1940
ตุลาคม อิตาลีโจมตีกรีซจากดินแดนยึดครองอัลเบเนีย ฮิตเลอร์โกรธมากในการเริ่มต้นสงครามครั้งนี้
- พฤจิกายน กองทัพกรีซโจมตีครั้งใหญ่ตามแนวชายแดนอัลเบเนีย
- ธันวา ปฏิบัติการเข็มทิศ ทหารอังกฤษและอินเดียเริ่มการโจมตีกองทัพอิตาลีในอียิปต์กองทัพอิตาลีถูกบังคับให้ล่าถอยไปยังลิเบีย กองทัพอิตาลีล่าถอยจากกรีซไปยังอัลเบเนีย ทหารกรีซเริ่มการโจมตีอัลเอบเนีย กองทัพอังกฤษเริ่มทำการรบในลิเบีย ระหว่างสงครามอิตาลี –กรีซ ทหารกรีซยึดครองอับเบเนียได้หนึ่งในสี่ของดินแดนทั้งหมดอิตาลีเรียร้องกำลังสนับสนุนจากเยอรนี
1941
- มกราคม กองทัพเครือจักรภพอยู่ห่างจากโทรบรุค 70 ไมล์ภายหลังจากการรุกในปฏิบัติการเข็มทิส กองทัพเครือจักรภพสามารถยึดสนามบินใกล้กับเมืองโทรบรุค กองพลอินเดียที่ 4 และ 5 โจมตีเอธิโอเปียภายใต้การขึดครองของอิตาลีจากซูดาน ฮิตเลอร์ยอมส่งกำลังสนับสนุนมาช่วยเหลือกองทัพอิตาลีในแอฟริกาเหนือ โทรบรุคถูกกองทัพเครือจักรภพตีแตก กองทัพอังกฤษยึดเมืองเดอร์นา ห่างไปทางตะวันตกของโรบรุค 100 ไมล์
- กุมภาพันธุ์ เออร์วิน รอมเมล ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บญชาการกองทัพเยอืรมนในแอฟริกาเหนือ หลังจากการสู้รบอยางหนักเป็นเวลาหลายวันกองทัพน้อยที่ 13 แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งขึ้นตรงกับกองกำลังทะเลทรายตะวันตก ได้ทำลายกองทัพที่ 10 แห่งอิตาลี ได้ระหวางยุทธการแห่งบีดา ฟอมม์ ทหารอังกฤษสามารถจับกุมเชบยศึกได้กว่า หนึ่งแสนสามหมื่นนาย นายพลรอมเมลเดินทางถึงทริโปลี ประเทศลิเบีย กองทัพอังกฤษรุกเข้าดซมาลิแลนด์อาณานิคมของอิตาลีในแอฟริกาเหนือและเคลื่อนทัพไปทางทิศตะวันออก กองทัพอังกฤษอ่อนแอเนื่องจากได้ส่งกองกำลังบางส่วนไปสนับสนุนการรบในกรีซ กองทัพอังกฤษสามารถยึดโมกาดิชูเมืองหลวงของโซมาลิแลนด์ได้สำเร็จ
- มีนาคม การรุของอิตาลีตามแนวรบอัลเบเนียเริ่มต้นขึ้น กองทัพอตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอริเตรีย กองกำลังแพนเซือร์ของเยรมนีมาถึงแอฟริกาเหนือกองทัพเยอรมันเริ่มการบุกโดยใช้ยาเกราะ การรุกของอิตาลีในอัลเบเนียยุติลงด้วยความสูญเสียมหาศาลและไม่อาจเปลี่ยนโฉมหน้าของการรบได้
- เมษายนกองทัพอิตาลีพ่ายแพ้ในแอดดิส อะบาบา ประเทศเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันเริ่มการปิดล้อมเมืองทาโทรบรุคกองทัพเยอรมันอีกส่วนหนึ่งเคลื่อทัพไปยึดค่ายคาพุสโซและ..ประชิดชายแดอียิปต์ การโจมตีเมืองโทรบรุคของกองทัพเยอรมันล้มเหลว รับบาลกรซหลบหนีไปยังเกาะครีต กองทัพอังกฤษและออสเตรเลียอพยพจากกรีซมายังเกาะครีตและอียอปต์ นายพลรอมเมลได้รับชัยชนะครั้งใหญ่ที่ช่องเขาฮิลฟายทางผ่านไปสู่ชายแดนอียิปต์ นายพลรอมเมลโจมตีแนวป้องกันกาซาลา กรุงเอเธนส์ถูกยึดครองโดยกองทัพเยอรมัน กรีซยอมจำนน
- พฤษภาคม กองทัพอิตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันภายใต้การบัญชากากรของนายพลรอมเมลพ่ายแพ้หลังถูกโจมตีโต้ “ปฏิบัติกาเบรวิตี”ที่ช่องเขาฮิลฟายา ทั้งสองฝ่ายผลัดเปลี่ยนกันยึดครองค่ายคาพุสโซ่และช่องเขาฮิลฟายา พลร่มเยอรมันถูส่งไปยังเกาะครีตในยุทธการเกาะครีต รัฐบาลกรีซหลบหนีไปอียอปต์ กองทัพอังกฤและเครื่อจักรภพอยพยออกจากเกาะครีต การโจมตีโต้กลับของอังกฤษ “ปฏิบัติการเบรวิตี”ล้าเหลว
- มิถุนายน กองทัพเครื่อจักรภพอพยพออกจากเกาะครีตสำเร็จ ป
- ตุลาคม เกิดการรบครั้งใหญ่ในลิเบีย รอมเมลพยายามต่อต้าน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์”ใกล้กับเมืองโทรบรุค กองทัพอิตาลีกองสุดท้ายยอมจำนนในเอธิโอเปีย
- พฤศจิกายน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์ กองทัพอังกฤษเคลื่อนทัพข้ามลิเบียและสามารถปลดปล่อยการปิดล้อมโทรบรุคได้ชั่วคราว กองทัพเยรมันรุกเข้าไปในอียิปต์เป็นระยะทางกว่า 15 กิโลเมตร
1942
- กุมพาพันธ์ กองทัพเยรมันภายใต้การบัญชาการของนายพลรอมเมลยึดเมืองเอล กาซาลาที่ชายแดลิเบีย
- มิถุนายน กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพนธมิตรออกจากแนวกาซาลา กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคืนได้ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังอียิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมือง เอลอาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู่ครั้งสุดท้าย กองทัพเยอรมันเคลื่อนทัพมาถึงอล อาลาเมน
- กรกฎาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้นเมืองนายพลรอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก กองทัพเยอรมันหยุดชะงักที่เอล อาลาเมน เนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
- สิงหาคม ยุทธการแห่งเอว ฮิลฟา ไม่ไกลจากเอล อาลาเมนเกิดขั้น เป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
- กันยายน นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
- ตุลาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอ่างหนัก นายพลรอมมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชากากรบที่เอล อาลาเมน แม้ว่าจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยานเกราะฝ่ายสัมพันธิตรเจาฝ่านแนวตั้งรับของเยรมนี ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในสำเร็จ
- พฤศจิกายน ฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มตีออกจากเอง อาลาเมนกองทัพเยอรมันล่าถอยจาเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรรีเริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย - อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอังกฤษมุ่งหน้าไปตูนีเซียต่อ
1943
- มกราคม ทัพอังกฤษเริ่มต้นการรุกรามทริโปลีทัพสัมพันธิมิตรยึดทริโปลี ในลิเบียไว้ได้
- กุมภาพันธ์ รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนีเซีย และเร่มสร้างแนวป้องกันใหม่กองทัพสัมพันธมิตรเคลื่อพลไปตูนิเซียเป็นแรกภายในเวลา 2 วัน สัมพันธมิตรยึดครองลิเบียไดว้ได้โดยสมบูรณ์ รอมเมลถอนกำลังกลบขึ้นไปทางเหนือจากแนวป้องกันในตูนิเซีย
แอตแลนติกจึงกลายเป็นสมรภูมิที่เยอรมันและอังกฤษต่อสู้กับเพื่อแย่งชิงเส้นทางเดินเรือในมหาสมุทรแอตแลนติกเพื่อกีดกันการลำเลียงเสบียงและกำลังเสริมซึ่งเป็นสมรภูมิทั้งกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ตลอดช่วงเวลาตั้งแต่ ปี 1940-1943 อย่างไรก็ตามเส้นทางเดินเรือดังกล่าวได้รับการคุ้มครองโดยกองทัพของประเทศอังกฤษและแคนาดา
เยอรมันพ่ายแพ้ที่ตูนิเซียเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้นำสัมพันธมิตร ในการบุกแผนดินใหญ่ภาคพื้นยุโรป “การประชุมที่คาซาบลังก้า” เป็นจุดเริ่มต้นของแผนการบุกชิชิลี
“ปฏิบัติการมินซ์มีท”เป็นการหลอกล่อเยอรมันว่าจะยกทัพไปเกาะครีต หรือที่ที่ไม่ใช่ชิชิลี อิตาลีถูกเชอร์ชิลเรียกว่า “จุดอ่อนแห่งยุโรป”ซึ่งเป็นเป้าหมายต่อไปในการบุกฝ่ายอักษะ
วันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Guadacanal
พอร์ตมอร์สบี Port Moresby เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของปาปัวนิกินี ตั้งอยู่ริมชายฝั่งอ่าวปาปัว ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะนิวกินี จากความพ่ายแพ้ในยุทธการมิดเวย์ญี่ปุ่นเสียทรัพยากรไปมาก ญี่ปุ่นเปลี่ยเป้าหมายทำการรบที่บนดินแดนปาปัว เป็นความพยายามอีกครั้งที่จุยึดพอร์ตมอร์บี
