วันศุกร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Middle East and Imperialism

            หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อาณาจักรออตโตมันล่มสลายจาการแพ้สงคราม ดินแดนต่าง๐ ถูกแบ่งออกโดยชาติมหาอำนาจ และปกครงในฐานะดิแดนภายใต้อาณัติ ซึ่งออตโตมันกินพื้นที่ทั้งทวีปแอฟริการและตะวันออกกลาง ในปี  1955 มีประชากกรกว่า 300 ล้านคน และที่นาสนใจคือความขัดแย้งระหว่างตะวันออกกลางและยุโรป มีมานากว่าศตวรรษ นับแต่สงครามครูเสด จนถึงการก่อตัวของอิสลาม ยุโรปได้เข้าไปข้องเกี่ยวอย่าต่อเนหื่อง โดยส่วนใหญ่ความสนใจของยุโรปต่อภฺูมิภาคนี้เป็นเรื่องยุทธศาสตร์ แต่หลังจารกการค้นพบน้ำมันดินแดนนี้ ตะวันออกกลางจึงกลายเป็นดินแดนที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอยางมาก 

            กลังการพ่ายแพ้สงครามขงออตโตมัน ใจกลางของดินแดนกลายมาเป็นตุรกี ดินแดนอาหรับทีเคยถูกปกครองแบ่งออกเป็น 6 รัฐภายใต้การตกเป็นอาณานิคม 



            

                   เลบานอนและซีเรียตกอยู่ภายใต้การครอบครองของสหรัชอาณาจักรใน๘ระที่รัฐอาหรับสุองรัฐคือ ซาอุดิอาระเบีย เยเมนเหนือ และอกีสองประเทศที่มิใช่อาหรับคือ ตุรกีและอิหร่านได้รับเอกราช..(รูปภาพแลข้อมูลจาก : https://www.matichonweekly.com/column/article_1964)

             สงครามโลกครั้งที่ 1 คือเหตุการที่มีความสำคัญมากต่อดินแดนตะวันออกกลางเนื่องจากผลกระทบของสงครามนำไปสู่การก่อตั้งระบบรัฐสมัยใหม่ modren stase system ในภูมิภาคและเป็นรากฐราานของระบบการเมืองและความสัมพันธ์ระหวางประเทศในโลกอาหรับ หนึ่งในความสำคัญในการจัดตั้งรัฐสมัยใหม่ในตะวันออกกลาง คือ การจัดตั้งดินแดนำต้อาณัติ mandate state ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้เข้าใจระบบการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมในรัฐตะวันออกกลางยุคต่อมา

              การปกครองของฝรั่งเศสในซีเรียและเลบานอน ผรังเศสพบกัยคามเป็นศัตรูอยางรุนแรงจากชาวซีเรียมุสลิม ฝรั่งเศสตระหนักดีว่าไม่สามารถจะได้รับควาามเป็นมิตรจากประชาชน ฝรั่งเศสจึงหันความสนใจไปสู่เลบานอน พยายามสร้ัางครามเป็นมิตรกับประชาชนเลบานอน เพื่อความมั่นคงของฝรั่งเศสในตะวันออกกลางฝรั่งเศสประการแผนการณ์ขยายเลบานอนให้กว้างใหญ่กว่าขึ้น คือแปน เกรทเตอร์ เลยานอน เป็นการรวมดินแดนส่วนหนึ่งองซีเรียภาคมต้เจ้าำว้ในเลยบานอน อย่างไรก็ตาม แม้แผนการณ์ดังกลาวจะทำให้ชาวเลบานอนบางกลุ่มพอใจฝรั่งเศสมากกว่าเดิม แต่แผนดังกลาวก็ทำให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างกลุ่มทางศาสนาในเลบานอนเอง และระหว่างคริสเตียนเลบานอนกับซีเรียมุสลิมมากย่ิง้ั้น การแบ่งแยกที่เกิดขึ้นเป้นสาเหตุทำให้เกิดสงครามกลางเมืองเลบานอนใน ปี 1958 กระทั่งปัจจุบันการแบ่งแยกดังกล่าวยังคงเป็นสาเหตุแห่งความปวดร้าวของประชาชน แม้แผนจะประสบผลสำเร็จ แต่ไม่เป็นที่น่าพอใจ เพราะการรวมดินแดนที่ใหญ่กว่าเข้ามาั้นประชาชซึ่งเป็นชาวมุสลิมจำนวนมาก ทำให้ชวเลบานอนแท้ๆ ซึ่งเป็นรัฐคริสเตียนตกอยุ่ในฐานะที่ไม่ปลอดภัยนัก

            ซีเรีย ก็ถูกแบ่งเป็นส่วนๆด้วยเช่นกัน  ซึ่งจากการปกครองและควาามพยายามในการแบ่งตลอดจน


การควบคุมท้องถ่ิน ฝรั่งเศสต้องสิ้นปลืองค่าใช่้จ่ายเป้นจำนวนมาก ภายในเวลา 1 ปี ฝรั่งเศสจึงรวมดินแดนทั้งสามแห่งเหล่านี้เป็นสหพันธรัฐอยางไรก็ตามฝรั่งเศสก็พบกับการข่มขู่ที่รุนแรงจากประชาชนเกือบตลอเวลาในปี 1920 ดามัสกัสถูกบุกรุก และถูกวางระเบิด ใน ปี 1925,1926,และ 1945 จนกระทั่งฝรั่งเศสออกกฎอัยการศึกเกือบตลอดเวลา ตั้งแต่เร่ิมต้นการปคกรองจนกระทั่งใกล้ๆ จะสิ้นสุดระบบอาณัติ นดยบายเกี่ยวกับการแบ่งระหว่างกลุ่มศาสนาและระหว่างท้องถ่ินไม่มีการกำหนดอยาแนนอนและจริงจังความำม่พอใจในกลุ่มศาสนาแต่ละกลุ่มจึงเกิดขึ้น

            การปกครองของอังกฤษในอิรัก  ข้าราชการชาวอังกฤษ เซอร์ อาร์โนลด์ วิลสัน เป็นบุคคลมีความ
สามารถ มีการศึกษาดิี ได้เขียนบันทึกความทรงจำสองฉบับ เกี่ยวดกับปีแห่งความยากลำบากในอิรัก วิลสันมีอำนาจเหนือดินแดนบริเวณอ่าวเปอร์เซีย เขามีจุดมุ่งหมายแบ่งประเทศออกไปตามกลุ่มชนต่างๆ คือ กลุ่มแรกได้แก่ พวกเบดูอินและเคิร์ดส พวกแรกนี้เป็นพวกเร่ร่อนที่ค่อนข้ามมีศีลธรรมสูง กลุ่มที่สอง ได้แก่ พวกชาวนาซึ่งน่าสงสาร และสิ้นกวังเนื่องจากไม่ได้รับความช่วยเหลือ กลุ่มที่สามได้แก่ ชาวเมืองซึ่งเป็นนักษรศาสตร์ ชอบความหรุหราฟุ่มเฟือย เป็นพวกหลอกลวงและเป็นอันตราย วิลสันเห็นว่าถ้าปล่อยพวกชาวเมืองบริหารงานรัฐบาล พวกนี้จะปล้นความเป้นผุ้ดีของพวกเบดูอินไป ดังนั้นในความคิดของวิลสันพวกที่เหาะสมเข้าร่วมรัฐบาลควรเป้นชาวชนบทหรือเบดุอินมากกว่าชาวเมือง

            อังกฤษขาดกำลังสำหรับเสริมสร้างกองทหารในอิรักที่จะใช้ในการต่อสู้กับพวกเติร์ก องกฤษจึงพยายามสร้าางความเป้นระเบียบภายในอิรักด้วยการเลื่อนฐานนะของเชคหรือหวหนาเผ่า ให้อยู่ในสถานะ่สูงส่ง เพื่อว่าหัวหน้าเผ่าหล่านี้นจะมีความรับผิดชอบโดยตรงต่อรัฐบาล และตั้งข้าราชากรการเมืองตลอดทั่วเประทศให้มีหน้าที่ตรวจตราดุแลการทำงานของ "เชค" และลุกเผ่าด้วย ข้าราชการเหล่านใช้อำนาจในทางไม่ถูกับหัวหน้าเผ่า และตบตารัฐบาลกลางซึ่งจะทำให้พวกเขารักาาอำนาจไว้ได้นาน

             คำประกาศของอังกฤษในตอนสิ้นสงครามทำให้อิรักเป้นดินแกดนในอากณัติสร้างคามไมพอใจในหมู่ประชาชนอย่างกว้างขวาง ขณะเดียวกันความรุ้สกของประชาชนยังพอใจออตโตมันอยู่ และรัฐบาลซีเรียก็ได้ส่งนักชาตินิยมกลุ่มเล็กๆ  เขามาพยายามจะยูดโมซุลในอิรักในปี 1920 ปรพชาชนก่อความไม่สงบ เืพ่อต่อต้านรัฐบาลอังกฤษซึ่งมีสาเหตุจาการเก็บภาษีน้ำมัน ด้วยความไม่พอใจอยย่างแรงในเดือนมิถุนนายน 1920 จึงเกิดการจลาจลของชลเผ่าใหญ่ชาวอิรักซึ่งแผ่กระจายไปทั่วอิรักภาคใต้ ทางรถไฟถูกตัดขาด รถไฟตกราง กองกำลังของอังกฤษไม่สามารถระงับเหตุได้ มีชาวอังกฤษสุญหายกว่าพันหกร้อยคน อังกฤษต้องใช้จายเงินกว่า 40 ล้านปอนด์ ในการยุติจลาจล ภายหลังเหตุการจลาจล  เซอร์ อาร์โนลด์ วิลสัน ตกใจและกตะหนักว่า องกฤษไม่มีเงินมากพอที่ใช้จายในการปกครองออิรัก วิลสัน จึง ถอนตัวออกจากอิรักทันที

