WWII:El Alamen

   หลังจากกองทัพรอมเมลต้องหยุดชะงักในการเข้าตี เอว อาราเมนในครั้งเนืองจากกระสุนหมด ทางฝ่ายสัมพันธ์มิตร ซึ่งถอยมาจากแนวกาลาซา จึงทำการสะสมกำลังรบ ซึ่งนายพลมอนโกโมรี ขอเลื่อนการโจมตีรอมเมลเพื่อให้แน่ใจกำลังทางการรบเหนือกว่ารอมเมลจึงจะทำการบุก
     ยุทธการแห่งอาลาม อัล-ฮัลฟา เป็นยุทธการที่ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่าตั้งรับการโจมตีของรอมเมลในขณะนั้นรอมเมลมีรถถังอยู่ในมือ 300 กว่าคันในขณะที่อังกฤษและสหรัฐมีรถถังรวมกัน กว่าพันคัน รอมเมลใช้วิธีการบุกเงียบในตอนกลางคืนเพื่อยึดบริเวณทางตอนใต้ของแนวรบอังกฤษโดยไม่ให้อังกฤษรู้ตัว หลังจากนั้นจึงบุกต่อไปทางตะวันออก 30 ไมล์ แล้วจึงวกกลับขึ้นไปทางเหนือพุ่งตรงไปยังบริเวณส่งกำลังบำรุงของกองกำลังที่ 8 ของอังกฤษซึ่งอยู่บริเวณริมฝั่งทะเล ในปฏิบัติการครั้งนี้อังกฤษวางระเบิดบกเพื่อดักรถถังรอมเมลไว้หนาแน่น ชนิดที่เรียกว่ารอมเมลคาดไม่ถึงประกอบกับการทิ้งระเบิดการใช้เครื่องบินโจมตีกองทัพรถถังด้วย กองทัพรถถังรอมเมลทำไม่ได้ตามแผนเคลื่อนไปได้เพียง 8 ไมล์ การโจมตีจากระยะที่ผิดพลาดจึงผิดเป้าหมาย เมื่อไม่เป็นไปตามแผนประกอบกับการระดมทิ้งระเบิดอย่างหนัก เชื้อเพลิงรถถังเริ่มหมด รอมเมลจึงตัดสินใจค่อยๆ ถอย
     ก่อนจะมีการปฏิบัติการคบเพลิงซึ่งนายพลมอนโกโมรี่ เลื่อกในเวลากลางคืนของวันที่ 23-24 ตุลาคม 1942 หลังจากยุทธกาล “อลาม แอล ฮัลฟา”เพื่อให้แน่ใจว่ากองทัพของตนมีความเข้มแข็งเพียงพอ
     รอมเมล ล้มป่วยกลับไปนอนรักษาตัวที่ออสเตรีย ในคืนก่อนการปฏิบัติการ “ทอร์ช” กำลังทหารอังกฤษ 280,000 รถถังติดปืนใหญ่ 1,230 คัน ทางฝ่ายเยอรมันมี ทหาร 80,000 คน รถถังที่พร้อมปฏิบัติการ 210 คันเครื่องบินสนับสนุนฝ่ายอังกฤา 15,000 ลำ เยอมัน 300 ลำ และสัมพันธมิตรยังมีเรื่อดำน้ำและเครื่องบินโจมตีทำลายเส้นทาบขนยุทธปัจจัยในบริเวณเมอิเติร์เรเนียนเป็นเหไตให้กองทัพรอมเมล ขาดการสนับสนุน
     อังกฤษส่งทหารเข้าสู่แนวรบแอล อาลาเมน ในคืนวันที่ 23 ก่อนการปฏิบัติการทอร์ช เมื่อถึงวันเย็นวันที่ 25 รอมเมลเดินทางกลับมาทั้งที่ยังไม่หายป่วยก็ต้องพบว่ารถถังถูกทำลายไปกว่าครึ่ง รอมเมลหยุดยั้งการบุกของฝ่ายสัมพันธมิตรด้วยปืนต่อสู้รถถัง และวางแนวทุ่นระเบิดไว้ด้านหลังแนวกองทัพรถถัง สัปดาห์แรกรถถังฝ่ายสัมพันธมิตรเหลืออยู่ 800 คัน เยอรมัน 90 คัน มอนโกโมรี่ถอยกับมาแนวป้องกันเดิม ในขณะที่รอมเมลจะถอยมาตั้งหลักที่ฟูกา แต่ฮิตเลอร์มีสั่งห้ามถอย ฮิตเลอร์ต้องการจะรักษาที่มั่นใน เอว อาลาเมนไว้ จึงหมดโอกาสที่จะเข้าไปตั้งหลักในฟูกา ในการถอยครังใหม่รอมเมลต้องทำเร็วกว่าเดิม โดยถอยไปตูนีเซีย อังกฤษตามตีตลอด 4 สัปดาห์ ขณะนั้นกองกำลังฝ่ายอักษะในตูนีเซียไม่รวมอยู่ในแผนการบุก “ทอร์ช” อังกฤษจึงไม่บุกตูนิเซีย
     ปฏบัติการคบเพลิง ปฏิบัตการโดยกองกำลังผสมอังกฤษ-อเมริกัน เพื่อรุกรานอาณานิคมแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสเขาวิซี เป็นส่วนหนึ่งของแนวรบแอฟริกาเหนือ
     สหภาพโซเวียตกดดันรัฐบาลอเมริกาและอังกฤษให้เปิดแนวรบที่สองในทวีปยุโรปเพื่อกดดันกองทัพเยอรมัน ผุ้บัญชาการทหารจึงเห็นพ้องกันว่าจะเริ่มปฏิบัตการยกพลขึ้นบกในยุโรปแต่ถูกุ้บัญชาการทหารอังกฤษคัดค้านว่าจะทำให้พันธมติรตะวัตกต้องประสบกับความสูญเสียอย่างหนัก การโจมตีอาณานิคมแอฟริกาเหนือจึงถูกเสนอมาแทนโดยมีเป้าหมายเพื่อกำจัดกองกำลังฝ่ายอักษะในแอฟริกาเหนือ ปฏิบัติการคบเพลิงถูกเลื่อกวันปฏิบัติการโดยนายพลมอนโกโมรี และเป็นคืนเดียวกับการทัพที่เอวอาลาเมน

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)