สหรัฐฯก็เตรียมตอบโต้หมู่เกาะโซโลมอน โดยเริ่มจากเกาะกัวดัลคาแนล อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึดราบูล ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลัก
ของกองทัพญี่ปุนในเอเซียอาคเนย์
การทัพที่หมู่เกาะโซโลมอนเป็นกาทัพหลักของสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพเริ่มต้นเมือญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกและยึดครองดินแดนหลายแห่งในหมู่เกาะโซโลมอนบริเตน และเกาะบังเกนวิล ในดินแดแห่งนิวกินี 6 เดือนแรกของปี 1942 ญี่ปุ่นยึดพื้นที่หลายส่วนและเริ่มสร้างท่าเรือและสนามบิน
หลายแห่งเพื่อใช้ป้องกันแนวด้านข้างของการบุกโจมตีในนิวกินีการสร้างแนวปลอดภัยสำหรับฐานทัพหลักของญี่ปุ่นอยู่ที่ราบูล ในนิวบริเตน และเป็นฐานทัพที่จัดเตรียมเพื่อหยุดเส้นทางลำเลียงเสบียงระหว่งมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เพื่อปกป้องการสื่อสารและเส้นทางลำเลียงเสบียงในแปซิฟิกใต้ฝ่ายสัมพันธมิตรได้สนับสนุนการรุกตอบโต้ในนิวกินีและโดดเดี่ยวฐานทัพญี่ปุ่นในราบูล และได้โต้กลับญี่ปุ่นในหมู่เกาะโซโลมอนด้วยการยกพลขึ้นบกที่กัวดาลคาแนล ญี่ปุ่นดำเนินการรุกรานพอร์ตมอร์สบี้ตามแผนของตนแต่ในเดือนกรกฏา ญี่ปุ่นต้องหันมาให้ความสำคัญกับการทัพที่กัวดัลคะแนลมากขึ้น และกองทัพญี่ปุ่นในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไปยังทางตอนเหนือของเกาะที่ซึ่งกองทัพนี้ต้องเผชิญกับกำลังผสมระหว่าสหรัฐกับออสเตรเลีย กัวดัลคะแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ในเดื่อนตุลาญี่ปุ่นเสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
ในช่วงแรกของการปะทะกันที่กัวดาคาแนลญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบแต่แล้ว สัมพันธมิตรได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังจากพอร์ตมอร์สบีไปทางตอนเหนือของเกาะ การทุ่มเททรัพยากรทั่งทหารและเรือรบจำนวนมากในยุทธการนี้
การทัพครั้งนี้เป็นการต่อสู้แบบผสมผสานการยกพลขึ้นบกของทั้งส่องฝ่าย และติดตามด้วยยุทธการหลายครั้งในตอนกลางและเหนือของหมู่เกาะโซโลมอน และรอบๆ เกาะนิวกีนี และเกาะบังเกนวิลล์
การทัพเป็นการต่อสู้ทั้งบนแผ่นดิน ทะเล และทางอากาศ สัมพันธมิตรยึดบางส่วนของหมู่เกาะโซโลมอนคืนมาได้ และสามารถแบ่งแยกและโดดเดี่ยวญี่ปุ่นบางต่ำแหน่งซึ่งตัดผ่าน การทัพหมู่เกาะโซโลมอนซึ่งมาบรรจบกับการทัพนิวกีนีได้
ภายหลังจากการทัพเกาะกัวดาร์คาแนล สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัตการทางทหารต่างๆ ต่อกองทัพญี่ปุน่ในมหาสมุทร แปซิฟิก พฤษภาคม 1943 ทัพเรืออเมริกาถูกสงไปโจมตีกองทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะอลูเตียน และเริ่มต้นปฏิบัติการหลักในการโดดเดี่ยวเมืองราบูล
สหรัฐฯก็เตรียมตอบโต้หมู่เกาะโซโลมอน โดยเริ่มจากเกาะกัวดัลคาแนล อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึดราบูล ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลัก
ของกองทัพญี่ปุนในเอเซียอาคเนย์
การทัพที่หมู่เกาะโซโลมอนเป็นกาทัพหลักของสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพเริ่มต้นเมือญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกและยึดครองดินแดนหลายแห่งในหมู่เกาะโซโลมอนบริเตน และเกาะบังเกนวิล ในดินแดแห่งนิวกินี 6 เดือนแรกของปี 1942 ญี่ปุ่นยึดพื้นที่หลายส่วนและเริ่มสร้างท่าเรือและสนามบิน
หลายแห่งเพื่อใช้ป้องกันแนวด้านข้างของการบุกโจมตีในนิวกินีการสร้างแนวปลอดภัยสำหรับฐานทัพหลักของญี่ปุ่นอยู่ที่ราบูล ในนิวบริเตน และเป็นฐานทัพที่จัดเตรียมเพื่อหยุดเส้นทางลำเลียงเสบียงระหว่งมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เพื่อปกป้องการสื่อสารและเส้นทางลำเลียงเสบียงในแปซิฟิกใต้ฝ่ายสัมพันธมิตรได้สนับสนุนการรุกตอบโต้ในนิวกินีและโดดเดี่ยวฐานทัพญี่ปุ่นในราบูล และได้โต้กลับญี่ปุ่นในหมู่เกาะโซโลมอนด้วยการยกพลขึ้นบกที่กัวดาลคาแนล ญี่ปุ่นดำเนินการรุกรานพอร์ตมอร์สบี้ตามแผนของตนแต่ในเดือนกรกฏา ญี่ปุ่นต้องหันมาให้ความสำคัญกับการทัพที่กัวดัลคะแนลมากขึ้น และกองทัพญี่ปุ่นในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไปยังทางตอนเหนือของเกาะที่ซึ่งกองทัพนี้ต้องเผชิญกับกำลังผสมระหว่าสหรัฐกับออสเตรเลีย กัวดัลคะแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ในเดื่อนตุลาญี่ปุ่นเสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
ในช่วงแรกของการปะทะกันที่กัวดาคาแนลญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบแต่แล้ว สัมพันธมิตรได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังจากพอร์ตมอร์สบีไปทางตอนเหนือของเกาะ การทุ่มเททรัพยากรทั่งทหารและเรือรบจำนวนมากในยุทธการนี้
การทัพครั้งนี้เป็นการต่อสู้แบบผสมผสานการยกพลขึ้นบกของทั้งส่องฝ่าย และติดตามด้วยยุทธการหลายครั้งในตอนกลางและเหนือของหมู่เกาะโซโลมอน และรอบๆ เกาะนิวกีนี และเกาะบังเกนวิลล์
การทัพเป็นการต่อสู้ทั้งบนแผ่นดิน ทะเล และทางอากาศ สัมพันธมิตรยึดบางส่วนของหมู่เกาะโซโลมอนคืนมาได้ และสามารถแบ่งแยกและโดดเดี่ยวญี่ปุ่นบางต่ำแหน่งซึ่งตัดผ่าน การทัพหมู่เกาะโซโลมอนซึ่งมาบรรจบกับการทัพนิวกีนีได้
ภายหลังจากการทัพเกาะกัวดาร์คาแนล สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัตการทางทหารต่างๆ ต่อกองทัพญี่ปุน่ในมหาสมุทร แปซิฟิก พฤษภาคม 1943 ทัพเรืออเมริกาถูกสงไปโจมตีกองทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะอลูเตียน และเริ่มต้นปฏิบัติการหลักในการโดดเดี่ยวเมืองราบูล
วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:1943
- การล้อมสตาลินกราดใกล้จะสิ้นสุด สหภาพโซเวียตประกาศล่วงหน้าว่าการปิดล้อมเลนินกราดได้รับการปลดปล่อยแล้วในขณะที่ ทัพโซเวียตก็เริ่มการโจมตีครั้งใหม่ที่สติลินกราด และเริ่มการโจมตีใหม่ทางเหนือ(เลนินการด)รวมถึงคอเคซัส ในที่สุดชาวเมืองสติลินกราดได้รับการปลอปล่อย นายพล กิออร์กี ซุคอฟ ได้เลื่อนขั้นเป็นจอมพล เนื่องจากการโจมตีสตกลินกราดใกล้สิ้นสุด กองทัพแดงได้รับชับชนะต่อเนื่องที่คอเคซัน ปละยึด Vitebsk ไว้ได้ กองทัพอากาศทั้งอังกฤษและสหรัฐโจมตีเบอร์ลินและฐานทัพเรือที่ใหญ่ที่สุดของเยอรมัน กองกำลังที่ 6 ในสตาลินกราดยอมจำนน
- การประชุมที่คาซาบลังกา ระหว่างผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อหาข้อสรุปในการบุกแผ่นดินใหญ่ยุโรป โดยมีข้อตกลงว่าด้วย “การยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข”
เริ่มการโจมตีเขตอุสาหกรรมในแคว้น Ruhr เยอรมันซึ่งการโจมตีครั้งนี้กวา 4 เดือน เนอร์นแบกร์กถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก มิวนิกและเวียนนาถูกทิ้งระเบิด เช่นเดียวกับเบอร์ลิน
นายพลแห่งกองทัพสหรัฐฯดไวท์ ดี.ไอเซนฮาวร์ ได้รับเลือกให้บัญชาการกองทัพสัมพันธมิตรในทวีปยุโรป
เยอรมันประกาศสงครามเบ็ดเสร็จกับฝ่ายสัมพันธมิตร พรรคนาซีกวาดล้างกลุ่ม White rose movement และกลุ่มยุวชนต่อต้านนาซี