            ตุลาคม 1920 เซอร์ เพอร์ซี่ คอกซ์ เดินทางมาถึงอิรักพร้อมกับคณะกรรมพลเรือนชุดใหม่ และประการการจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวภายใตคณะรัฐมนตรีชาวอาหรับและที่ปรคกษาชาวอังกฤษ ขณะเดียวกันอังกฤษก้จะเป็นหัวหน้ารัฐบาลในฐานะที่อังกฤษเป็นประธานชี่วคราวของสภาบริหาร จจึงได้คัดเลือกผุ้นำทางศสนาที่มีอาวุโส และเป็นที่เคารพของประชาชนทั่วไปให้เป็นรัฐมนตรีจัดตั้งเป็นคณะรัฐาลปกครองประเทศ 

             อย่างไรก็ตาม อังกฤษตระหนักถึงความจำเป็นในการลดค่าใช้จ่ายและตระหนักดีว่ากการปกครองในระบอบอาณัติในอิรักนั้นไม่เป็นที่นิยม ดังนั้น เซอร์ซิลล์ จึงตัดสินใจทำสัญญากับอิรัก(เหมือนสัญญาที่อังกฤษทำกับอียิปต์) นั้นคือ แผนการยุติระบอบอาณัติซึ่งจะให้เอกราชแต่เพียงในนามแก่อิรัก ซึงวิธีนี้จะช่วยลดสงครามกลางเมืองและขจัดอันตรายที่เกิดจากความพม่พอใจของชาวอิรัก 

              อังกฤษปกครองอิรักในลักาณะากรปกครองทางอ้อม ขณที่ฝรั่งเสสช้นดยบายการปกครองทางตรง วิธีการปกครองของอังกฤษและฝรั่งเสสจึงแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดตลอดเวลาท ี่อังกฤษอยู่ในดอนแดนอาหรับตภาคตะวันออก อังกฤษพยายามแสวงหาวิธีที่จะทำให้ค่าใช้จ่ายในการปกครองลดน้อยลง พยายามใช้ความจำเป็นและใช้ให้คู่แข่งขันเป็นประโยชน์ต่ออังกฤษขณะที่ฝรั่งเสสใช้วิธีที่ "แพงกว่า" และมีเรืองขัดแย้งกับขบวนการชาตินิยมอาหรับฐานของฝรั่งเศสไม่เคยเข้มแข็งแลยในดินแดนอาหรับ ขณะที่อังกฤษประสบความสำเร็จอย่างน่าทึ่งแม้จะถูกต่อต้านก็ตาม อังกฤษสามารถลดจำนวนบุคลากชาวอังกฤษในรัฐบาลอิรัก กระทั่งปี 1927 อังกฤษสามารถควบคุมปรเทศด้วยข้าราชการพลเรือนจำนวนเล็กน้อยเท่านั้นและอังกฤษก็ไม่จำเป็นต้องใช้กองทัพอากาศที่ใหญ่โตเลย

                   ทรานจอร์แดน เป็นดินแดนอีกแห่งหนึ่งที่อังกฤษปกครองโดยปราศจากากรวชัดชวางอย่างรุแแรงจากประชาชนท้องถ่ิน เดิมที่เคยเป็นดินแดนหนึ่งของปาเลศไตน์ แต่อยู่ภายใต้รัฐบาลที่ปกครองแยกต่างหาก และกระทั่งปี 1923 ทรานส์จอร์แดนก็ถูกแยกออกจากปากเลสไตน์อย่างเป็นทางการ  อังกฤษประกาศว่า ทรานจอร์แดนไม่อยู่ภายใต้ประกาศบัลฟอร์ และชาวยิวไม่สิทธิที่จะซื้อที่ดินในทรานส์จอร์แดน ดังนั้นอังกฤษจึงได้รับการยกย่องจากประชาชนและไม่มีความรุนแรงเกิดขึ้น


                              แหล่งที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-2.pdf

                                                 https://deepsouthwatch.org/th/node/11711

            

วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Politic and Religion




           "การเมือง การปกครองและศาสนาในรูปแบบที่มีการ พึ่งพาอาศัยเกื้อูลกันนั้นคืออการใช้อุดมการณ์ทางศาสนาเป็นแนวทางในการปกครองบริหารและ ศสนานั้นได้อาศัยการอุปถมป์และการคุ้มครองบางประการเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบยัติ ภารกิจทางศาสนา แต่อย่างไรก็ตามอุดมการของศาสนาพุทธของไทยเป็นลักษณะที่มีความยืดหยุน แต่ไม่ถึงกลับอ่อนข้อ ศาสนาพุทธนั้นมีลักษณะที่สามารถอยุ่ร่วมได้ ไม่ว่าจะเป็นการปกครองในรูปแบบใด ทั้งระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ระบอบประชาธิไตย ขอเพียงปผุ้นำ ประเทศมีความเป็นธรรมตามอุดมคติของทางศาสนา ภายมค้ความสัมพันะ์ในลัษณะพึ่งพาอกัน ศาสนาไม่ได้อยุ่เนือกฎหมายและไม่ได้อยู่ภายใต้กฎหมายอย่างสิ้นเชิงแต่ศสนาต้องพึ่งพาระบบ การเมือง การปกครองในบางเรื่องในขณะเดียวกันการเมืองและการปกครองควรใช้หลักธรรมทางศานาเป็นแนวการปกครอง".....(แหล่งที่มา https://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=16557)



            " ประเทศมาเลเซียเป็นหนึ่งในประทเศที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุืศุง จงมีโครงสร้างทางสังคมที่เรียกว่า ไพหุสังคม" สัดส่วนประชาการมาเลเซียส่วนใหย่จะเป็นชาวมลายู ชาวจีน ชาวอินเดีย และชาติพะนธุ์อื่นๆ ตามลำดับ ดดยชาวมลายูซึ่งเป็นชนชาติส่วนใหย่มาเลเซ๊ยมีความผูกพันธ์กับศาสนาอิสลามอย่างแยกกันไม่ขาด มาเลเซียตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน มีการต่่อสู้และแยงชิงพื้นที่ทางสังคมและอัตลักษณ์มาดดยเสมอ ศาสนาอิสลามซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติ ถูกทำให้เป็เครื่องมือทางการเมืองในกาารต่อรองผลประโยชน์และการสร้างอัตลักษณ์ แม้มาเลเซียไม่ใช้รัฐอิสลามเต็มรูปแบบแต่ก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าศาสนาอิสลามคือตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนการเมือง เศราฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของมาเเ,ีย "อิสลาม กการเมือง Political Islam คือกรอบแนวคิดหรือชุดความคิดของอิสลามที่เข้ามาีมีอิทธิพลต่การเมืองและกิจกรรมทางการเมือง ซึ่งเป็นการอะิบายปรากฎการณ์สมัยใหม่ที่ใช้ศาสนาอิสลามมากำหนดกรอบทางการเมือง....

               ....กระแสของอิสลามการเมืองได้ผันเปลี่ยนสู่ความเป้นใหม่มากขึ้น ซึ่งสถานการณ์โลกในขณะนั้นเกิดความหวาดกลัวต่อชนชาติมุสลิมเนื่องจากเหตุการก่อการร้าย 911 ในสหรัฐอเมริกา ในสมัยนั้นมาเลเซียจึงพยายามกำหนดรูปแบบของมุสลิมที่ไม่แข็.กร้าว นายกบาดาวีได้มีการจัดทำแนวคิดอิสลามสมัยใหม่ หรือ  Islam Hadhari ซึ่งแนวคิดดังกลบ่าวเป้นการนำเสนอความนำสมัยของโลกมุลิม ดดยท้ายที่สุดแนวคิดดังกล่าวได้รับการยอมรับและสามารถลบภาพความนรุนแรงของมุสลิมลงได้ อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมา แนวคิดนี้ถูกมองว่าเป็นเครื่องมือในการลงดทษกลุ่มคนที่ไม่ใช่มุสลิม ทำให้ถูกยกเลิกไปในที่สุด แระแสอิสลามการมืองค่อยๆ แผ่วเบาลงในสมัยของนาย นาจิบ ราซัคจนถึงปัจจุบัน..."   (ที่มา : https://researchcafe.tsri.or.th/malaysian-society/)

                 "ศาสนากับอัตลักษณ์เชิงชาติพันธ์และความขัดแย้งระหว่างชนชั้น การผนวกเข้าด้วยกันเป็น ไบังซาโมโร"

                   .....เหตการสำคัญที่ทำให้ชาวมุสลิมเร่ิมตั้งคำถามต่อตำแหน่งแห่งนดที่ของตนเองในสังคมฟิลิปินส์ที่ครองอำนาจโดยชาวฟิลิปินส์คริเตียน คือ เหตุการที่เรียกว่ากานรสังหารหมู่จาบิดะห์ ไจาบิดะห์" เป็นชื่อโครงการหน่วนรบพิเศษที่รัฐบาลมาร์กาตตั้งขึ้น โดยมุ่งหมายไม่ให้ปรากฎความเชื่อมโยงกับกองทัพฟิลิปินส์ ว่ากันว่าเป็นหน่วนรบที่มาร์การมุ่งจะใช้เพื่อบุกโจมตีและอ้างสิทธิเหนือรัฐซาบาห์ ดินแดนที่เป็นของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว โดยกองกำลังทหารที่เกณฑ์มาฝึกเป็นชาวมุสลิมจากแถบมินดาเนาและซูลู  หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่กล่าวว่ ภายใต้สถานการณ์การฝึกที่ย่ำแย่และการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมทหารเกณฑืเร่ิมไม่พอใจและเรียกร้องที่จะกลับบ้าน การณ์กลับกลายเป็นว่านายทหารเกณฑ์อย่างน้อย 14 คน(หรืออาจมากถึง 28 คน) ถูกสังหารโดยปราศจาการไต่สวนในค่ายฝึกบนเกาะกอร์เรกิดอร์ในช่วง ปี 1968 เหตุุการณ์ดังกล่าวคล้ายเป็นการจุดชนวนความขัแย้งระหว่างขาวมุสลิมและรัฐบาลกลางที่นำฃกลางที่นำโดยชาวคริสเตียน นำปสู่การชุนมุนประท้วงอยางต่อเนื่องของนักศึกษาในมะลิลา และเชื่อได้ว่ามีส่นอย่างมากในปัญญาชนมุสลิมรุ่นใหม่เข้าไปามมีส่วนร่วกับ MIM ที่ก่อตั้งในปีเดียวกัน

