วันจันทร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Cultural Production

            (กาจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน) ได้อธิบายแนวคิดเรื่องการปลิตทางวัตถุองมาร์กเพ่ิมเติมว่าไ่เพียงแต่วัตถุท่านั้นที่ต้องมีการผลิต แม้แต่วัฒนธรรม อุดมการ์จิตสำนึกก็ต้องผ่านกระบวนการผลตเช่นเดียวกัน โดยวัฒนธรรมแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ วัมนธรรมที่มีชีวิตอยู่ หมายถึงวัฒนธรรมทุกอย่งอยู่ในช่วงเวลาหนึง สถานที่หนึ่งและเฉพาะคนที่มีชีวิตอยุ่ใยช่วงเวลานั้นเท่านั้นที่จะเข้าถึงและสัมผัสวัฒนธรรมดังกล่าวได้ และ วัฒนธรรมที่ได้รับการบันทถกไว้ หมายถคง บางส่วนของวัฒนธรรมที่ีชีวิตอยุ่และได้รับการบันทุกหรือผลิตซ้ำเพื่อสืบทอดต่อมา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วัฒนะรรมแห่งยุคสมัย" ซึ่งถื่อเป็นส่วนหนึ่งขง "ประเพณีในการเลือกสรร" เนื่องจากว่าในชีวิตประจำวันอขงคนเรามีวัฒนธรรมทีถูกสร้างขึ้นใหม๋ตลอดเวลา แต่ประเพณีในการเลือกสรรจะทำหน้าที่คัดเลือกให้วัฒนะรรมบางอย่างถุกผลิตซำ้ให้มีชีวิตยืนยาวต่อไปและทุกครั้งที่มีประเพณีในการเลือกสรรเกิดขึ้น จะมีการตีความหมายให้กับวัฒนะรรมที่จะถุกบันทึกไว้เสมอ ทั้งนี้สถาบันหรือบุคคลที่มีอำนาจจะเป้ฯผุ้ชี้ขาดความยืนยงของวัฒนธรรมและแต่ละกลุ่ม
             จากการนำเสอนความมหายของการผลิตซื้ำทางวัฒนธรรมดามแนวคิดของนักวิชาการดังกลร่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม หมายยถึงการปกป้อง ดำรงรัษาหรือเพ่ิมพุนวัฒนธรรมที่มีการผิตขึ้นในกลุ่มสังคม เมื่อเกิดการผลิตและสร้างควมมหายทางวัฒนธรรมใหม่ขึ้นม สาชิกจะทำการคัดลือกความคิด ความเชื่อ ค่านิยมหรือการปฎิบัติที่เหมาะสมและทำการผลิตซ้ำด้วยวิะีการต่างๆ จนเกิดการยอมรับเป็นบรรทัดฐานเพื่อการอยุ่ร่วมกันแสดงถึงความเป้ฯหนึ่งเดี่ยวของกลุ่ม สร้างคามแกต่างระหว่างกลุ่ม วัฒนธรรมใดที่มีการผลติขึ้นแล้วไม่ได้รับการอมรับ วัฒนธรรมนั้นก็จะตายไปในที่สุด ทั้งนี้ สถาบันยหนอบุคคลที่มีอำนาจจะเป็นผุ้ชี้ขาดความยืนยงของวัฒนธรรมและแต่ละกลุ่มสังคมก็จะมีแนวทางปฏิบัติด้านวัฒนธรรมแตกต่างกัน
             การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมเป็นความสัมพันะขององค์ประกอบการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมทั้งในระดับที่เป็นนามธรรมและรูปธรรม ประกอบไปด้วยผู้ผลิตวัฒนธรรม เนื้อหาสาระ สถานที่สื่อที่ใช้ในการนืบทอดและผุ้มีส่วนเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม การผลิตซ้ำทางวัฒธรรมจึงเกิดการสื่อสารขึ้นเพื่อสืบทอดหรอืขยายผุ้เผยแพร่วัฒนธรรมเพ่ิมช่องทางในการสื่อสารทางวัมนธรรมและเพิ่มสมาชิกใหม่ในองค์การ การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมจะมีความหมายสมบูรณืก็ต่อเมื่อเป็นการผลิตซ้ำที่มีรหัส ความหมายหรือความเชื่อบางประการแผงอยู่เบื้องหลัง