-ชาวญี่ปุนอพยพออกจาก บูนา นิวกีนี ได้อย่างสมบูรณ์ ทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเพิ่มเติมที่ Lae นิวกีนี ทัพญี่ปุ่นยังคงต่อสู้ที่เกาะกัวดาคาแนล แต่ยกเลิกปฏิบัติการปาปัวแล้ว เรื่อรบชิคาโกอับปางที่ยุทธนาวีเกาะเรนเนลใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล ญี่ปุ่นอพยพจากกัวดาคาแนล กัวดาคาแนลถูกยึดครองโดยโดยสหรัฐอเมริกาเป็นความสำเร็จครั้งแรกของกองทัพอเมริกันในแปซิฟิก
- การลอบสังหารนายพลยามาโมโต้โดยคำสั่งตรงมาจากสำนักงานประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกายังกองทัพอากาศที่สิบสาม ในวันที่ 18 เมษายน โดยการถอนรหัสจากกองทัพญี่ปุ่น ในขณะที่ยามาโมโต้ ออกตรวจเยี่ยมทหารที่ Bougainvillea เครื่องบินยามาโมโต้ ถูกยิงตกโดยเครื่องโจมตี P.38
สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัติการโดดเดี่ยวเมื่องระบูลโดยยึดครองเกาะรอบ ๆ เพื่อตัดกำลังสนับสนุนในเดือนพฤษภาคม สำหรับเยอรมัน พฤษภาคม 1943 กองเรือเยอรมันได้รับความสูญเสียอย่างหนักจนถูกเรียกว่า “พฤษภาอนธการ”
- รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนิเซีย และเริ่มสร้างแนวป้องกันใหม่ที่ Mareth สัมพันธมิตรเคลื่อนพลไปยังตูนิเซียเป็นครั้งแรก สัมพันธมิตรยึดครองลิเบีย รอมเมลเตรียมต่อสู้กับกองทัพอเมริกัน ในทางตะวันตกของตูนิเซีย กองทัพอเมริกันถูกบีบให้ถอยในเวลาไม่นาน รอมเมลถอนกำลังกลับขึ้นไปงเหนือจากแนวป้องกัน Mareth ในตูนิเซีย ด้วยความเหนือกว่าทั้งทางด้านยุทธปัจจัยและกำลังพลที่เหนือกว่าฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้สุดท้ายฝ่ายอักษะก็เป็นพ่ายแพ้ทหารเยอรมันและอิตาลีกว่า 230,00 คน ถูกจับเป็นเชลยศึก ในเดือนพฤษภาคม
- กรกฎาคม กองกำลังสัมพันธมิตรบุกซิชิลี ซิชิลียอมจำนนส่งผลให้ มุสโสลินีถูกโค่นล้มอำนาจ มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่
- 3 กันยายนกองกำลังผสมสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกบริเวณชายฝั่งทางตอนใต้อิตาลี 8 กันยายน อิตาลียอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
- 13 ตุลา รัฐบาลใหม่อิตาลีประกาศสงครามกับเยอรมัน
- การประชุมที่มอสโคว์ 30 ตุลา รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของสี่ชาติคือสหรัฐอเมริกา อังกฤษ โมโลดอฟ และจีน ร่วมประชุมกันที่มอสโคว์ มติของการประชุมคือเห็ควรจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ
เยอรมันและโซเวียตต่างเตรียมแผนการสำหรับการรุกครั้งใหญ่แถบรัสเซียตอนกลาง ในยุทธการเคิสก์ซึ่งเป็นทั้งชุดของการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงเป็นการสงครามทางอากาศวนเดียวที่ราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์..
กันยายน สัมพันธมิตรเริ่มการบุกครองแผ่นดินใหญ่อิตาลีตามด้วยการสงบศึกกับสัมพันธมิตรของอิตาลี เยอรมันปลดอาวุธและยึดการควบลคุมทางทหารในพื้นที่อิตาลี่ทั้งหมด และสร้างแนวป้องกันขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทะลวงฝ่ายแนวป้องกันเยอรมันได้หลายแนวจนถึงแนวป้องกันหลกอของเยอรมันในเดื่อนพฤศจิกายน
22 พฤศจิกายน การประชุมที่ไคโร โดยผู้นำสหรัฐฯ อังกฤษ และจีนทั้งสามร่วมลงนามในคำประกาศไคโลกำหนดเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
พศจิกายน 1943 แฟรงกลิน โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิลล์ เดินทางไปพบกับเจียง ไคเชค ระหว่างการประชุมกรุงไคโรและอีกครั้งกับโจเซฟ สตาลินระหว่างการประชุมกรุงเตหะราน และผลการประชุมทังสองครั้งได้ข้อตกลงว่าสัมพันธมิตรตะวันตกจะบุกยุโรปภายในปี 1944 และสหภาพโซเวียตจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นภายในสามเดือนหลังเยอรมันยอมแพ้
- การประชุมที่คาซาบลังกา ระหว่างผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อหาข้อสรุปในการบุกแผ่นดินใหญ่ยุโรป โดยมีข้อตกลงว่าด้วย “การยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข”
เริ่มการโจมตีเขตอุสาหกรรมในแคว้น Ruhr เยอรมันซึ่งการโจมตีครั้งนี้กวา 4 เดือน เนอร์นแบกร์กถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก มิวนิกและเวียนนาถูกทิ้งระเบิด เช่นเดียวกับเบอร์ลิน
นายพลแห่งกองทัพสหรัฐฯดไวท์ ดี.ไอเซนฮาวร์ ได้รับเลือกให้บัญชาการกองทัพสัมพันธมิตรในทวีปยุโรป
เยอรมันประกาศสงครามเบ็ดเสร็จกับฝ่ายสัมพันธมิตร พรรคนาซีกวาดล้างกลุ่ม White rose movement และกลุ่มยุวชนต่อต้านนาซี
-ชาวญี่ปุนอพยพออกจาก บูนา นิวกีนี ได้อย่างสมบูรณ์ ทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเพิ่มเติมที่ Lae นิวกีนี ทัพญี่ปุ่นยังคงต่อสู้ที่เกาะกัวดาคาแนล แต่ยกเลิกปฏิบัติการปาปัวแล้ว เรื่อรบชิคาโกอับปางที่ยุทธนาวีเกาะเรนเนลใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล ญี่ปุ่นอพยพจากกัวดาคาแนล กัวดาคาแนลถูกยึดครองโดยโดยสหรัฐอเมริกาเป็นความสำเร็จครั้งแรกของกองทัพอเมริกันในแปซิฟิก
- การลอบสังหารนายพลยามาโมโต้โดยคำสั่งตรงมาจากสำนักงานประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกายังกองทัพอากาศที่สิบสาม ในวันที่ 18 เมษายน โดยการถอนรหัสจากกองทัพญี่ปุ่น ในขณะที่ยามาโมโต้ ออกตรวจเยี่ยมทหารที่ Bougainvillea เครื่องบินยามาโมโต้ ถูกยิงตกโดยเครื่องโจมตี P.38
สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัติการโดดเดี่ยวเมื่องระบูลโดยยึดครองเกาะรอบ ๆ เพื่อตัดกำลังสนับสนุนในเดือนพฤษภาคม สำหรับเยอรมัน พฤษภาคม 1943 กองเรือเยอรมันได้รับความสูญเสียอย่างหนักจนถูกเรียกว่า “พฤษภาอนธการ”
- รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนิเซีย และเริ่มสร้างแนวป้องกันใหม่ที่ Mareth สัมพันธมิตรเคลื่อนพลไปยังตูนิเซียเป็นครั้งแรก สัมพันธมิตรยึดครองลิเบีย รอมเมลเตรียมต่อสู้กับกองทัพอเมริกัน ในทางตะวันตกของตูนิเซีย กองทัพอเมริกันถูกบีบให้ถอยในเวลาไม่นาน รอมเมลถอนกำลังกลับขึ้นไปงเหนือจากแนวป้องกัน Mareth ในตูนิเซีย ด้วยความเหนือกว่าทั้งทางด้านยุทธปัจจัยและกำลังพลที่เหนือกว่าฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้สุดท้ายฝ่ายอักษะก็เป็นพ่ายแพ้ทหารเยอรมันและอิตาลีกว่า 230,00 คน ถูกจับเป็นเชลยศึก ในเดือนพฤษภาคม
- กรกฎาคม กองกำลังสัมพันธมิตรบุกซิชิลี ซิชิลียอมจำนนส่งผลให้ มุสโสลินีถูกโค่นล้มอำนาจ มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่
- 3 กันยายนกองกำลังผสมสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกบริเวณชายฝั่งทางตอนใต้อิตาลี 8 กันยายน อิตาลียอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
- 13 ตุลา รัฐบาลใหม่อิตาลีประกาศสงครามกับเยอรมัน
- การประชุมที่มอสโคว์ 30 ตุลา รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของสี่ชาติคือสหรัฐอเมริกา อังกฤษ โมโลดอฟ และจีน ร่วมประชุมกันที่มอสโคว์ มติของการประชุมคือเห็ควรจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ
เยอรมันและโซเวียตต่างเตรียมแผนการสำหรับการรุกครั้งใหญ่แถบรัสเซียตอนกลาง ในยุทธการเคิสก์ซึ่งเป็นทั้งชุดของการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงเป็นการสงครามทางอากาศวนเดียวที่ราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์..