                  ต้นปี 1969 กลุ่มแกนนำเครือข่ายส่วนหนึ่งที่ประกอบด้วย นูร์ มิสวารี และ ราซิค ลุคมัน นัการเมืองมุสลิมฝ่ายเดียวกับเปินดาตุน เห็นว่าควรมีการฝึกหน่วนรบแบบกองโจรขึ้น 

                   ช่วงต้นทศวรรษ 1970 ความยัดแย้งและความรุนแรงใรระดับท้องถ่ินระหว่างชาวมุสลิมและชาวคริสเตียนในภุมิภาคมินดาเนา ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบโตาบาโต ก็ผลักดันให้ชาวมุสลิมที่ไม่ใช่พวกชนชั้นนำเข้ามามีส่วนร่วมกับขบวนการแบ่งแยกดินแดนมากขึ้นเป็นลำดับ เรื่อยมาจนถึงการเกิดขึ้น ของชบวนการใต้ดิน "แนวร่วมปลดแปล่ยแห่งชาิตโมโร่" ซึ่งก่อตั้งดดย นูร์ มิสวารี

                  อย่างไรก็ตาม ควรกล่าวด้วยว่า ความขัดแย้งไม่ได้มีพื้นฐานมาจากศาสนาหรือชาติธุ์ในตัวเอง แต่มีคุณักษณะทางชนชั้นอยุ่มาก กล่าวคื้อ กลุ่มผุ้มีอิทธพลนอกกฎหมายชาวคริสต์็ก็มุ่งโจมตีชาวไร่ชาวนามุสลิม และในทางกลับกัน กลุ่มผุ้มีอิทธิพลนอกกฎหมายชาวมุสลิมก็มีการโจมตีชาวไร่ขาวนาชาวคริสต์เช่นกัน กระนั้นก็ตาม แม้ไม่มีหลักฐานว่ากองกำลังติดอาวุธชาวคริสต์เตียนที่โจมตีชาวบ้านมุสลิมนนั้นจะได้รับการสนับสนุนจากผุ้มีอำนาจรัฐ แต่เหตุกาณ์ความรุนแรงต่อชาวบ้านมุสลิมก็ชาวนให้ประชาชนเชื่อว่ารัฐบาลฟิลิปินส์เองเป็นผู้หนุนหลัง..... (ที่มา : https://www.the101.world/sea-history-of-losers-bangsamoro-2/)


            


วันพุธที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Society and Politic

               การรวมตัวเป็นผ่านชน : แบบอำนาจไม่กระชับกับอำนาจอยู่ที่ศุนย์กลาง มนุษย์เกิดมากว่า 2 ล้านปี หลังจากมีสภาพเป็นสัตว์สังคมไปแล้วย่อมมีการรวมตัวกันเป็นครอบครัว เป็นหมู่เป็นเหล่า การที่จะทราบว่าสมัยล้านปีก่อนมนุษย์มีการรวมตัวอย่างไรเป็นไปได้ยาก เป็นการสันนิษฐานประกอบเหตุผล อย่างไรก็ตาม อย่างไรก็ตามสนปัจจุบันมีความเข้าใจตรงกันว่ามีการรวมตัวในทางการเมืองเป็นในรูปเผ่าพันธุ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การรวมตัวเป็นหมู่เล่าซึ่งเป็นเผ่าพันธุ์แบบหลวมๆ และอำนาจไม่กระชับ และ เฟ่าพันธุ์


แบบอำนาจอยู่ศุนย์กลาง

              การรวมตัวขึ้นเป็นผ่าพันธุ์ยังหลงเหลือสืบเนหื่องมารจนถึงปัจจุบันนี้ในบางบริเวณของโลก เช่น ในบรรดาชนพื้นเมือง ของออสเตรเลีย ในป่าอเมซอนในอเมริกาใต้และในแอผริกา เป็นต้น

              - การรวมตัวแบบอำนาจจำกัด โดยอำนาจไม่อยู่ที่ศูนย์กลาง อาจแยกเป็นประเภทต่างๆ กัน แต่จะหล่าวถึง 2 ลักษณะ ได้แก่ การรวตัวเป็นหมู่เล่า และการรวมตัวเป็นเผ่าพันธ์ุ

                      การรวมตัวเป้นหมู่เหล่ามีโครงสร้างอย่างหลวมๆ โดยรวมเอาครอบครัวหลายครอบครัวเข้าด้วยกันในบริเวรตแห่งใดแห่งหนึง เผ่าชนแบบหมู่เหล่านี้มีความสัมพันธ์ระหว่างกันเองน้อย ส่วนใหญ่ความสัมพันธ์เป็นในรูปของการแต่งงานในหมู่พวกเดียวกัน อาทิ ชนเผ่าพื้นเมืองในออสเตรเลีย และอินเดียแดงอาปาเช๋ ไม่มีการแบ่งหน้าที่การงานอย่างชัดเจน คอื ทำมาหาเลี้ยงชีพคล้ายๆ กัน หัวหน้าของหมู่เล่ามีแต่ไม่มีอำนาจามาก


             - การรวมตัวเป็นเผ่าชน 

                  เผ่าชน คือ การรวมตัวสที่ยึดสายเลบือด คือ ความเกี่ยวพันในการเป็นวงศาคฯาญาติทั้งใกล้และไกล จุดสำคัญอยุ่ที่มีการรวมกันอย่งเป้นระเบียบหรือมีการลดหลั่นในทางอำนาจค่อนข้างชัดเจน มีการเแข่งขันกันในทางอิทธิพลระหว่างสายต่างๆ ของเครือญาติหรือระหว่างตระกูล

                   ความเป็นปู้นำและการบริหาร บุคคลที่เป็นผุ้นำของเผ่ามีหน้าที่หนักไปแในเรื่องพิธีรีต่องทางศาสนาเหรือในทางความเชื่อ บทบาทเกี่ยวกับระงับข้อพิพาทระวห่างตระกูลมีบ้าง ปัญหาการบริหารมักตกลงกันภายในตระกุูลต่างๆ ที่รวมตัวเป็นเผ่านั้นเป็นไปในรูปของการสมรสระหวางตระกูลบ้าง ปัญหาการบริหารมักตกลงกันภายในตระกูล ระหวางตระกูลต่างๆ ที่รวมตัวเป้นเผ่านั้นเป็นไปในรูปของการสมรสระหว่างตระกูลบ้าง เีก่ยวกัยการร่วมมือในการทำมาหาเลี้ยงชีพย้าง แต่ส่วนใหญ่แล้วควมสัมพันะ์เป็นไปในทางพิธีรีตอง

            - การรวมตัวเป็นผ่าแบบอำนาจอยุ่ที่ศุนยกลาง การวมตัวเป็นเผป่าดดยอำนาจของหัวหน้าเผป่ามีมาก เช่นชนเผ่าซูลู ในแอฟริกา

                     การเมืองแยกตัวออกมา จากความเป็นเครือญาติหรือสมาชิกของตระำกูล ตำแหน่งผุ้นำหรอตำแหน่งอื่นๆ ทางการเมืองมิได้ขึ้นอยุ่ในฐานะหรือสถานภาพในหมุ่เครือญาติ แต่มีลักษณะเป็นเอกเทศมากพอควร

                     การมีเจ้า เผ่าชนที่มีอำนาจอยุ่ในศูนย์กลาง รวมตัวเป็ฯอาณาจักรโดยหัวหน้าเผ่าเป็นเจ้า ระบบปกครองอาจเป็นแบบมีอำนาจอยุ่ที่ศุนย์กลางเต็มที่ หรือโดยที่อำนาจกระจายอยุ่กับหัวหน้าตระกูลต่างๆ ในกรณีหลัง เจ้าหรือกษัตริย์ต้องพึ่งพาหัวหน้าตระุลหรือกลุ่มอื่นๆ ในการดำเนินการต่างๆ 

                  - การวิวัฒนการสู่สภาวะการเมืองที่เด่นชีัดยิ่งขึค้น รูปแบบการวมตัวข้างต้น ยังไม่มีการแยกแยะสภาวะที่เป็นการเมือง ที่ชัดเจน การเป้นหัวหน้าหรือการมีบทบาทสำคัญในเผ่าหรือในหมู่+ยังขึ้นอยุ่กับสภานภาพในวงศ์ตระกุลมิใช่น้อย นอกจากนี้ การเป็นผุ้นำยงมีบทบาท เกี่ยนวกับพิธีรีตอง หรือทางศาสนาปะปนอยุ่มาก เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น คือ กิจการรมที่เีก่ยวกับการเมืองมีากขึ้น มีศุนย์กลางด้านต่างๆ มากขึ้น


                        กิจกรรมที่เกี่นยวกับการเมืองโดยตรมมีมากขึ้น ในยุคก่อน ุ้มีบทบาทางการเมืองมักเป้นผุ้อยุ่ในตำแหน่งที่ดีของวงศ์กระกูลที่ใหญ่หรือสำคัญ มักเป็นผุ้รู้ทางพิธีหรือในเรื่องความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งศกักิ์สิทธิ ต่อมาผุ้ที่เป็นหัวหน้าได้เป็นหัวหน้าเพราะความสามารถส่วนตัวมากขึ้น ฐานะในวงศ์ตระกูลอาจไม่ใช่ปัจจัยที่สำคัญก็ได้แต่มีอำนาจหรือบทบาทางการเมือเหนือผุ้อยุ่ในตำแหน่งได้ การตัดสินใจดำเนินการต่างๆ เร่ิมทีความเป้นเอกเทศ หรือเป็นสาธารณะมากขึ้น 

                       มีศูนย์กลางในด้านต่างๆ มากขึ้น

                       กิจกรรมาที่เร่ิมเป็นเฉพาะ "การเมือง" หรือเฉฑาะ "ศาสนา" หรือเฉพาะ "วัฒนธรรม" สะท้อนภาพออกมาในรูป รูปลักาณะ หรือ "ศูนย์กลาง"ของกิจกรรม เช่น มีการออกจัดทำระเบียบปฏิบัติอย่างเป็นทางการในทางการเมืองในรูปของกฎหมาย อนึ่งมีการสร้างศุนย์พิธีกรรม หรือศาสนาสถานขึ้นเืพ่ประดยชน์ทืางจิตใจของบุคคล นอกจากนี้ มีการแบ่งบริเวณออกเป็น "เมือง" และ "ชนบท" การวิวัฒนาการที่กล่าวถึงนี้กินเวลานานมาก และการเปลี่ยนแปลงมิได้สมำ่เสมอ จาการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวลแะอื่นๆ ต่อมาได้เกิดการรวมตัวแบบเป็น "นครรัฐ"ขึ้นมา