ดังนั้น กาญจนรา แก้วเทพ และสมสุขหินวิมา จึงเสนอแนวทางการศึกษากระบวนการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ การผลิต การเผยแพร่ การบริโภคและการผลิตซ้ำ ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาวัมนธรรมองค์การ โดยพิจารณาว่าวัฒนธรรมในองค์การถูกผลิตขึ้นมาได้อย่างไร ใครเป็นผู้ผลติวัฒนธรรม วัฒนธรรมดังกล่าวมีการเผยแพร่หรือสื่อสารในองค์การอย่างไร สมาชิกในกลุ่มรับรู้และข้าใจวัฒนธรรมเหล่านี้อย่างไร อีกทั้งสมาชิกในกลุ่มมีวิธีการผลิตซ้ำวัฒนธรรมองค์การอย่างไร 
            การญจนา แก้วเทพ และสมสนุข หินวิมาน จะได้ให้แนวทางในการวิเคราะห์กระบวนการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม อะิบายเพ่ิมเติมถึงกระบวการผลิตและผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมทั้ง 4 ด้านดังนี้
            1. ด้านการผลติ คือการพิจารณาว่าวัฒนธรรมได้รับการผลิตและสร้างความหมายขึ้นมาได้อย่างไร ใครเป็นผู้ผลิตทางวัฒนธรรม ผุ้ผลิตสร้างสัญลักษณ์หรือสิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรมอย่างไรทั้งนี้ กริสเวิร์ล ได้อธิบายว่าการผลิตวัฒนธรรมทีความสัมพันะ์กับการเปลี่ยนแผลงสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กา เช่น ระบบการตลาด ผุ้ซื้อผู้บริโภค ผุ้ที่มีอำนาจทางการตลาด รวมทั้งโครงสร้างทางการเมือง สงคมและวัฒนธรรม ผุ้ผลิตวัฒนธรรมจะำทการตรวจสอบสภพแวดล้อมอย่งรอบคอลเพื่อที่จะผลิตวัมนธรรมให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของผุ้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อต่อสุกับคู่เข่งขัน การผลิตวัฒนธรรมจะนำไปสู่การสร้างความมาหยยองวัตถุทาง วัฒนธรรม โดยากรสร้างความหาายทางวัฒฯธรรมต้องอาศัยอความเข้าใจที่ตรงกันทั้งผุ้ผลิตเลแะผุ้รั้บด้วย
สวยดอก: การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรมหัตถศิลป์งานใบตองล้านนา
           2. ด้านการเผยแพร่ คือการพิจารณาว่าผุผลิตวัฒนะรรมดำเนินการเผยแพร่วัฒนธรรมให้เป็นที่รับรู้กันในองค์การอย่งไร โดยกล่าวถึงการเผยแพร่วัฒนธรรมว่าเกิดมาจากการที่แต่ละกลุ่มสังคพยายามที่จะผลติวัฒนธรรให้เป้นของตนเอง ดังนั้นึงทำให้ผุ้ผลิตวันธรรมและสมาชิกในกลุ่มร่วมกันสร้างความหายและวิ๔ีทางการับรู้วัถุทางวันธรรม และดำเนินการแบ่งปันความหายทางวัฒนรรมที่มีอยุ่ด้วยวิธิการต่างๆ ให้เป็นทีรัรุกันภายในหลุ่ ซึ่งอาจจะทำใ้เกิผลประดยชน์หรือเป้นอุปสรรคตอการขับเคลื่อนกลุ่มก็ได้ การเผยแพร่วัฒนธรรมเนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรุ้ในระดับปัเจจกบุคคล ระดับกลุ่มย่อยและระพับกลุ่มใหญ่ของสมาชิกทั้งหมดในกลุ่ม เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มรับรุ้ความหมายทางวัฒนธรรมขององค์การ ผุ้ผลิตวัฒนะรรมจะดำเนินการกระตุ้นเตือนให้สมาชิกในกลุ่มประพฤติตามเป้าหมายเสมอ