กันยายน สัมพันธมิตรเริ่มการบุกครองแผ่นดินใหญ่อิตาลีตามด้วยการสงบศึกกับสัมพันธมิตรของอิตาลี เยอรมันปลดอาวุธและยึดการควบลคุมทางทหารในพื้นที่อิตาลี่ทั้งหมด และสร้างแนวป้องกันขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทะลวงฝ่ายแนวป้องกันเยอรมันได้หลายแนวจนถึงแนวป้องกันหลกอของเยอรมันในเดื่อนพฤศจิกายน
22 พฤศจิกายน การประชุมที่ไคโร โดยผู้นำสหรัฐฯ อังกฤษ และจีนทั้งสามร่วมลงนามในคำประกาศไคโลกำหนดเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
พศจิกายน 1943 แฟรงกลิน โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิลล์ เดินทางไปพบกับเจียง ไคเชค ระหว่างการประชุมกรุงไคโรและอีกครั้งกับโจเซฟ สตาลินระหว่างการประชุมกรุงเตหะราน และผลการประชุมทังสองครั้งได้ข้อตกลงว่าสัมพันธมิตรตะวันตกจะบุกยุโรปภายในปี 1944 และสหภาพโซเวียตจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นภายในสามเดือนหลังเยอรมันยอมแพ้
วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Red Army
กองทัพแดงของกรรมกรและชาวนา Raboche-krest’yanskaya armiya เกิดขึ้นเป็นกลุ่มการรบคอมมิวนิสต์ปฏิบัติของสกภาพโซเวียตระหว่างสงครามกลางเมืองรัสเซีย ค.ศ.1918-1922 ต่อมาเติบโตเป็ฯกองทัพแห่งชาติของสหภาพโซเวียต จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1930 กองทัพแดงเป็หนึ่งในกองทัพใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ “กองทัพแดง” หมายถึงสีดั้งเดิมของขบวนการคอมมิวนิสต์เมื่องสัญลักษณ์แห่งชาติโซเวียตแทนที่สัญลักษณ์ปฏิวัติ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1946 กองทัพอดงจึงถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกองทัพบกโซเวียต กองทัพแดงได้รับชื่อเสิยงอย่างกว้างขวางว่าเป็นกำลังตัดสินชี้ขาดในชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรในเขตสงครามยุโรปสงครามโลกครั้งที่สอง
ปฏิวัติรัสเซีย การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ เป้นการปฏิวัติเฉพาะบริเวณนครเปโตรกราด ภายใต้ภาวะความวุ่นวานสามชิกรัฐสภาหลวงดูมาถือโอกาสเข้ายึดอำนาจบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาล เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล แบะพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 พระเจ้าซาร์องค์สุดท้ายแห่งรัสเซียทรงสละราชย์
อำนาจคู่ ถือกำเนิดขึ้น รัฐบาลเฉพาะกาลครอบครองอำนาจรัฐ ขณะที่เครือข่ายโซเวียตแห่งชาติซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมได้รับการสวามิภักดิ์จากชนชั้นล่าวและพวกฝ่ายซ้าย
ต่อมารัฐบาลเฉพาะกาลตัดสินใจที่จะทำสงครามกับเยอรมันต่อไป บอลเชวิกและนักสังคมนิยมกลุ่มต่างๆ เริ่มออกมารณรงค์ให้ยุติการสู้รบกับเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่ 1 บอลเชวิกได้ทำการเปลี่ยนกองกำลังจากชนชั้นแรงงานให้ไปเป็น เรอการ์ด ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นกองทัพแดง และกองกำลันี้ที่บอลเชวิกควบคุมเอาใจใส่อย่างมีนัยสำคัญ
ปฏิวัติเดือนตุลาคม พรรคบอลเชวิกภายใต้การนำ วลาดมีร์ เลนิน และเช่าชนชั้นแรงงานโซวียตเข้าล้มล้างการปกครองของรัฐบาละฉพาะการ ณ กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก พวกบอลเชวิกแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นผู้นำในกระทรวงต่าง ๆ มากมายรวมไปถึงการเข้ายึดอำนาจตามชนบทต่าง ๆ จัดตั้งหน่วย เชกา เพื่อปราบปรามการต่อต้านการปฏิบัติ และเพ่บรรลุเป้าหมายกายุติสงครามกับเยอรมนนี บอลเชวิกได้ร่วมลงนามใน สนธิสัญญาเบรสต์-ลิโตฟส์กกับเยอรมัน
สงครามกลางเมืองอุบัติขึ้น กองทัพแดง กับกองทัพขาว ดำเนินไปหลายปี แต่ท้ายที่สุดกองทัพแดงของฝ่ายบอลเชวิกมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือฝ่ายกองทัพขาว และการสิ้นสุดของระลอการปฏิวัติ และเข้าสู่ยุคสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
ในสมัยของสตาลินได้มัการพยายามพัฒนาประเทศ ให้เป็นอุตสาหกรรมหนักส่วนหนึ่งก็เพื่อการสร้างอาวุธที่ทันสมัยให้กองทัพแองและยังมีการอบรมสร้างนายทหารให้มีความสามารถมากขึ้น แต่ในช่วงการกวาดล้างของสตาลิน นายทหารฝีมือดีถูกกวาดล้างไปเป็นอันมาก กองทัพแดงในช่วงต้นสงครามจึงไม่เข้มแข็ง การเปลี่ยนโครงสร้างการบังคับบัญชา การเข้ามามีบทบามกาบัญชาการของพรรคคิมมิวนิสต์มากขึ้น และนำนายทหารที่มีความสามารถที่เหลืออยู่เข้ามาบัญชาการกองทัพ การย้ายโรงงานการผลิตอาวุธ เป็นปัจจัยที่ทำให้กองทัพแดงมีประสทิธิภาพมากขึ้น
กองทัพแดงสามารถหยุดยั้งการรุกรานสตาลินกราด กองทัพที่ 6 ของเยรมันยอมจำนน กองทัพแดงกลายเป็นฝ่ายบุก มีโอกาสรุกเข้าไปในยุโรปตะวันออกและตีเอบร์ลินแตก สหภาพโซเวียตขยายอำนาจครอบครองยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตเพิ่มขึ้นเป็น 15 สาธารณรัฐ
ต่อำมาแผ่นดินญี่ปุ่นถูกกองทัพสหรัฐฯทิ้งระเบิดปรมาณู กองทัพแดงบุกเข้าโจมตีกองทัพญี่ปุนที่ประจำการในแมนจูเรียและเกาหลี ซึ่งเป็นการโจมตีภายมต้ข้อตกลงลับของสตาลิน รูสเวลล์และเชอชิลล์ ว่าจะบุกญี่ปุ่นภายใน 3 เดือนหลังจากเยอรมันยอมแพ้
ปฏิวัติรัสเซีย การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ เป้นการปฏิวัติเฉพาะบริเวณนครเปโตรกราด ภายใต้ภาวะความวุ่นวานสามชิกรัฐสภาหลวงดูมาถือโอกาสเข้ายึดอำนาจบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาล เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล แบะพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 พระเจ้าซาร์องค์สุดท้ายแห่งรัสเซียทรงสละราชย์