               ที่มา  /http://old-book.ru.ac.th/e-book/s/SO477/so477-4.pdf

            

วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Religion and Society

          

              ศาสนาในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคมนั้น ขึ้นอยู่กับแกนกลางของสังคม คือตัว
บุคคลหรือสมาชิกของสังคนั้นเอง ซึ่งถือว่าทำหน้ราที่เป็นตัวเชื่ีอมโยงให้สังคมและศาสนาสัมพันธ์กัน บุคคลอยู่ใต้อิทธิพลของศาสนาในด้ารการประพฤติปฏิบัติตามหลักศาสนา ซึ่งแสดงออกมาให้เป็นปรากฎในรูปพฤติกรรมทางศาสนา และในทำนองเดียวกัน บุคคลนั้นๆ ก็เป็นหน่วยหนึ่งของสังคม ซึ่งอาจจะเร่ิมจากตัวบุคคลในครอบครัว จนถึงรวมกันเป็นกลุ่มก้อนอันจัดเป็นสังคมก็ได้ ฉะนั้นศาสนาและสังคม จะสัมพันธ์กันมากน้อยเพีนงไรนั้น จึงขึ้นอยู่กับบุคลลอันเถือเป็นหน่วยหนึ่งทั้งของศาสนาและสังคม ฉะนั้น ศาสนาและสังคมจึงมีความสัมพันะืกัน โดยมีแก่กลางคือตัวบุคคลเป็นสำคัญ 

            อิทธิพลของศาสนาต่อสังคม เป็นที่ทราบแล้วว่าสังคมนัน เป้นเรื่องของการอยุ่ร่วมกัน ทั้งดดยทางะรรมชาติ และโดยการสมัครใจอันขึ้นอยู่กับวิธีการ อันเรื่องของการอยู่ร่วมกันนั้น ก็ต้องมีหลักอันถือเป็นกฎเกณฑ์สำหรับกำกับสังคมให้เป้นไปด้วยความเป้นระเบียบเรียบร้อย และสงบสุของสังคมและหมุ่คณะ เร่ิมตั้งแต่อาศัยกฎธรรมชาติซึ่งได้แก่ขนบธรรมเนียม จารีต แระเพณีต่างๆ ที่มีดดยะรรมชาติ รวมทั้งความสัมพันธ์กับระบบะรรมชาติด้วย อันเป็นเคตรื่องควบคุม กำกับความเป้นไปของสังคม  กระทังสังคาสมได้วิวัฒนาการขึ้นมา ความสัมพันะ์ได้ขยายกว้างออกไปจากเดิม ควมขัดแย้งและความไม่เป็นระเบียบในสังคมก็ได้มีขึ้น จึงจำเป้นอยู่เองที่จะต้งอมีกฎออกมาเพื่อใช้ควบคุม สังคมให้รัดกุมยิ่งขึ้นเพียงใดก็ตาม ความเป็นระเบียบเรยบร้อยและความเป็นไปต่างๆ ของสังคม ก็ยังมีการขันกันภายในสังอยุ่ 

            แม้สังคมจะได้วิวัฒนกรไปมากเพียไร และได้มกฎออกมาสำหรับควบคุมสังคมให้รัดกุมย่ิงขึ้นเพียงได็ตาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความเป็นไปต่างๆ ของสังคม ท็ยังมีการขัดกันภายในสังคมอยุ่  กฎต่างๆ ที่ออกมานั้นสามารถบังคับสังคมโดยเฉาพมทางกายหรือภายนอกเท่านั้น ยังไม่สามารถควบคุมได้เท่าศาสนา และจากการไม่เป็นระเบียบของสังคมนี้เอง เป็นเหตุในศาสนาเข้ามามีอทธิพลในังคม และสังคมเป้นไปด้วยความเรียบร้อย ดดยยอมรับอิทธิพลของศาสนานั้นๆ 

           อิทํพลของศาสราต่อสังคมนั้น จะปราฏำออกมาโดยสังคมได้รับอิทธิพลจากศาสนาวิธีใดวิธีหนึ่ง ทั้งโดยทรง อาทิได้รับอิทธพลจากสษสนาจากการศึกษาอบรมและโดยอ้อม เช่น ทำตัวให้เข้ากับสภาวะของศาสนา เป็นต้น 

             มีคำกล่าวของนักนิติศาสตร์และนักะรรมศาสตร์ชาวตะวันตกท่านหนึ่งว่า "ไม่มีแผ่นดินแอสระในประเทศใดที่กฎหมายไม่มีอำนาจสูงสุด แต่ถึงกระนั้นก็ดี กฎหมาย็เป็นเครื่องปกครองคนได้ไม่สนิทเท่าศาสนา เพราะกฎหมายเป็นเครื่องป้องกันคนมิให้ผิดได้เฉพาะแต่ทางกายกับวาจาเท่านั้น แต่ศาสราย่อมเป็นเครื่องรักษาคนไว้ไม่ให้ทำชั่วได้ทั้งกายวาจา และทางใจ ด้วยที่เีดยว ฉะนั้น ปวงชนที่ยึดมั่นอยู่ในศานาเมื่อจะยึดถือเอาศาสนาเป้นเครื่องปกครองคนดดยเคร่งครัดแล้ว จะต้องไม่กระทความชั่วอันเป็นการล่วงละเมิดกฎหมาย และผิดศีละรรมต่อศาสนาของคนในที่ทั้งปวง" ข้อนี้ แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศศาสนาที่มีต่อสังคม อันสามรถช่วยให้สังคมดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรยบร้อย ซึ่งจะก่อให้เกิดความสงบในสังคม 


            ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและสังคม ตามแนว Joachim Wach  ได้กำหนดไว้ อธิบายดังนี้

            ศาสนาในสังคม

            1 โดยการให้นิยามคำว่า ไสังคมวิทยาศาสนาไ น้น เป็นการสึกษาถึงอัตรสัมพันธ์ของศาสนาและสังคาม ทีมีอยู่ต่อกัน จะเป็นในรูปใดก็ตาม เราถื่อว่าสิ่งเล้าหรือแรงกระตุ้นต่างๆ ก็ดี แนวความคิดก็ดี และสถาบันต่างๆ ทางศาสนาก็ดี ถือว่าต่างมีอิทธิพลต่อศาสนาและในทางกลับกันสังคมก็ได้รับอิทธิพลจากสาสนาด้วย ไม่ว่่าจะเป็นอำนาจทางสังคมกระบวนการทางสังคม และการกระจายทางสังคม อันมีรายละเอียดตามความสัมพันธ์ตามลำดับดังนี้

            ศาสนา มีความสัมพันธ์กับบุคคล ตั้งแต่บุคคลแต่ละคน ซึ่งอาจจะเริ่มต้นจากครอบครัวขยายออกสู่ชุมชน และประเทศชาติเป็นต้น เพราะถือว่าความสัมพันธ์นั้นเร่ิมจากสิ่งที่อยุ่ใกล้ตัวเองก่อน แล้วค่อยๆ ขยายออกมาจากครอบครัว 

             ในการจัดระบบทางสังคม ได้รับอทิธพลจากทางศาสนาเป็นส่วนมาก เช่น การจัดรูปแบบการปกครอง รูปแบบสังคม เป็นต้น

              ศาสนามีอิทธิพลสามารถขจัดปัญหาเรื่องชนชั้นได้ ตามความเชื่อถือทางศาสนในทุกสังคม ซึ่งสมาชิกแต่ละคนที่มาร่วมอยุ่ในสังคมเดียวกันนั้น แม้จะมาจากบุคคลที่มีฐานะและชาติชั้นวรรณะต่างกันอยางก็ตาม สามารถรวมกนได้ เพราะอาศัยศาสนาเป็นศุนย์กลาง

               หลักอันหนึ่งของศาสนาที่เป็นศูนย์รวมของสังคม ก้คือการมีพิธีกรรม ในการประกอบพฺะีกรรมประจำสังคมนั้น ต้องอาศัยศาสนาตามที่สังคมนั้นยึดถือปฏิวัติกันมาทั้งนี้เืพ่อช่วยให้เกิดความศักดิ์สิทธิในพิธีกรรมนั้นๆ 

               อิทธิพลอันยั่งยืนอีกอย่างหนึ่งของศาสนาในสังคมก็คือ ช่วยควบคุมสังคมให้เป็นไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันเป็นเหตุให้สังคมมีความเป้นอยู่อย่างปกติสุข

               2 ศาสนากับความสัมพันะ์ทางด้สนสภาบันทาสังคมอื่นๆ 

               ศาสนากับการปกครอง ความสัมพันธ์ในข้อนี้ถือเป็นการค้ำจุนค่านิยมของสัคมให้ดำเนินไปด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การออกพระราชบัญญัติควบคุมสังคม เป็นต้น จำเป็นต้องใช้หลักธรรมทางศาสนา หรือหลักจริยะรรมในการบริหารราชการ มาช่วยค้ำจุนในสถาบันทางสังคมนั้นๆ  นอกจากนี้ยังมีศาสนากับการศึกษา ซึ่งทั้งสองอย่างเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม การบวนการเรียนรู้ทางสังคมวิทยา ศาสนากับเศรษฐกิจ เช่นการดำรงชีพตามหลักศาสนา การพอดีในการใช้จ่ายเป็นต้น ศาสนกับครอบครัว เช่นคำสอนเกี่ยวกับการครองเรือนต่างๆ 


              สังคมในศาสนา

              เป้นการจัดรูปแบบของสังคมอยางหนึ่งในด้านการบริหารและปฏิบัติตามพิธีการทางศาสนา อันจัดชนกลุ่มหนั่งที่สังกัดในศาสนา เหรือป็นสาสนิกของศาสนาที่ทำเน้าที่เพื่อสังคม

             ในการจัดรูปแบบของสังคมในศาสนานั้น เพื่อความสะดววกในการบริหารศาสนาและการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อถือ จึงมีการจัดแดบ่งออกเป็นนิกายต่างๆ ตามความเชื่อถือขงอแต่ละบุคคลในสงคม ตามนิกายที่ตนสังกัด

