม่ใช่เป็นสมาชิกขององค์การนี้ที่เป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมดังกล่าวและเป็นประโานสโมสรนี้  ในขณะที่อียูเพิกเฉพยตุรกี ประเทศจีนก็ได้แสดงความสนใจเป็นอย่างมากโดยเมื่อเร้ซๆฟ นี้ โฆษกกระทรางการต่างประเทศจีนได้ประกาศว่า พร้อมที่จะพิจารณากาขอเข้าเป็นสมาชิกเอสซีโอของตุรกี ตุรกีเป็นหุ้นสวนสนทนาที่ยาวนาน และร่วมมือที่ใกล้ชิดกับองค์การนี และจีนให้ความสำคัญต่อความปรารถนาของตุรกีเกี่ยวกับกาผลักดันความร่วมมือนี้...http://vovworld.vn/th-TH/%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87-491625.vov
         
             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)