อำนาจคู่ ถือกำเนิดขึ้น รัฐบาลเฉพาะกาลครอบครองอำนาจรัฐ ขณะที่เครือข่ายโซเวียตแห่งชาติซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมได้รับการสวามิภักดิ์จากชนชั้นล่าวและพวกฝ่ายซ้าย
ต่อมารัฐบาลเฉพาะกาลตัดสินใจที่จะทำสงครามกับเยอรมันต่อไป บอลเชวิกและนักสังคมนิยมกลุ่มต่างๆ เริ่มออกมารณรงค์ให้ยุติการสู้รบกับเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่ 1 บอลเชวิกได้ทำการเปลี่ยนกองกำลังจากชนชั้นแรงงานให้ไปเป็น เรอการ์ด ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นกองทัพแดง และกองกำลันี้ที่บอลเชวิกควบคุมเอาใจใส่อย่างมีนัยสำคัญ
ปฏิวัติเดือนตุลาคม พรรคบอลเชวิกภายใต้การนำ วลาดมีร์ เลนิน และเช่าชนชั้นแรงงานโซวียตเข้าล้มล้างการปกครองของรัฐบาละฉพาะการ ณ กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก พวกบอลเชวิกแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นผู้นำในกระทรวงต่าง ๆ มากมายรวมไปถึงการเข้ายึดอำนาจตามชนบทต่าง ๆ จัดตั้งหน่วย เชกา เพื่อปราบปรามการต่อต้านการปฏิบัติ และเพ่บรรลุเป้าหมายกายุติสงครามกับเยอรมนนี บอลเชวิกได้ร่วมลงนามใน สนธิสัญญาเบรสต์-ลิโตฟส์กกับเยอรมัน
สงครามกลางเมืองอุบัติขึ้น กองทัพแดง กับกองทัพขาว ดำเนินไปหลายปี แต่ท้ายที่สุดกองทัพแดงของฝ่ายบอลเชวิกมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือฝ่ายกองทัพขาว และการสิ้นสุดของระลอการปฏิวัติ และเข้าสู่ยุคสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
ในสมัยของสตาลินได้มัการพยายามพัฒนาประเทศ ให้เป็นอุตสาหกรรมหนักส่วนหนึ่งก็เพื่อการสร้างอาวุธที่ทันสมัยให้กองทัพแองและยังมีการอบรมสร้างนายทหารให้มีความสามารถมากขึ้น แต่ในช่วงการกวาดล้างของสตาลิน นายทหารฝีมือดีถูกกวาดล้างไปเป็นอันมาก กองทัพแดงในช่วงต้นสงครามจึงไม่เข้มแข็ง การเปลี่ยนโครงสร้างการบังคับบัญชา การเข้ามามีบทบามกาบัญชาการของพรรคคิมมิวนิสต์มากขึ้น และนำนายทหารที่มีความสามารถที่เหลืออยู่เข้ามาบัญชาการกองทัพ การย้ายโรงงานการผลิตอาวุธ เป็นปัจจัยที่ทำให้กองทัพแดงมีประสทิธิภาพมากขึ้น
กองทัพแดงสามารถหยุดยั้งการรุกรานสตาลินกราด กองทัพที่ 6 ของเยรมันยอมจำนน กองทัพแดงกลายเป็นฝ่ายบุก มีโอกาสรุกเข้าไปในยุโรปตะวันออกและตีเอบร์ลินแตก สหภาพโซเวียตขยายอำนาจครอบครองยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตเพิ่มขึ้นเป็น 15 สาธารณรัฐ
ต่อำมาแผ่นดินญี่ปุ่นถูกกองทัพสหรัฐฯทิ้งระเบิดปรมาณู กองทัพแดงบุกเข้าโจมตีกองทัพญี่ปุนที่ประจำการในแมนจูเรียและเกาหลี ซึ่งเป็นการโจมตีภายมต้ข้อตกลงลับของสตาลิน รูสเวลล์และเชอชิลล์ ว่าจะบุกญี่ปุ่นภายใน 3 เดือนหลังจากเยอรมันยอมแพ้
WWII:Operation Torch
ปฏิบัติการคบเพลิง เป็นการโจมตีอาณานิคมแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสเขตวีซีแผนของฝ่ายสัมพันธมิตรคือการยกพลขึ้นบกเพื่อยึดท่าเรือและสนามบินที่สำคัญในโมร็อกโกและอแอลจีเรียเป้าหมายหลักของแผนปฏิบัติการนี้อยู่ที่เมืองสำคัญสามเมืองนั้นคือ กาซาบล็องกา, ออร็อง (ออราน)และแอเจียร์ ถ้าแผนการสำเร็จลุล่วงด้วยดีฝ่ายสัมพันธมิตรจะบุกไปทางตะวันออกมุ่งสู่ตูนิเซียต่อไป
ปัญหาในการปฏิบัติการคบเพลิงนอกจากเรื่องตำแหน่งที่จะยกพลขึ้นบก ปัญหาเรื่องเวลา และยังมีปัญหาที่ต้องคอยประสานงานไม่ให้ฝรั่งเศสที่อยู่บริเวณนั้นเข้าขัดขวาง การจะทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ของผรังเศสในบริเวณยกพลขึ้นบำเป็นเรื่องยุ่งยากดินแดนแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสยังคมขึ้นต่อรัฐบาลซีวี หรือรัฐบาลเปแตง ซึ่งสหรัฐฯบังมีความสัมพันธ์ทางการทูตแตะอังกฤษถูกตัดความสัมพันธ์แล้ว ผู้บัญชาการสูงสุดในแอลจีเรียของฝรั่งเศส ในโมร็อกโค ขึนตรงกับนายพลเรือยีน ฟรังซัวร์ ดาร์ลัง ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของฝรั่งเศสในแอฟริกา นายพลฝรั่งเศสยินดีให้ความร่วมมือกับสัมพันธ์มิตรในแบบไม่เปิดเผยจึงมีการประชุมกันแบบลับๆ มีนายทหารซึ่งเคยถูกเยอรมันคุมขังให้ความร่วมมือกับสัมพันธมิตร แต่เกิดการไม่ยอมรับจากลูกน้อง จึงมีการแจ้งเรื่องการยกพลขึ้นบกต่อรัฐบาลเปแตง
ปฏิบัติการคลาดเคลื่อนเนื่องจากการถูกขัดขวางโดยทหารฝรั่งเศสซีวี อย่างไรก็ตามในวันที่ 3 พฤศจิกายน กองทัพฝรั่งเศสในแอฟริกาเหนือจึงลงนามเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งนายพลไอเซนฮาวน์รับลงนามอนุมัติทันที่
นายพลดไวต์ เดวิด ไอเซนฮาวร์ เกิดที่เมืองเดนิสัน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา เป็นบุตรคนที่ 3 ในบรรดาพี่น้อง 7 คน เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนนายรอยทหารบกเวสต์พอยต์ นายพลห้าดาว(เทียบเท่ากับจอมพล)ดไวต์ ดี ไอเซนฮาวร์ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกในครั้งนี้
กองกำลังอเมริกันยกพลขึ้นบกช่วงก่อนฟ้าสางที่กาซาบลังก้าของวันที่ 8 พฤศจิกายน 1942 โดยไม่มีการทิ้งระเบิดก่อนการโจมตีเพราะฝ่ายสัมพันธมิตรคาดการณ์ว่ากองกำลังฝรั่งเศสเขตวีซีจะไม่ทำการต่อต้านใดๆ ซึ่งเป็นการคาดการณ์ที่ผิดพลาดกำลังฝรั่งเศสบางส่วนต่อต้านสัมพันธมิตร