              การจัดแบ่งโครงสร้างของาสนาออกเป็นนิกายต่างๆ ตามลักษณะความเชื่อถือในศษสนาของสังคมนั้นๆ ซึ่งมีหลายประการด้วยกัน แต่เมือสรุปแล้วทุกนิกายในแต่ละศาสนาจะมีโครงสร้างของศาสนาอันประกอบดวบ กิจกรรมทั้งในทุกระบบของศาสนาน ซ่ึ่งรวมถึงตัวศาสนา นิกาย และสถานที่ประกอบพิธกรรมทางศาสนาด้วย ดดยถือการประกอบพิํธีร่วมกัน ในโบสถ์ อาทิ ในคริสต์สาสนานิยกายต่างๆ การประกอบศาสนกิจนั้นสอดคล้องกับความเป็นระเบียบของสังคมและภาวะเศรษฐกิจด้วย การนำคำสอนของศาสนาไปสู่ชุมชน หรือไปสุ่สังคมภายนอก อันเป็นการประสานประโยชน์ระหว่างศาสนากับรัฐ ระบบนัี้ได้แก่พวกพระ. การแบ่งออกเป็นนิกาย เพื่อค่านิยมของหมู่คณะ เป็นการนำระบบต่างๆ มาดัดแปลงแก้ไขให้ดีขึ้น ให้เหมาะสมกับสังคม  เพื่อแยกกิจการของศาสนาออกจากิจการของบ้านเมืองโดยเด็ดขาดเพื่อให้เป็นอิสระ. ระบบที่ยึดถือคำสังสอนของพระผุ้เป็นเจ้ายิ่งกว่านิกายอื่น และไม่ยอมดดแปลงแก้ไข, และรูปแบบที่เชื่อในหลักปรัญาไม่สนใจว่าใครจะเข้าจะออกจากศาสนา

                                                    แหล่งที่มา http://old-book.ru.ac.th/e-book/s/SO376(54)/SO376-7.pdf


              

วันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Midle East and Allied Power

           Allied Power หรือฝ่ายสัมพันธ์มิตร คือกรรวมกลุุ่มของประเทศททำการรบต่อต้านกลุ่มหมาอไนกลาง Cental Powers ฝ่ายสัมพันธมิตรหรือฝ่ายภาคในสงครามโลกคร้งท่ 1 เป็นประเทศท่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนากลาง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคิ ได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซย ต่อมา อิตาล เข้าสู่สงครามโดยอยุ่ฝ่ายไตรภาคในป 1915  ญ่่ปุ่นและเบลเยิ่ยม เชอร์เบย กริซ บอนเตเนโกร และหน่วยทหารเชโกสโลวาเกิย เป้นสมาชิกรองของข้อตกลง

"คำประกาศ บัลฟอร์"     

           สงครามโลท่เกิดขึ้นในคาบสมุทรอาหรับ ซิเริย และอิรัก ในสงครามโลกครั้งท่ 1 เป็นการต่อสู้ท่รุนแรงและขมขื่น  ต่อสู้ในระยะทางำกลและพื้นท่กว้างใหญ่ ด้วยกองทัพทัพทิ่ยิ่งใหญ่ แม้จะเตรยมการมาอย่างดหลายปก่อนเกิดสงคราม แต่ในความเปนจิรงเป็นการต่อสู้ในลักษณะปฏิวัติโดยมช้เล่ห์กกลทางทหาร เมษายน ปิ 1915 แนวหน้าอังกฤษยกผลท่แกลลิโลิ ในขณะทิ่เติร์กตั้งมั่นอยู่  อังกฤษตระหนักว่าถ้าจะยึดครองตะวันออกกลางนั้น อังกฤษจะต้องมกองทัพอันยิ่งใหญ่ประจำอยู่ในตะวันออกกลางตลอดเวลาของสงคราม สิงหาคม 1915 กองทัพอังกฤษในภาคใต้ของอิรัก พยายามท่จะยึดแบกแดด แต่ก็ต้องถอยไปสู่เมืองคุต กระทั่ง มินาคม 1917 ด้วยการต่อสู้ท่ิ่ยากลำบากซ฿่งทำให้ทหารทั้งชาวอินเดยและชวอังกฤษม้มตายเป้นจำนวนมาก แต่ในทิ่สุดอังกฤษก็ยคดแบกแดดได้ ในขณะทิ่อิยิปต์ก็มการต่อสุ่อย่างรุนแรง ธันวาคม 1917 อังกฤษยึดเยรูซาเลมได้และใน เดือนตุลาคม 1918 ก็ยึดดามัสกัส เมองหลวงของซเรย

            เมื่อเร่ิมส่งครามอังกฤษคาดว่าสงครามจะไม่รุนแรง แต่ด้วยความรอบคอบ ของอังฏษ ช่วยให้อังกฤษได้รับการสนับสนุนจากท้องถ่ินท่อังกฤษยึดครองได้ และจากข้อเสนิท่อังกฤษทำไว้กับชาริฟ ฮุสเซน แห่งแมกกะ เมื่อป 1914 ก็มส่วนช่วยอยู่มาก

             สัญญษและคำประกาศของฝ่ายสัมพันธมิตรท่ทำกับผุ้แทรจองประชาชนในตะวันออกกลาง ประกอบด้วย

            - สัญญษทอังกฤษทำกับผุ้แทนของฝ่ายอาหรับ โดยมิจุดมุ่งหมายคือให้อาหรับเป็นฝ่ายเดยวกับอังกฤษ และอังกฤษจะช่วยให้อาหรับได้รับสิทธิของตนในตะวันออกกลาง 

             ในระหว่างสงครามได้มีการิดต่อโดย  มีการติดต่อโดยผ่านจดหมายหลายแบับระหว่าง อาหรับและอังกฤษ คือชารีฟ ฮุสเซน แห่งเมกกะ ผู้เป็นข้าราชการภายใต้การปกครองของออตโตมัน และเซอร์เฮนรี่ แมคมาฮอน ข้าหลวงใญ่อังกฤษประจำอียิปต์ เป็นการติดต่อแลกเปลี่ยนนข้อตกลงที่เรียกว่าการติดต่อระหว่างฮุสเซน แมคมาฮอน ซึ่งในจดหมายเหล่านั้นได้บรรจุข้อความเกี่ยวกับการปฏิวัติของอาหรับและการเข้าร่วมสงครามของอาหรับโดยเป็นฝ่ายเดียวกับสัมพันธมิตร จดหมายติดต่อระหว่างฮุสเซนและแมคมาฮอน เป็นสิ่งที่ถูกเพ่งเล็งในรายละเอียดและุูกวิพากษ์วิจารณ์มาก ใไามีการพิมพ์จดหมายเหลบ่านี้อย่างเป็นทางการ  เกิดการล่าช้าในการพิมพ์จดหมายดังกล่าวอยาางเป็นทางการ โดยอังกฤษเพิกเฉพยเป็นเวงากว่า ยี่สิบปี กว่าจะพิมพ์ข้อความทั้งหมดของจดหมาย

            เมื่อสงครามยุติลง ความขัดแย้งเกิดขึ้นทันที เป็นความขัดแย้งเกี่ยวกับข้อความที่กล่าวถึงดินแดนต่างๆ ที่ฮุสเซนต้องการให้เป็นอิสระ แต่แมคมาฮอนเห็นว่าดินแดนเหล่านี้อังกฤยัวมีอิทธิพลอยู่ ได้แ่ก่ อเลปฏป ฮามา ฮอมส์ และดามัสกัส ดดยที่อังกฤษเห็นว่าดินแดนเหล่านี้ไม่ใช่อาหรับบริสุทธิ นอกจากนั้นปาเลสไตน์ ก็จะไม่ถูกรวมอยุ่ในดินแดนที่อาหรับต้องการ อังกฤษยังได้ตกลงกับหัวหร้าอาหรับอื่นๆ ซึ่งได้แก่ เจ้าผู้ครองแห่งคูเวต ไอดริซี เซยิด และซาเบีย ในเอซีร์ และอามีร์ อิบน์ซษอุุดแห่งริยาดห์

            ในขณะเดียกวกัน อังกฤษก็ทำสัญญากับกับฝรั่งเศส และรัสเซีย เป็นข้อตกลงที่เรียกว่า ซิกเคส-ิคอท ตามข้อตกลงดังกล่าวเป็นการพิจารณาถึงส่วนต่างๆ ของตะวันออกกลางซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ส่วนคือ 

           1 ฝั่งเลอวองทางตะวันออกของเมดิเตอร์เรเนียนซึ่งฝรั่งเรียกร้อง

           2 ดินแดภายในซีเรียฝรั่งเศสจะให้ความช่วยเหลือ

           3 เขตปาเลสไตน์จะทำให้เป็นเขตระวห่ว่างชาติ

           4 ทรานส์จอร์แดน ซ฿่งเป็นดินแดนอาหรับจอยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษและรวมถึงส่วนใหญ่ของอิรักด้วย

           5 แบกแดด และบาซรา จะเป็นดินแดนที่อังกฤษควบคุม



          ฮุสเซนล่วงรู้เรื่องนี้ จึงยื่นข้อเสนอขอให้อังกฤษอธิบายสัญญาดังกล่าว อังกฤษแจ้งว่า ข้อตกลงดังกล่าวนี้เป้นเพียงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตามไม่ถือเป็นเรื่องสำคัญ  ซึ่งอย่างไรก็ตามเมื่อสงครามสิ้นสุดลงสัญญาดังกล่าวก็มีผลต่อซีเรยซ฿่งฝรังเศษต้องการ

            - สัญญาท่ีอังกฤษทำกับผู้แทนของฝ่ายยิว โดย มีความต้องการเหมือนกันคือให้เปนฝ่าเดียวกับอังกฤษ และอังกฤษก็จะช่วยในการสร้างชาติของยิว