           3.ด้านการบริโภค คือการพิจารษว่าสมาชิกในกลุ่มบริโภคหรือรับรุวัฒนธรรมที่ถุกเผยแพร่อย่งำร และความมหายของวัฒนธรรมทีสมาชิกในกลุ่มรับปรุ้มีการเปลี่ยนแปลงจากส่ิงที่ผุ้ผลิตวัฒนธรรม ได้สร้างขึ้นไว้อย่งไรบ้างทั้งนี้การับรุ้ของปัจเจกบุคคลเกี่ยวช้องกับการรับรุ้ทางสังคม ในฐานุสมาชิกของกลุ่มี่เข้าไปมีสวนร่วม ซึงเกิดข้นมาจากการเสื่อสารระหว่งบุคคลอันจะทำให้เกิดความคิดที่แตกต่างเมื่อมาร่วมอยุ่กันเป้นหมุคณะ เนื่อจากการคับรุ้ท่างสังคมที่มีมาจากความสนใจเแพาะส่วยบุคคล อารมณ์ความรุ้สึกและการทำความเข้าใจความาหยจาสัญลักษรืหรือวัตถุที่รัีบรุ้และมองเห้นความแตกต่างของระดับชนชั้นในใัีงคมและประสบการณ์ที่สะสมมาจะส่งผลให้แต่ละคนมีการับรุ้ทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน 
          4. ด้านการผลติซ้ำคือการพิจารณาว่าวัฒนธรรมถูกผลิตซ้ำต่อเนื่องเพื่อให้ดำรงอยุ่อย่างไรทั้งน การผลิตซ้ำความมีความเกี่ยข้องกับการสื่อสารทางวัฒนธรรมซึงมีผลต่อการับรุ้ความหายทางวัฒนธรรมโดยเทคโนโลี กลุ่มคนและสัคมความสัมพันะ์ต่อการสร้างและการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ของกลุ่มเพราะสมาชิกในกลุ่มมีการแลกเปลียนข้อมุลข้าวสารและความรุ้ทางวัฒนธรรมตลอดเวลาซึ่งการผลิตซำสาารถทำได้โดยากรสื่อสารผ่านตัวบุคคลหรือการใช้สื่อเทคโนโลนีด้วยวิธีต่างๆ...

               " การสืบทอดอัตลักษณ์ของคนอีสานในชุมชนตำบลสะตอน อ.สอยดาว จ.จันทบุรี" ภาคนิพนธ์  ของ สุทธิ กาบพิลา ปริญญารัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี, มิถุนายน 2558.
              




วันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Define " ASEAN identity

           นิยามของอัตลักษณ์และวัฒนธรรมและความท้าทายในแผนงานการสร้างอัตลักษณ์อาเซีียน
           ความท้าทายของยุทธศาสตร์ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียนกิดจากคำถามสำคัญที่ว่าอาะไรคือมรดกร่วมทางวัฒนธรรมของอาเซียนและเราจะกำหนดมรดกทางวัฒนะรรมของอาเซียนจากอะไร เนื่องจากวันธรรมเป็นคำที่มีความมหายซัล้อนและมีการตีความมัีหลากหลายจึคงยกที่จะกำหนดกรอบความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่าวัฒนธรรม กรอบความเข้าใจในเชิงความหายของัฒนธรรมซึ่งไม่ได้จำกัอยยุ่เฉพาะแต่ในความ่หมายของการเป็นจารีตหรือการคัดกรองสิ่งดีงาม สิ่งที่ควรอนุรักาณ์เท่าน้นหากในปัจจุันความมหายของวัฒนธรรมยังะรรมยังขยายวงกว้างไปสู่การเป็นครรลองหรือวิถีแห่งการทำงาน และการใช้ชีวิต เช่น ครรลองการบริหารงาน วิถีการใช้ชีวิต ครรลองของการดำเนินะุรกิจและการทำงาน เป้นต้น นอกจากนี้ ยังครอบคลุมความหมายถึงสิ่งที่มองเห็นและมองไม่เห็น เช่น ระบบคุณค่าหรือค่านิยมในสังคมนั้น วัฒนะรรมจึงมีความมหาย ที่ซับซ้อนและกว้างไกลกว่าการอนุรัษณ์ ปฏิสังขรณ์ และการดุแลรักษามรดกร่วมทางวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งปลูกสร้งหรือสิ่งที่มองเห็นเท่านั้น
       