ที่ออร็อง กองกำลังสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่หาดสามแห่ง สองแห่งอยู่ทางตะวันตกและอีกแห่งอยู่ทางตะวันออกของเมืองออร็องตามลำดับการยกพลขึ้นบกเพื่อยึดหาดที่อยู่ทางตะวันตกต้องประสบปัญหาล่าช้าเนื่องจากหลายสาเหตุ ซึ่งนำไปปรับปรุงแก้ไขในปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกในครังต่อๆ ไป เรือประจัญบานของอังกฤษยิ่งสนับสนุนขึ้นฝั่ง ฝรั่งเศสซีวียอมจำนนในวันที่ 9 พฤศจิกายน
สหรัฐอเมริกาใช้พลร่มเข้าปฏิบัติการเป็นครังแรก ซึ่งบินจากเกาะอังกฤษฝ่านสเปนและปล่อยลงใกล้เมืองออร็องเพื่อยึดสนามบินที่สำคัญ มีปัญหาต่างๆ จิปาถะ แต่อย่างไรก็บรรลุวัตถุประสงค์
แอลเจียร์ มีการต่อต้านจากฝรั่งเศษซีวีเบาบาง กองกำลังสัมพันธมิตรขึ้นบกสำเร็จและเข้าโอบล้อมกองกำลังฝรั่งเศสวีซี
ปัญหาในการปฏิบัติการคบเพลิงนอกจากเรื่องตำแหน่งที่จะยกพลขึ้นบก ปัญหาเรื่องเวลา และยังมีปัญหาที่ต้องคอยประสานงานไม่ให้ฝรั่งเศสที่อยู่บริเวณนั้นเข้าขัดขวาง การจะทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ของผรังเศสในบริเวณยกพลขึ้นบำเป็นเรื่องยุ่งยากดินแดนแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสยังคมขึ้นต่อรัฐบาลซีวี หรือรัฐบาลเปแตง ซึ่งสหรัฐฯบังมีความสัมพันธ์ทางการทูตแตะอังกฤษถูกตัดความสัมพันธ์แล้ว ผู้บัญชาการสูงสุดในแอลจีเรียของฝรั่งเศส ในโมร็อกโค ขึนตรงกับนายพลเรือยีน ฟรังซัวร์ ดาร์ลัง ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของฝรั่งเศสในแอฟริกา นายพลฝรั่งเศสยินดีให้ความร่วมมือกับสัมพันธ์มิตรในแบบไม่เปิดเผยจึงมีการประชุมกันแบบลับๆ มีนายทหารซึ่งเคยถูกเยอรมันคุมขังให้ความร่วมมือกับสัมพันธมิตร แต่เกิดการไม่ยอมรับจากลูกน้อง จึงมีการแจ้งเรื่องการยกพลขึ้นบกต่อรัฐบาลเปแตง
ปฏิบัติการคลาดเคลื่อนเนื่องจากการถูกขัดขวางโดยทหารฝรั่งเศสซีวี อย่างไรก็ตามในวันที่ 3 พฤศจิกายน กองทัพฝรั่งเศสในแอฟริกาเหนือจึงลงนามเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งนายพลไอเซนฮาวน์รับลงนามอนุมัติทันที่
นายพลดไวต์ เดวิด ไอเซนฮาวร์ เกิดที่เมืองเดนิสัน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา เป็นบุตรคนที่ 3 ในบรรดาพี่น้อง 7 คน เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนนายรอยทหารบกเวสต์พอยต์ นายพลห้าดาว(เทียบเท่ากับจอมพล)ดไวต์ ดี ไอเซนฮาวร์ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกในครั้งนี้
กองกำลังอเมริกันยกพลขึ้นบกช่วงก่อนฟ้าสางที่กาซาบลังก้าของวันที่ 8 พฤศจิกายน 1942 โดยไม่มีการทิ้งระเบิดก่อนการโจมตีเพราะฝ่ายสัมพันธมิตรคาดการณ์ว่ากองกำลังฝรั่งเศสเขตวีซีจะไม่ทำการต่อต้านใดๆ ซึ่งเป็นการคาดการณ์ที่ผิดพลาดกำลังฝรั่งเศสบางส่วนต่อต้านสัมพันธมิตร
ที่ออร็อง กองกำลังสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่หาดสามแห่ง สองแห่งอยู่ทางตะวันตกและอีกแห่งอยู่ทางตะวันออกของเมืองออร็องตามลำดับการยกพลขึ้นบกเพื่อยึดหาดที่อยู่ทางตะวันตกต้องประสบปัญหาล่าช้าเนื่องจากหลายสาเหตุ ซึ่งนำไปปรับปรุงแก้ไขในปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกในครังต่อๆ ไป เรือประจัญบานของอังกฤษยิ่งสนับสนุนขึ้นฝั่ง ฝรั่งเศสซีวียอมจำนนในวันที่ 9 พฤศจิกายน
สหรัฐอเมริกาใช้พลร่มเข้าปฏิบัติการเป็นครังแรก ซึ่งบินจากเกาะอังกฤษฝ่านสเปนและปล่อยลงใกล้เมืองออร็องเพื่อยึดสนามบินที่สำคัญ มีปัญหาต่างๆ จิปาถะ แต่อย่างไรก็บรรลุวัตถุประสงค์
แอลเจียร์ มีการต่อต้านจากฝรั่งเศษซีวีเบาบาง กองกำลังสัมพันธมิตรขึ้นบกสำเร็จและเข้าโอบล้อมกองกำลังฝรั่งเศสวีซี
วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:El Alamen
หลังจากกองทัพรอมเมลต้องหยุดชะงักในการเข้าตี เอว อาราเมนในครั้งเนืองจากกระสุนหมด ทางฝ่ายสัมพันธ์มิตร ซึ่งถอยมาจากแนวกาลาซา จึงทำการสะสมกำลังรบ ซึ่งนายพลมอนโกโมรี ขอเลื่อนการโจมตีรอมเมลเพื่อให้แน่ใจกำลังทางการรบเหนือกว่ารอมเมลจึงจะทำการบุก
ยุทธการแห่งอาลาม อัล-ฮัลฟา เป็นยุทธการที่ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่าตั้งรับการโจมตีของรอมเมลในขณะนั้นรอมเมลมีรถถังอยู่ในมือ 300 กว่าคันในขณะที่อังกฤษและสหรัฐมีรถถังรวมกัน กว่าพันคัน รอมเมลใช้วิธีการบุกเงียบในตอนกลางคืนเพื่อยึดบริเวณทางตอนใต้ของแนวรบอังกฤษโดยไม่ให้อังกฤษรู้ตัว หลังจากนั้นจึงบุกต่อไปทางตะวันออก 30 ไมล์ แล้วจึงวกกลับขึ้นไปทางเหนือพุ่งตรงไปยังบริเวณส่งกำลังบำรุงของกองกำลังที่ 8 ของอังกฤษซึ่งอยู่บริเวณริมฝั่งทะเล ในปฏิบัติการครั้งนี้อังกฤษวางระเบิดบกเพื่อดักรถถังรอมเมลไว้หนาแน่น ชนิดที่เรียกว่ารอมเมลคาดไม่ถึงประกอบกับการทิ้งระเบิดการใช้เครื่องบินโจมตีกองทัพรถถังด้วย กองทัพรถถังรอมเมลทำไม่ได้ตามแผนเคลื่อนไปได้เพียง 8 ไมล์ การโจมตีจากระยะที่ผิดพลาดจึงผิดเป้าหมาย เมื่อไม่เป็นไปตามแผนประกอบกับการระดมทิ้งระเบิดอย่างหนัก เชื้อเพลิงรถถังเริ่มหมด รอมเมลจึงตัดสินใจค่อยๆ ถอย
ก่อนจะมีการปฏิบัติการคบเพลิงซึ่งนายพลมอนโกโมรี่ เลื่อกในเวลากลางคืนของวันที่ 23-24 ตุลาคม 1942 หลังจากยุทธกาล “อลาม แอล ฮัลฟา”เพื่อให้แน่ใจว่ากองทัพของตนมีความเข้มแข็งเพียงพอ
รอมเมล ล้มป่วยกลับไปนอนรักษาตัวที่ออสเตรีย ในคืนก่อนการปฏิบัติการ “ทอร์ช” กำลังทหารอังกฤษ 280,000 รถถังติดปืนใหญ่ 1,230 คัน ทางฝ่ายเยอรมันมี ทหาร 80,000 คน รถถังที่พร้อมปฏิบัติการ 210 คันเครื่องบินสนับสนุนฝ่ายอังกฤา 15,000 ลำ เยอมัน 300 ลำ และสัมพันธมิตรยังมีเรื่อดำน้ำและเครื่องบินโจมตีทำลายเส้นทาบขนยุทธปัจจัยในบริเวณเมอิเติร์เรเนียนเป็นเหไตให้กองทัพรอมเมล ขาดการสนับสนุน