              ซึ่งดูเหมือนมีความสำคัญมากที่อังกฤษสัญญาไว้กับไซออนนิสต์ ก็คือ ประกาศบัลฟอร์ ในปี 1817 คำประกาศบัลฟอร์ เป้นคำประกาศเืพ่อ "บ้านเกิดเมืองนอนของยิวในปาเลสไตน์" แทนที่จะกำหนดว่าปาเลสไตน์เป็นบ้านเกิดเมืองนอนของประาชาชนยิว" และคำประกาศนี้ยังกล่าวถึงสิทธิิของผู้ที่มิใช่ยิวปากเลสำตน์ และยิวในที่อื่นๆ จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง ขณะเดียวกันฝ่ายมหาอำนาจกลางก็พยายบามหาหนทางเพื่อขัดขวางความสนับสนุนของฝ่ายสัมพันธมิตตรที่มีต่อไซออนนิสต์ บุคคลสำคัญในหมู่ผุ้สนับสนุนลัทธิไซออนนิสต์ในยุโรปคือ ดร.เคม ไวซืแมน ได้รับการสนับยสนุนจากรัฐมนตรีกระทราวงกลาโหมอังกฤษ คือ มาร์ค ซิกเคช และคนอ่นๆ 

            ดร.ไวซ์แมน พยายามชักชวนบุคคลสำคัญในคณะรัฐบาลอังกฤษให้เห็ฯใจและสนับสนุนไซออนนิสต์ แรกที่เีดยวยิวยุโรปแคลงใจพฤติกรรมของพันธมิตรทั้ง 3 คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซ๊ย ด้วยเหตุผลเดียวกับที่ชาวเตอร์กมองว่ารัสเซียเป็นผุ้ก้าวร้าวอยาางร้ายกาจ ยิวมองว่ารัสเซียเป็นแผ่นดินแห่งการฆ่าหมู่ รัสเซียขับไล่ยิวตะวันออกจำนวนมาก รวมทั้ง ดร.ไวซ์แมน ซึ่งมีผลทำใ้พวกเขาต้องอพยพไปสู่ยุโรปตะวันตก และในยุโรปตะวันตกนี้เองมีบางคนได้อยู่ในฐานะผู้มีอิทธิพล สำหรับในเยอรมนี มีบันทุกของขาวยิวที่กล่าวถึงการปฏิบัติที่ดีของชาวเยอรมันที่มีต่อยิว ยิวแม้จะพบกับความทุกข์ยากแคต่ก็ยังได้รับการยอมรับและเป็นคนนที่มีความสำคัญ และชุมชนยิวทั้งหมดก็ถูกกลืนมากว่าในประเทศอังกฤษของยุดรปในเยอรมนียังไม่มีการฆ่าหมู่ หรือแม้แต่ในฝรัี่งเศสก็ไม่มี เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 เริ่มขึ้นองค์การยิวประกาศตัวเป็นกลางแต่ก็ยังควมีสำนักงานในเยอรมนี

           การปฏิวัติรัสเซียได้เลปี่ยนสาถนการณ์ในรัสเซีย โดยการนำยิวจำนวนมากมาสู่ตำแหน่างที่สำคัญของรัฐบาล ความรู้สึกที่รุนแรงในรัสเซียสำหรับการละทิ้งสงครามได้กลายเป็นชนวนเหตุแห่งการปฏิวัติ (ปฏิวัติรัสเซีย :https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2)

            เนืองจากการปฏิวัติ ปี 1917 รัสเซียถอนตัวจากสงคราม ทั้งฝ่ายอังกฤษและเยอรมันชื่อว่ายิวในรัสเซียเป้นกระทำการในเรื่องนี้ ดังนั้นเยอรมนีจึง แก่มบังคมชาวเติร์ก ให้ยอมแก่ยิวในกาตครอบครองปาเลสไตน์ แต่อย่างไรก็ตามเติร์กไม่ทำตามคำขอร้องนั้น เนื่องจากอาหรับที่เป็นฝ่ายเดียวกับตนในสงครามอาจไม่พอใจ แต่ในที่สุดขณะที่กุงทัพของเติร์ออกจากปาเลสไตน์ก็็นการเปิดโอกาศให้ไซออนนิสต์เข้าสู่ปาเลสไตน์เหมือนตามคำประกาศบัลฟอร์

           ขณะที่เยอรนีสร้างความพยายามที่จะได้รับความสนับสนุนจากยิวอยุ่นั้น อังกฤษก็ต้ยังมีความกังวลเกี่ยวกับปัญหาที่รัสเซียถอนตัวออกจากสงครมและเกี่ยวกับนดยบายความเป็นกลางของอเมริกา อย่างไรก็ตามรัฐบุรุษของอักฤษมีความคิดเห็นว่าคามสนับสนุนของยิวมีความสำคัญมากที่จะสามารถช่วยนโยบายของอังกฤษ ดังนั้นในต้นเดือนมีนาคม 1916 บอร์ เกรย์ จึงแนะนำรัฐบาลรัสเซียและรัฐบาลฝรั่งเศสว่า การที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะได้รับความสนับสนุนจากยิวนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรจะต้องตกลงเป็นฝ่ายเดียวกับไซออนนิสต์ในปัญหาปาเลสไตน์ ทั้งนี้เพราะไม่ว่ายิวในอเมริกา หรือในตะวันออกกลางก็กำลังเจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆ มาร์ค ซิกเคซ คิดว่าการที่อเมริการวางตัวเป็นกลางนั้นกลางนั้นเพราะยิวที่เป็นฝ่ายเดียวกับเยอรมนีนั้นเป็นสาเหตุ นายกรัฐมนตรีอังกฤษลอยด์ จอร์จ สังเกตุว่า ความช่วยเหลือของยิวที่มีต่ออังกฤษนั้นเป็นสิ่งที่มีคุณค่ามาก และมีประโยชน์อย่างยิ่งเมือฝ่ายสัมพัธมิตรกำลังทรุด ด้วยเหตุนี้เอง ลอร์ด โรเบิร์ต เซซิล จึงได้สนับสนุนไซออนนิสต์ให้เรียกร้องปาเลสไตน์ ซึ่งปรากฎออามาในการประกาศคำประกาศบัลฟอร์ ใน ค.ศ. 1917 ผุ้เฝ้าดูเหตุการณ์ที่แท้จริงในขณะนั้นคื อรัสเซีย เยอรมนี และอเมริกา

            พฤษภาคม 1919 มีการอ่านคำประกาศที่เมือง เนบลัส ในปากเลสไตน์ ดังนี้

            "ข้าเจ้า(บัลฟอร์)มีความยินดีมากที่ได้นำข่าวมาบอกแก่ท่าน(ลอร์ด รอธส์ โซลด์) ในรัฐบาลของพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งได้รับการยอมรับดดรรัฐมนตรี: "รัฐาบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวได้พิจารณาด้วยความพอใจถึงการสร้างบ้านเกิดเมืองนอนสไหรับชาวยิวในปากลสไตน์ และจะใช้ความพยายามอย่างที่สุดที่จะทำให้วัตถุประสงค์นี้สำเร็จปลได้โดยง่าย เป้นที่เข้าใจอย่างชัดเจนว่า ไม่มีอะไรถูกกระทำ ในลักษณที่เป็นการขัดต่อลัทธิศาสนาและความเป็นอยู่ของชุมชนที่มีใช่ยิว ที่ยังคงอยุ่ในปาเลสไตน์ หรือสิทธิและสถานะทางการเมืองทีพอใจโดยชาวยิวในประเทศอืนๆใด

             ข้าพเจ้าจะภาคภูมิใจมาก ถ้าท่านจะนำคำประกาศนี้ไปสู่สหพันธรัฐไซออนนิสต์" 

            คำประกาศได้รับการยอมรับดดยประะานาธิดีวิลสัน และต่อมาก็ได้รับการับรองดยรัฐบาลฝรั่งเศสและอิตาลี และมีารรับรองยืนยันอีกครั้งหนึ่งที่การประชุม ซาน เรโม ในปี 1920 นอกจากนั้นยังมีการเขียนคำประกาศนี้ในเอกสารแมนเคทสำหรับปาเลสไตน์ รับนรองโยสภาแห่งสันนิบาตชาติ และสภาคองเกรสของอเมริกา ตลอดจนได้รับการยอมรับดดยสำนักวาติกัน ของสันตะปาปาอีกด้วย ในปี 1922  กระทราวงอาณานิคมอังกฤษ ได้ประกาศคำประกาศบัลฟอร์เป็นพื้นฐานของนดยบายในปากเลสไตน์ และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้

             ประการทิ่ 3 เป็นสัญญาปลีกย่อยทื่อังกฤษทำกับอาหรับ และฝรั่งเศสด้วย

                                                                       ข้อมูลจาก วิกืพิเดิย

                                                                                        http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-1.pdf

วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Zionism

             ชาวยิวแต่ละคนเชื่อมั่นว่าตนเป็น "ชาติท่พระเจ้าได้เลือกแล้ว" ประกะการหนึ่ง และวัฒนธรรมอัน
สูงส่งเหนือสิ่งแวดล้อมภายนอกท่พวกยิวรักษาสืบต่อๆ กันมาโดยไม่ขาดสาย ประการหนึ่ง ซึ่งช่วยให้เกิดความเกาะเดิ่ยวในชาติพนธ์ของตนอย่างเหนิยวแน่นไม่ว่าจะตกไปอยูทิ่ใดในโล ก็ยังคงเป็นยิวไม่ถูกกลืนจากชาติอื่นและวัฒนธรรมอื่น

               ปัญญาชนชาวยิวเป็นต้นคิดในการกลับคืนสู่ปาเลสไตน์ในปลายศตวรรษท่ 19 เพราะมความรู้สกว่า การลุกขึ้นต่อสู้กับฝ่ายอธรรมหรือพวกท่ทำกรกดข่ข่มเหงตนทั้งยังอาศัยบ้านเมืองผู้อืนอยู่นั้น ย่อมเป็นการไร้เกิยรติและไม่ชาอบด้วยเหตุผล นอกจากนิ้ยังเสิ่ยงต่อการสูญสิ้นในทิ่จุด ด้วยเหตุนิ้นักคิดนักเขยนค่อยๆ กระตุ้นเตือนด้วยบทความต่างๆ รวมทั้งคภขวัญออกโฆษณาเผยแพร่เพื่อจูงใให้พวกยิวกลับไปยังปาเลสไตน์ ดินแดนศักดิ์สิทธิซึ่งแต่เดิมเริยกว่า "คานะอาน"ท่พระเจ้าประทานให้กับชนชาติยิวเมื่อก่อนโน้น