 ดังนั้น เราจึงเห็นว่าวัฒนะรรมมีความมหายกว้างขวางครอบคลุมถึงวิถีชิีวิตของผุ้คนในสังคมทุกด้าน ตั้งแต่ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันตามมาแต่ในอดีต วิถีการทำงาน วิถีการปฏิบัตรนและการดำรงตนในสัีงคมร่วมสมัย ทั้งส่ิงที่จับต้องได้ และสิ่งที่จับต้องไม่ได้ วัฒนธรรมยังมีการปรับเปล่ยนแยุ่ตลอดเวงาทั้งใน่ส่วนที่เป็นเนื้อหาและรูปแบบให้เหมาะสมกับยุคสมัยและบริบททมางสังคมี่เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ขึ้นอยุ่กับกลไกในการถ่ายทอดและสืบทอดวัฒนะรรมชของชุมชนหรือังคมหนึ่งๆ นอกจากนี้ กระแสดลกาภิวัตน์และเทคโนโลยีที่ทัสมัยก็เป็นอีกปัจจัยนหนึ่งที่ส่งผล่อรุปแบบของการสืบสานและสืบทอดวัฒนธรรมในปัจจุบันด้วยเช่นกัน ดังนั้น อัตลักาณืทางวัฒนะรรมจึงเป้นส่งิที่ไม่หยุดน่ิง ไม่ตายตัว แลมีการปรับเปล่ยนแบุตลอดเวลา
         ประเทศในอาเซียนมีพัฒนาการทางปรวัติศาสตร์แลลัการะทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกนซึ่งส่งผลต่อวัฒนะรรมและวิถีการดำเนินชีวิตของุ้คนในประทเศนั้นๆ เช่น ความแตกต่างระหว่างประเทสในภาคพื้น
ทวีปกับประเทศในหมู่เกาะ หรือประเทศที่นับถือศาสนาพุทธกับประเทสที่นับถือศาสนาอิสลาม เป้นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผต่อการสร้างจิตสำนึกร่วทางวัฒนธรรมของคนในสังคม ความท้าทายประการหนึ่งชองประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียนโดยเฉาพะงานด้านการส่งเริมอัตลักาณ์อาเซียนคงอยู่ที่กระบวนการกำนหดอัตลัการืร่วมและการสร้างจิตสำนึกร่วมทางวัฒนะรรมของอาเวียนซึ่งตั้งอยุ่บนฐานของความหลากหลายทางวัฒนะรรม จึงทำให้เกำหนดลักษระร่วม างวัฒนะรรมได้ยากซึ่งลางคร้ง อัตลักษรืบางอย่งก้มีลักษณะร่วมกันเแพาะบางประทศที่มีความคล้ายคลึงกันทงประวัติศาสตร์ หรือมีลัีกษระร่วมทางภูมิศาสตร์แต่ไม่สามรถครอบคลุมทุกประเทศในภุมิภาคอาเซียนได้จนบางร้งนำไปสู่คำถามที่ว่าอัตลักษณ์อาเซียนมีอยุ่จริงหรือไม่ เมื่อเป้นเช่นนี้แล้ว นอกเหนือไปจากการกำหนดอัตลักษณืร่วมของอาเวียนบนฐานวัฒนะรรมเดินที่มีอยูอยุ่เราอาจต้องพิจารกษถึงการกำหนดคุณค่าหรืออัตลักษณ์ใหม่สำหรับอาเซียนด้วย ซึ่งอาจเป้นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยให้หลีกเลี่ยงปัญหาและความมขัดแย้งกทางวัฒนธรรม
            นอกจากนี้ การกำหนดลักษณะร่วทางวัฒนะรรมที่ปรากฎในวัฒนธรรมของไทยและประเทสเพื่อบ้านอาจนไไปสู่ความขัแย้งระหว่างอัตลักาณ์ของชาติและอัตลักษณ์ของภูมิภาคและการอ้างกรรมสิทธิ์ของความเป้นเจ้าของวัฒนาะรรมที่มีความดล้ายคลงกันได้ เช่น นาฎศิลป์ (ไทย-กัมพุชา) สัมตำ (ไทย-ลาว) หรือกร๊พิพาทระหว่างมาเลเซียและอินดดนีเซยเกี่ยวกับผ้าบาติกเนื่องจากในปี พงศ. 2552 ผุเนสโกได้ประกาศให้ผ้าบาติกเป็นมรดกทางวัฒนะรรมทีจับต้องไม่ได้ ของอินโดนีเซีย ซึ่งน้างความมไ่พอใจให้กับชาวมาเลเซีย