อังกฤษส่งทหารเข้าสู่แนวรบแอล อาลาเมน ในคืนวันที่ 23 ก่อนการปฏิบัติการทอร์ช เมื่อถึงวันเย็นวันที่ 25 รอมเมลเดินทางกลับมาทั้งที่ยังไม่หายป่วยก็ต้องพบว่ารถถังถูกทำลายไปกว่าครึ่ง รอมเมลหยุดยั้งการบุกของฝ่ายสัมพันธมิตรด้วยปืนต่อสู้รถถัง และวางแนวทุ่นระเบิดไว้ด้านหลังแนวกองทัพรถถัง สัปดาห์แรกรถถังฝ่ายสัมพันธมิตรเหลืออยู่ 800 คัน เยอรมัน 90 คัน มอนโกโมรี่ถอยกับมาแนวป้องกันเดิม ในขณะที่รอมเมลจะถอยมาตั้งหลักที่ฟูกา แต่ฮิตเลอร์มีสั่งห้ามถอย ฮิตเลอร์ต้องการจะรักษาที่มั่นใน เอว อาลาเมนไว้ จึงหมดโอกาสที่จะเข้าไปตั้งหลักในฟูกา ในการถอยครังใหม่รอมเมลต้องทำเร็วกว่าเดิม โดยถอยไปตูนีเซีย อังกฤษตามตีตลอด 4 สัปดาห์ ขณะนั้นกองกำลังฝ่ายอักษะในตูนีเซียไม่รวมอยู่ในแผนการบุก “ทอร์ช” อังกฤษจึงไม่บุกตูนิเซีย
ปฏบัติการคบเพลิง ปฏิบัตการโดยกองกำลังผสมอังกฤษ-อเมริกัน เพื่อรุกรานอาณานิคมแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสเขาวิซี เป็นส่วนหนึ่งของแนวรบแอฟริกาเหนือ
สหภาพโซเวียตกดดันรัฐบาลอเมริกาและอังกฤษให้เปิดแนวรบที่สองในทวีปยุโรปเพื่อกดดันกองทัพเยอรมัน ผุ้บัญชาการทหารจึงเห็นพ้องกันว่าจะเริ่มปฏิบัตการยกพลขึ้นบกในยุโรปแต่ถูกุ้บัญชาการทหารอังกฤษคัดค้านว่าจะทำให้พันธมติรตะวัตกต้องประสบกับความสูญเสียอย่างหนัก การโจมตีอาณานิคมแอฟริกาเหนือจึงถูกเสนอมาแทนโดยมีเป้าหมายเพื่อกำจัดกองกำลังฝ่ายอักษะในแอฟริกาเหนือ ปฏิบัติการคบเพลิงถูกเลื่อกวันปฏิบัติการโดยนายพลมอนโกโมรี และเป็นคืนเดียวกับการทัพที่เอวอาลาเมน
ยุทธการแห่งอาลาม อัล-ฮัลฟา เป็นยุทธการที่ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่าตั้งรับการโจมตีของรอมเมลในขณะนั้นรอมเมลมีรถถังอยู่ในมือ 300 กว่าคันในขณะที่อังกฤษและสหรัฐมีรถถังรวมกัน กว่าพันคัน รอมเมลใช้วิธีการบุกเงียบในตอนกลางคืนเพื่อยึดบริเวณทางตอนใต้ของแนวรบอังกฤษโดยไม่ให้อังกฤษรู้ตัว หลังจากนั้นจึงบุกต่อไปทางตะวันออก 30 ไมล์ แล้วจึงวกกลับขึ้นไปทางเหนือพุ่งตรงไปยังบริเวณส่งกำลังบำรุงของกองกำลังที่ 8 ของอังกฤษซึ่งอยู่บริเวณริมฝั่งทะเล ในปฏิบัติการครั้งนี้อังกฤษวางระเบิดบกเพื่อดักรถถังรอมเมลไว้หนาแน่น ชนิดที่เรียกว่ารอมเมลคาดไม่ถึงประกอบกับการทิ้งระเบิดการใช้เครื่องบินโจมตีกองทัพรถถังด้วย กองทัพรถถังรอมเมลทำไม่ได้ตามแผนเคลื่อนไปได้เพียง 8 ไมล์ การโจมตีจากระยะที่ผิดพลาดจึงผิดเป้าหมาย เมื่อไม่เป็นไปตามแผนประกอบกับการระดมทิ้งระเบิดอย่างหนัก เชื้อเพลิงรถถังเริ่มหมด รอมเมลจึงตัดสินใจค่อยๆ ถอย
รอมเมล ล้มป่วยกลับไปนอนรักษาตัวที่ออสเตรีย ในคืนก่อนการปฏิบัติการ “ทอร์ช” กำลังทหารอังกฤษ 280,000 รถถังติดปืนใหญ่ 1,230 คัน ทางฝ่ายเยอรมันมี ทหาร 80,000 คน รถถังที่พร้อมปฏิบัติการ 210 คันเครื่องบินสนับสนุนฝ่ายอังกฤา 15,000 ลำ เยอมัน 300 ลำ และสัมพันธมิตรยังมีเรื่อดำน้ำและเครื่องบินโจมตีทำลายเส้นทาบขนยุทธปัจจัยในบริเวณเมอิเติร์เรเนียนเป็นเหไตให้กองทัพรอมเมล ขาดการสนับสนุน
อังกฤษส่งทหารเข้าสู่แนวรบแอล อาลาเมน ในคืนวันที่ 23 ก่อนการปฏิบัติการทอร์ช เมื่อถึงวันเย็นวันที่ 25 รอมเมลเดินทางกลับมาทั้งที่ยังไม่หายป่วยก็ต้องพบว่ารถถังถูกทำลายไปกว่าครึ่ง รอมเมลหยุดยั้งการบุกของฝ่ายสัมพันธมิตรด้วยปืนต่อสู้รถถัง และวางแนวทุ่นระเบิดไว้ด้านหลังแนวกองทัพรถถัง สัปดาห์แรกรถถังฝ่ายสัมพันธมิตรเหลืออยู่ 800 คัน เยอรมัน 90 คัน มอนโกโมรี่ถอยกับมาแนวป้องกันเดิม ในขณะที่รอมเมลจะถอยมาตั้งหลักที่ฟูกา แต่ฮิตเลอร์มีสั่งห้ามถอย ฮิตเลอร์ต้องการจะรักษาที่มั่นใน เอว อาลาเมนไว้ จึงหมดโอกาสที่จะเข้าไปตั้งหลักในฟูกา ในการถอยครังใหม่รอมเมลต้องทำเร็วกว่าเดิม โดยถอยไปตูนีเซีย อังกฤษตามตีตลอด 4 สัปดาห์ ขณะนั้นกองกำลังฝ่ายอักษะในตูนีเซียไม่รวมอยู่ในแผนการบุก “ทอร์ช” อังกฤษจึงไม่บุกตูนิเซีย
ปฏบัติการคบเพลิง ปฏิบัตการโดยกองกำลังผสมอังกฤษ-อเมริกัน เพื่อรุกรานอาณานิคมแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสเขาวิซี เป็นส่วนหนึ่งของแนวรบแอฟริกาเหนือ
สหภาพโซเวียตกดดันรัฐบาลอเมริกาและอังกฤษให้เปิดแนวรบที่สองในทวีปยุโรปเพื่อกดดันกองทัพเยอรมัน ผุ้บัญชาการทหารจึงเห็นพ้องกันว่าจะเริ่มปฏิบัตการยกพลขึ้นบกในยุโรปแต่ถูกุ้บัญชาการทหารอังกฤษคัดค้านว่าจะทำให้พันธมติรตะวัตกต้องประสบกับความสูญเสียอย่างหนัก การโจมตีอาณานิคมแอฟริกาเหนือจึงถูกเสนอมาแทนโดยมีเป้าหมายเพื่อกำจัดกองกำลังฝ่ายอักษะในแอฟริกาเหนือ ปฏิบัติการคบเพลิงถูกเลื่อกวันปฏิบัติการโดยนายพลมอนโกโมรี และเป็นคืนเดียวกับการทัพที่เอวอาลาเมน
วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:The US Joint Chief of Staff:JCS
คณะเสนาธิการร่วม The US Joint Chief of Staff,JCS อันประกอบด้วยประธานธิบดีรูสเวลส์ นายกรัฐมนตรี เชลร์ชิล แห่งอังกฤษ พลเอก มาร์แชลล์ Gerneral Maeshall ผุ้บัญชาการทหารบกสหรัฐฯ พลเรือเอก คิง Fleet Admiral Ernest J. King ผู้บัญชาการกองทัพเรือภาคแอตแลนติกของฝ่ายสัมพันธมิตร พลเอก อาร์โนลด์ Gerneral Arnold ผู้บัชาการกองกำลังทางอากาศสหรัฐฯ เป็นต้น
พลเรือเอก นิมิตซ์ Admiral Nimitz ผู้บัญชาการกองเรือภาคแปซิฟิก พลเรือเอก อินเกิร์โ Admiral Ingersoll ผู้บัญชาการกองเรือภาคแอตแลนติก พลเรือเอก โกมเมลีย์ Admiral Ghormeley ควบคุมพื้นที่แปซิฟิกตอนใต้ ซึ่งอยู่ใต้บังคับบัญชาพลเรือเอก คิง