             การจูงใจให้กลับไปยังไซออน เป็นบ่อเกิดของลัทธิไซออนนิสขึ้น และได้มการก่อตั้งชบวนการยิวโลก The World Zionist Organisation ในปิ 1896 โดย ธิโอดอร์ เฮอรเซิล Theodor Herzl เป็ฯผู้ริเริ่มคนแรกกระทั่งเปิดประชุมคองเกรส ของขบวนกรดังกล่าวำได้สำเร็จในป 1897 ทิ่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 

             เฮอร์เซิลถึงแก่กรรมก่อนทิ่ชาติจะได้รับเอกราช ดร.ไวซ์แมนน์ เป็นผู้รับช่วงต่อมา เขาเป็นนักเคมวิทยาเชื้อชาติยิวในอังกฤษ ซึ่งสามารถทำให้อังกฤษเห็นด้วยกับข้อเสนอของ ตร. เชม ไฝช์แมนน์ ท่ให้รัฐบาลอังกฤษเข้าคุ้มครองปาเลสไตน์เพื่อเป็ฯท่อยุ่ของชนชาติยิว ในการน้ ลอร์ด บาลฟอร์ ซึ่งเป็นรัฐมนตรว่าการต่างประเทศของอังกฤษขณะนั้นได้ออกประกาศในปิ 1917 ว่า "รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวเห็นพ้องด้วยกับการตั้งท่อยู่ประจำชาติสำหรับชนชาติยิวขึ้นในปาเลสไตน์" ประกาศบาลฟอร์ Balfo r Declaration  และนิ้เองเป็นเหตุผลทำให้ขบวนการยิวทั่วโลก ยังคงดำรงอยู่ได้จนทุกวันนิ้

            ระหว่างปิ 1517 -1917 ปาเลสไตน์ตออยู่ในอำนาจของเติร์ก ออตโตมัน ต่อมเือสงครามโลกครั้งท่ 1   ยุติ อาณาจักรออกตโตมันทิ่เป็นฝ่ายเดิยวกับเยอรมันเป็นผู้แพ้สงครามถูกแบ่งโดยผุ้ชนะคือ อังกฤษและฝรั่งเศส ทำให้มิประเทศเกิดใหม่อกหลายประเทศใตะวันออกกลาง คือ ซิเริย เลบานอน ทรานสยอร์แดน หรือยอร์แอน ในขณะท่ อิรัก และซาอุดิอาราเบิยส่วนปาเลสไตน์ตกอยู่ในอาณัติของอังกฤษ ตามมติขององค์การสันนิบาตชาติในป 1922

            ยิวมิภูมิลำเนาอยู่ในปาเลสไตน์ก่อนปิ 1880 เพิยง 12000 คนเท่านนั้น ซึ่งล้วนแต่เป็นพวกเคร่งศษสนาเปริยบเสมือนชนหมู่น้อย และแทบจะไม่มิสิทธิมิเสิยงใดๆ ไซออนนิสต์ใช้วิธแก้ปัญหาท่ละเปลาะอย่งใจเย็นและชาญฉลาดดำเนิการเป็นขั้นตอน ด้วยวิธจัดซื้อท่ดิในปาเลสไตน์ หรือซื้อแผ่นดินของตนกลับคือมาจากชาวอาหรับ และชาวเติร์ก ซึ่งก็โดนโก่งราคาโดยตั้งราคาสูงลิ่ว แต่ขบวนการยิวก็ได้รับซื้อไว้ ซึ่งในป 1948 ได้คำนวณแล้วปรากฎว่าจำนวนทิ่ดินทั้งหมดทิ่ซื้อไว้เป็นเนื้อท่ทั้งหมด กว่า 250,000 เอเคอร์ โดยใช้เงินกองทุนของชนชาติยิว จากนั้นทำการจัดสรรให้ชาวยิวท่อพยพจากประเทศต่างๆ เข้าไปอยู่เป็นจำนวน 83,000 คน ซึ่งได้สร้างหมู่บ้านยิวทั้งสิ้น 233 หมู่บ้าน และปลูกต้นไม้บนพื้นดินแอันแห่งแล้วนั้จเจริยงอกงามขึ้นมาได้กว่า 5 ล้านต้น ซิ่งกว่า 50 ปิทิ่ฝ่านมาไม่่มิต้นไม้แม้แต่ต้นเดิยว

           การอพยพยิวได้กระทำการอย่างมิแบบแผ่น ในระลอกแรกระหว่างปิ 1880-1900 เป็นพวกชาวไ่ชาวนาธรรมดา เข้าไปบุกเบิกฟื้นฟูทิ่ดิน สำหรับทำไร่ทำนาขึ้นก่อน การอพยพระลอกท่ สอง ระหว่าง ปิ 1900-1914 เป็นพวกกสิกรทิ่มิความรู้ และคนงาน เืพ่อดำนเนิสงานด้านกสิกรรมให้ถูกวิธิตามหลักวิชา พวกอพยพระลอกทิ่ 3 ปิ 1918-1924 เป็นยุคของคนหนุ่่มสาววัยฉกรรจ์ พวกนักการค้าและธุรกิจเืพ่อสร้างกิจการอุตสาหกรรม สถาบันกรศึกษาและกำลังรบ ระลอกทิ่ ภ เป็นพวกปัญญาชน หมอ ทนายความ ครู เป็นต้น และยังมนักบริหารเพื่อวางแผนในการก่อตั้งรัฐและประชาธิปไตยตามอุดมการณ์ท่ตั้งไว้ส่วนพวกอพยพในระลอก 5 หลังสงครามโลกครั้งท่ 2 เป็นต้นมาเป็นการอพยพของชาวยิวทุกชนชั้นทุกวัยทุกอาชิพและทุกฐานะ เพื่อทำช่องว่างทิ่มิอยู่ให้เต็ม

            ความสำเร็จในการสร้างอิสราเอลจึ้นมใจได้รับเอกราชในทิ่สุดนั้น ก่อให้เกิดแนวความคิดและความยึดถืออันเป็นหลักสำคัญทิ่สุดว่ ทิ่ดินทั้งหมดต้องเป็นชองรัฐ กล่าวคือเป็นชองชาติในส่วนรวม แนวความคิดดังกล่าวสืบเนืองมาจากอุดมการณ์สร้างชาติของลัทธิหซออนนิยมซึ่งมการจัดสรรด์ท่ดินเพื่อการทำมาหากินของชนชาติยิวท่อพยพเข้ามาในอิสราเอลอประการหนึ่งมาจากหลักศาสนาซึ่งถือว่าพระเจ้าได้ประทานทิ่ดินให้แก่ประชาชาติยิวทั้งผอง 

           นิคมสร้างตนเองในอิสราเอล การจัดสรรทิ่ดินเพื่อการเกษตรกรรมสำหรับนิคมสร้างตนเองในปัจจุบันอยู่ความรับผิดชอบขององค์การยิวและศูนย์วางแผนร่วมเพื่อการเกษตรกรรม ของกระทราวงเกษตรเป็นเจ้าหน้าท่พิจารณาร่วมกัน กล่าวคือ วางแผนกำหนดเขคกาสิกรรมสำหรับนิคมว่าควรเพราะปลูกประเภทใด และยังวางแผนกำหนดอาณาบริเวณสำหรับเป็นศูนย์กลางในทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม เพื่อให้นิคมสร้างตนเองทิ่ตั้งอยู่รอบๆ อาณาบริเวณศูนย์นั้นได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน



            การจัดสรรท่ดินให้กับนิคมสร้างตนเองเป็นไปตามโครงการพัฒนาประเทศซึ่งองค์การยิวและกระทราวงเกษตรได้วางแผนร่วกัน ส่วนในการทิ่จะไปจัดรูปนิคมสร้างตนเองให้เป็นแบบกิบบุตซ์ แบบโมซ็าฟ หรือแบบโมชาฟ ชิทุฟิ อย่างใดอย่างหน่งนั้นยิ่มแล้วแต่คามสมัครใจของสมิชิกแต่ละนิคม

             นิคมสร้างตนเองแบบ "กิบบุตช์"แปลว่ากลุ่ม หรือหมู่คณะ มิความหมายพิเศษสำหรับนชาติยิว คือ "การเข้ามาใช้ชวิตอยู่เป็นหมู่คณะด้วยความสมัครใเพื่อวัตถุประสงค์ในการดำเนินกิจการร่วมกัน"

            ความมุ่งหมายในการก่อตั้งนิคมกิบบุตซ์ยังเป็นส่วนหนึ่งอขงอุดมการณ์ ทางการเมืองของพวกไซออนนิสต์ ทิ่ต้องการให้กิบบุตซ์มบทบาทในการกอบกู้เอกราชของชาติและเพ่อการพัฒนาประเทในด้านเศรษฐกิจและสังคมพร้อมๆ กันไปด้วย และยังมิความจำเป็นอื่นๆ อิกประการ คือ ขณะท่ชาวยิวอพยพเ้าไปใปาเลสไตน์เมื่อศตวรรษทิ่ 19 นั้นต้องผจญอุปสรรต่างๆ ถ้าหากต่างคนหรือต่างครอบครัวแยกกันอยู่แยกกันทำการเพาะปลูก ความหวังท่จะได้รบผลสำเร็จย่อมเป็นไปได้ยาก และการรวมกลุ่มยังช่วยกันป้องกันอันตรายได้อิกด้วย นิคมแบบกิบบุตช์เป็ฯการรวมกำลังคนกำลังทรัพย์ในการประกอบกิสิกรรม โดยสมาชิกของกิบบุต์ต่างมความรับผิดชอบร่วมกันในผลประโยชน์ส่วนได้เสิย ทางการอิสราเอจึงจัดให้นิคมสร้างตนเองแบบกิบบุซ์เป็น "นิคมทิ่มผลประโยชน์ร่วมกัน"

                                      แหล่งทิ่มา : /http://library1.nida.ac.th/nida_jour0/NJv8n2_02.pdf

            

           

วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Middle East and The War

           2-3 ปิก่อนเกิดสงครามโลกครั้งทิ่ 1 ได้มการแข่งขันกันระวห่ามหาอำนาจยุโรปเพื่อเข้าไปมิอิทธิพลเหนือตะวันออกกลาง ประเทศท่แข่งขันกันมากท่สุดได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน แต่ละประเทศต่างก็มิจุดมุ่งหมายเดิยวกัน คือ การได้รับสัมปทาอุตสาหกรรมน้ำมันในตะวันออกกลาง อย่างไรก็ตาม แารแข่งขันดังกล่าวมิไใช่สาเหตุสำคัญประการเดิยวท่ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งท่ 1 แต่ปัญหาในตะวันออกกลางก็มความสำคัญากโดยเฉพาะอยางยิงในเรื่องอุตสหกรรมน้ำมัน ทั้งน้เพราะได้มิการจัดตึ้งบริษัทร่วมกันระหว่า อังกฤษ เยอรมนิ และตุรกิ คือบริษัท แองโกล-เยอรมัน ตุรกิ ปิโตเลิยม ซ฿่งเป็นบริษัทท่ำด้รับสัมปทานนำ้มันในประเศอิรัก แต่ปัญหาเกิดขึ้นเพราะทุกประเทศต้องการทิจะมิอิทธิพลและผลประโยชน์แต่เพิยงประเทศเดิยวhttps://draft.blogger.com/blog/post/edit/57583117367728393/2524397628766052902

           ลัทธิชาตินิยมอาหรับสมัยสงครามโลกครั้งท่ 1 


            สิ่งท่ทำให้การต่อต้านออตโตมันเด่นชัดคือกรเกิดสงครามโลกครั้งท่ 1 ซ฿่งเป็นการเปิดโอาสสำหรับการปฏิวัติ ซึ่งถูกแรงผลักดันโดยการเจริญเติบโตของลัทธิชาตินิยมของทั้งตุรกิและอาหรับ อย่างไรก็ตามเป็นทิน่่าสังเกตุว่าชาวอาหรับจำนวนไม่น้อยยังภักดอต่อจักรวรรดิออตโตมัน

            สงครามเกิดขึ้นในยุโรปก่อน แต่สงครามในตะวันออกกลางยังมิได้เกิดขึ้นทันทิทันใด กระทั่ง อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามต่ออตโตมัน อังกฤษผนวกไซปรัส และประกาศให้อิยิปต์เป็นดินแอนในอารักขาของอังกฤษ และประกาศสงครมกับเตอร์กในเวลาต่อมา อกงทัพบก และทัพเรืออังกฤษจากอินเดยมุ่งตรงไปสู่ลุ่มแม่น้ำไทกริส และยูเฟรติส ในอิรัก ในการทำสงครามคั้งนิ้ อังกฤษได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าผุ้ครองแห่งคูเวต  อังกฤษจึงตอบแทนด้วยการให้อิสรภาพแก่คูเวตและอยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษ ซึ่งอังกฤษสามารถยึดแมืองฟาโอได้ ปัจจุบันอยู่ในอิรัก

           ออตโตมันประกาศสงครามศักดิ์สิทธิโดยสุลต่านกาหลิบ ทั้งอังกฤษและฝรั่งเสศต่างกังวลเก่ยวกับผลกระทบต่อชาวมุสลิมจำนวนมากในอินเดย และในแอฟริกาเหนือ ชาวยุโรปท่เชื่อถือลัทธิแพนอิสลาม หรือ ลัทธิความเป็นอันหนึ่งอันเดิยวกันของอิสลาม และขอร้องมิหใ้สงครามขยยใหญ่ไปกว่าท่เป็นอยู่ ตลอดจนคำนึงถงอันตรายจาการปฏิวัติมุสลิมด้วย เมื่อสุลต่ากาหลับได้ประกาศสงครามศักดิ์สิทธิ ทว่า ซารพ อุสเซนแห่งเมกกะกลับวางเฉย จึงเป็ฯโอกาสท่อังกฤษสามารถชักชวนซาริฟแห่งเมกกะให้สนับสนุนฝ่ายสัมพันธมิตร  ซึ่งอย่างน้อยก็ช่วยบรรเทาการข่มขู่ของการปฏิวัติมุสลิมได้ สถานการณ์ดังกล่าวจึงเป็นจุดประสงค์พื้นฐาน ซึ่งอยู่เบื้องหลังการติดต่อระหว่างรัฐบาลองกฤษกับชาริฟแห่งเมกกะ เป็นการติดต่อท่เรยกว่า จดหมายโต้ตอบระหว่าง ฮุสเซน-แมคมฮอน ซ฿่งทำให้อาหรับพบางพวกเข้าสู่สงครามโยเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นการเจรจาระหว่างนักชาินิยมอาหรับและฝ่ายสัมพันธมิต ตามมาด้วยข้อตกลงท่เรยกว่า "ข้อตกลง ฮุนเซน-แมคคอย" ได้จัดให้มิความผูกพันทางทหาร ซึ่งตคั้งอยูบนรากฐานของความเข้าใจทางการเมืองทิ่คลุมเครอ นอกจากนั้นอังกฤษตกลงจะสนับสนุนเอกราชของอาหรับในทุกดินแดนท่อุสเซนเิยกร้อง ซึ่งรวมถึงจังหวัดอาหรับออตโตมันทางใต้ของอนาโตเลย รวมถึงคาบสมุทรอาหรรับและดินแดนจากเมดิเตอร์เรเนิยนและฝั่งตะวันออกของทะเลแดงไปถึงอิหร่านและอ่าวเปอร์เซิย อุสเซนยอมรับรู้ความมอำนาจสูงสุดของอังกฤษในเอเดนแต่ฮุสเซนยังมิข้อข้องใจในดินแดนบางแห่งท่แมคาฮอนไม่นับรวมเข้าในสัญญา นั้คือ เมอร์ซินาและอเลกซานเดคตา ตลอดจนส่วนต่างๆ ของซิเริยทางตะวันตกรวมถึงดามัสกัส โอมส์ ฮามา และอเลปโป แมคมาฮอน กล่าวว่ามิได้เป็นอาหรับอย่างแท้จริง แต่ชาริฟยืนยันว่าดินแดนเป็นดินแดนอาหรับอยางแม้จริง  ชารอฟให้เหตุผลว่าไม่ว่าอาหรับมุสลิมหรืออาหรับคริเตยนเป็น "ผู้สืบเชืื้อสายมาจากบิดาเดิยวกัน" การขัดแย้งในเรื่องดินแดนดังกล่าวสร้างความขมขื่นอย่างมากระหว่างนักชาตินิยมอาหรับและอังกฤษซึงจะเห็นได้ชัดในการขัดแย้งในปัญหาปากเลสไตน์ ในเวลาต่อมา

 แรงผลักดันอกอยางทิ่ทำให้อาหรับสนับสนุนฝ่ายสัมพนธมิตรก็คือความโหดร้ายของ เจมาล ปาซา ซึ่งเป็นข้าหลวงออตโตมันและผุ้บัคับบัญชาแห่งซิเริย กรตัดสินประหารชวิตนักชาตินิยมจำนวน 34 คน (27 คนเป็นมุสลิม) โดยถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ทรยสจะขายประเทศให้แก่ชาวต่างชาติ  การขับไล่ชาวอาหรับนับร้อยไปสู่ดินแดนท่ห่างไกลในอนาโตเลย มการจัดตั้งกองทำรวจท่เข้มงวดขึ้น

            ขณะท่เจมาล ปาชากำลังประหัดประหารนักชาตินิยมในซิเริยนั้น ชาวออตโตมันเติร์ก็ตัดสินในเสริ่มกำลังของตนในคาบสมุทรอาหรับให้เข้มแข็.มากขึ้น  การถูกข่มขู่จากความกดดันทางทหารในคาบสมุทรอาหรับและรประหัตประหารในซิเริยทำให้อาหรับเริ่มเสริมสร้างกองทหารขอวนใน้เข้มแข็งมากขึ้น 

             ลอร์ด เวิวลล์ กล่าวว่า คุรค่าของการปฏิวัติดังกลา ไคุรค่าของการปฏิวัติท่มผุ้บังคับบัญาชาวอังกฤษนั้นยิ่งใหญ่เนื่องจากการปฏิวัติได้หันเหความพยายามของกองทัพออตโตมันท่จุจัดการกบพื้นท่ทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับ และป้องกันปกด้านขวาของกองทัพอังกฤาในการเคลื่อนไปสู่ปาเลสไตน์ ยิงกว่านั้นังทำให้การโฆษณาชวนเชื่อของเยอรมนในคาบสมุทรอาหรับยุติลง และกำจัดอันตรายของการก่อตั้งฐานทัพเรือของเยอรมันในทะเลแดง สิ่งเหล่าน้นับว่ามความสำคัญมากและทำให้ความช่วยเหลือด้านทหารและอาวุธแผ่ขยายไปในกองทัพอาหรับ

             เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งท่ 1 ซึ่งได้แสดงให้เห็นในการรบในระวห่าง ตุลาคม ค.ศ. 1914 -ตุลาคม 1918 ฝ่ายท่ได้ทำการรบ ฝ่ายหนึ่งคื อจักรวรรดิออตโตมัน ด้วยความช่วยเหลือจากประเทศอื่นๆ ในฝ่ายมหาอำนาจกลาง และอกฝ่ายคื อบริติช รัสเซิย และฝรั่งเศส จากบรรดาประเทศต่างๆ ในมหาอไนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือชาวอาหรับท่เข้าในกบฎอาหรับและกองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มิเนิย ทิ่เข้าร่วมในขบวนการฝ่ายต่อต้านชาวอาร์มิเนยในช่วงการห่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอาร์มิเนิย พร้อมกับหน่วยทหารอาสาสมัครชาวอามิเนิย

           กองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มิเนิยได้ก่อตั้งกองพลน้อยแห่งสาธารณรัฐอาร์มิเนิยท่ 1 ในปิ ค.ศ. 1918 นอกจากนั้น ชาวอัสซิเริย ได้เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิร ภายหลังจาการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอัสซเริย เืพ่อส่งเสริมให้เกิดสงครามประกาศอิสรภาพอัสซิเริย เขตสงครามน้ได้เป็นเขตสงครามท่ใหญ่ทิ่สุด...

                                       แหล่งท่มา : chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-1.pdf

                                                          : https://artsandculture.google.com/entity/m08qz1l?hl=th

           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...