พลเอก ดักลาส แมคอาเธอร์ อยู่ใต้บังคับบัญชา พลเอก มาร์แชลล์
ผู้บังคับบัญชาคือ ผู้มีหน้าที่ในการปกครองบังคับบัญชาควบคุมสั่งการในการปฏิบัติของหน่วยใดหน่วยหนึ่งรวมทั้งมีหน้าที่ในการกำหนดนโยบาย แนวทาง แกปฏิบัติให้ผู้ใต้บังคับบัญชานำไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของหน่วยนั้น ๆ ทางการทหารสามารถแบ่งระดับของผู้บังคับบัญชาได้ร 3 ระดับ คือ ผู้บัคับบัญชา ระดับยุทธศาสตร์ ผุ้บังคับบัญชาระดับยุทธการ ปละผุ้บังคับบัญาระดับยุทธวิธีผู้ลังคับบัญชาแต่ละระดับจะมีหน้าทีความรับผิดชอบและลักษณะของงานแตกต่างกัน
การควบคุมบังคับบัญชาและสังการของฝ่ายสัมพันธมิตร จะต้องสังการในนามของฝ่ายสัมพันธมิตร โดยหลังประกาศสงครามกับญี่ปุ่น มีการจัดตั้งคณะเสนาธิการร่วม ประกอบด้วย ผู้บังคับบัญชาหน่วนกำลังทหารของสหรัฐฯและอังกฤษ ซึ่งเป็นผุ้กำหนดยุทธศาสตร์ และนโยบายให้แก่กองกำลังของตน ภายใต้การควบคุมของผู้นำ ประทเศทั้งสอง ดังนั้นการปฏิบัติการใดๆ ของฝ่ายสัมพันธมิตรหลังจากสหรัฐฯประกาศสงครามกับญี่ปุ่นแล้ว(8 ธันวา 1941) จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะเสนธิการร่วมดังกล่าวก่อน ยุทธศาสตร์ของอังกฤษคือกำจัดเยอรมันกอ่น Europe First และคุ้มครองเส้นางคมนาคม เข้า ออก ประเทศอังกฤษ เชอร์ชิลใช้กลยุทธ์ทางการเมืองในการชักชวน หรือชี้แนะ ซึ่งก็ได้รับการยอมรับจาคณะเสนาธิการ่วม เชอร์ชิลประสบความสำเร็จในการชักชวนรูสเวลท์ให้เปิดยุทธการ “Operatioa Torch” แผนการรุแอฟริกาเหนือของอังกฤษ ซึ่งพลเรือเอก คิง ไม่เห็นด้วยกับแรวความคิดนี้ กองทัพเรือต้องแบ่งกำลังยุทธโธปกรณ์ ไปสนับสนุน กองทัพบกในการบุกแอฟริกาเหนือ ในขณะที่ต้องเตรียมกำลังไว้รบด้านแปซิฟิกด้วย
ซึ่งพลเรือเอก คิงทราบดีว่าวัตถุประสงค์ของสหรัฐคือการรักษาฮาวาย และเส้นทางคมนาคม เข้า ออก ฮาวาย โดยผ่านมิดเวย์ และต้องการรักษาเส้นทางคมนาคมด้ายฝั่งตะวันตกของประเทศสหรัฐฯ ร่วมทั้งเส้นทาง คมนาคมจากฝั่งตะวันตกของสหรัฐฯ ไปออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ พลเรือเอกคิงจึงผลักดันยุทธศาสตร์การรบด้านแปซิฟิก เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวคือจะต้องกำจัดกำลังทางเรือของญี่ปุ่นในแปซิฟิกให้หมดไปตามหลักยุทธศาสตร์ ทางเรือของ มาฮาน พลเรือเอกคิง จะต้องอธิบายยุทธศาสตร์ดังกล่าวให้ชาติสมาชิกซึ่งมีอิทธิพลหรือสิทธิเสียงในคณะเสนาธิการร่วม ซึ่งต่อมา เชอร์ชิล และรุสเวลล์ ยอมรับยุทธศาสตร์การรบ ด้านแปซิฟิกและแอตแลนติกใต้อยู่ในการควบคุมของสหรัฐฯ
การเมืองซึ่งเข้ามามีอิทธิพลต่อภารกิจและการควบคุมสั่งการของ พลเรือเอก คิง แต่ประสบการณ์และความสามรถในการหารือกับชาติพันธมิตรต่างๆ ตวมทั้ง รูสเวลส์ และเชอร์ชิล ให้ยอมารับรุทธศาสตร์ที่สนองต่อวัตถุประสงค์ของสหรัฐฯ ในสถานการณ์และช่วงเวลาที่เหมาะสมนั้นมีผลต่อความสำเร็จในการเจรจา ซึ่งเป็นหลักของการเมืองคือการยังผลประโยชน์ร่วมกัน เมื่อพลเรือเอก คิง สามารถ ปกป้องวัถตุประสงค์ของชาติตนเองได้แล้ว จึงไม่สามารถที่จะเพิกเฉยต่อข้อเสนอของอังกฤษในการบุกแอฟริกาเหนือ
การควบคุมบังคับ บัญชาและสังการโดยตรง ที่เป็นระบบมีประสิทธิภาพเป็นสิ่งจำเป็นในการทำ สงครา ผุ้บังคับบัญชาระดับยุทธศาสตร์จำเป็นต้องควบคุมบังคับบัญชาและสังการโดยตรง ต่อผู้บังคับบัญชาระดับยุทธการ โดยมอบภารกิจ คอแนะนำที่สำคัญและกำลังรบที่เหมาะสมให้แตผุ้บังคับบัญชาระดับยุทะศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องสังการในการปฏิบัติของหน่วยรองต่าง ๆ ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาระดับยุทธการ
พลเรือเอก คิง จะเปลี่ยนการตัดสินใจต่อเมือได้รับข่าวยืนวันได้ กล่วคือ หลังกจากยุทธการที่ทะเลคอรับ พลเรือเอก นิมิตซ์ประมาณสาถนการณ์ ว่าญี่ปุ่นจะโจมตีมิดเวย์ และฮาวาย จังต้องทกการรวบรวมเรือบรรทุกเครื่องบิน แต่พลเรือเอก คิง ต้องการนำเรือบรรทุกเครื่องยินไปทำลายกำลังญ่ปุ่ในแปซิฟิกใต้ เพราะท่านคิดว่าขุนกำลังทางอากาศของญี่ปุ่นจะอยู่ในพื้นที่แปซิฟิกใต้ จึงแนะนำให้ พระเรือเอก นิมิตซ์ ส่งกำลังเรือบรรทุกเครื่องบินไปโจมตีกำลังของญี่ปุ่นบนเกาะมาร์แชลล์ แต่พลเรือเอก นิมิตซ์ ไม่เห็ด้วย ซึ่งต่อมา มีการตรวจสบและยือยังน ข่าวกับกาองบัญชาการกองทัพอังกฤษที่ลอนดอนทราบว่า ญี่ปุ่นยังไม่มีความตั้งใจที่จะฏิบัติการ ครั้งใหญ่ในช่วงเวลาอันใกล้นี้ พลเรือเอกคิงจึงตัดสินใจให้ปฏิบัติตามที่ พละรือเอก นิมิตซ์ เสนอ ซึ่งเหต์การณ์เป็นจริงดังพลเรือเอก นิมิตซ์ คาดการณ์ไว้ ยุทธนาวีที่มิดเวย์จึงเป็นชัยชนะของฝ่ายสหรัฐฯ
ผุ้บังคับบัญชาระดับยุทธศาสตร์จะต้องไม่ก้าวก่ายการปฏิบัติของ ผู้บังคับบัญชาระดับยุทธการ เพราะทำให้เกิดการสับสน และขาดเอกภาพในการบังคับบัญชาแต่ควรหารือ กับผุ้บังคับบัญชาระดับยุทธการเพื่อให้ได้หนทางปฏิบัติที่ดีที่สุด
พลเรือเอก คิง ไม่เห็นด้วยที่จะให้กำลังทาเรือสหรัฐฯอยู่ใต้การบังคับบัญชาของนายทหารบก จึงทำการต่อรองกับรูสเวลล์และพลเอก มาร์แชลล์ ผุ้บัญชาการทหารบกสหรัฐฯ ในการแบ่งพื้อที่ส่วนรับผิดชอบในแปซิฟิก โดให้ พลเอก ดักลาส แมคอาเธอร์ รับผิดชอบเฉพาะแปซิฟิกด้านตะวันตกเฉียงใต้และฟิลิปปินส์ ส่วนพื้นที่ปฏิบัติการในแปซิฟิกที่เลหือให้อยู่ในความรับผิดชอบของพลเรือเอก นิมิตซ์ ซึ่งเป็นผุ้ใต้บังคับบัญชาของ พลเรือเอก คิง และให้ทั้ง 2 ท่านรายงานตรงต่อคณะเสนาธิการร่วมสหรัฐฯ JCS
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...