            รายงานการศึกษาส่วนบุคคล "แผนยุทะศาจร์กระทรวงวัฒนะรรมในการเตียมความพร้อสู่ประชาคมสังคมและวัฒนะรรมอเซียน" นางสาว ดารุณี ธรรมโพธิ์ดล, หลักสุตรนักบริหารการทูต.,

วันเสาร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

build... "Corporate identity" II

             ผลที่องค์กรจะได้รับจากการมีอัตลักาณ์องค์กรที่ดี : ภาพลักษณ์และอัตลักษณ์ที่ดีจององค์กรจะให้ประโยชน์แก่องค์กรดังนี้
             องค์กรนั้นได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง การยอมรับจากสังคมจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยระยะเวลาทีผลิตภัณฑ์นั้นๆ สามารถพิสูจน์ให้เห็นถึงคุณภาพที่ดีและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง.., แดสงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ขององค์กรผุ้บริโภคล้วนต้องการความรู้สึกถึงพลังความย่ิงใหญ่ขององกรผ่านทางสินค้า
หรือบริการขององค์กรนั้นๆ.., ความรู้สึกเชื่อมันในความมีประสบการณ์และความเก่าขององค์กร สิ่งเหล่านนี้เป็นส่ิงที่ต้องสังสมมาเป็ฯระยะเวลานานกว่าองค์กรจะสามารถเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ได้.., แสดงให้เห็นถึงการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง การสร้างภาพลักษณ์..เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ ต้องอาศัยระยะเวลาพอควรที่จะแสดงให้เห็นถึงความสม่ำเสมออย่างต่อเนื่องขององค์กรนั้นๆ .., กระตุ้นให้บุคลากรมีส่วนร่วม อัตลักษณ์องค์กรจะเป็นตัวกระตุ้นให้ทุกคนตื่นตัวกระตุ้นให้เกิดความคิดที่สองนโยบายขององค์กรตามทิสทางและแผนี่วางไว้อันจะก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแก่องค์กร.., ได้บุคคลากรที่เป็นบุคคลชั้น "หัวกะทิ".., สร้างเครือข่ายได้ง่าย.., แสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะขององค์กร..,
             โครงสร้างองค์กร : แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
              1. บริษัททีามีดโครงสร้งเดียว มักเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจเพียงประเภทเดียว เช่น บริษัท อเสแอนด์พี จำกัด, บริษัทเทสโกโลตัสจำกัดเป็นต้น
              2. บริษัทที่ขยายกิจการโดยการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ  บริษัทที่มีโครงสร้างแบบนี้ส่วนใหญจะมีลักษณะดังต่อไปนี้เป็นบริษัทที่เติบโตขึ้นจากการนำผลกำไรไปลงทุนในธุรกิจประเภทอื่นเป็นธุรกิจที่ประกอบด้วยหลายบริษัทซึ่งส่วนใหญ่จะดำเนินธุรกิจในรูปแบบที่แต่ละบริษัทเป็นผุ้ดำเนินการเองทุกขึ้นตอนนับตั้งแต่การผลิตไปถึงการจัดจำหน่ายบริษัทแม่ที่ต้องการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีกับบริษัทสาขาด้วยการเชื่อมโยงเข้ากับตราสินค้า
             3. บริษัทร่วมธุรกิจ บริาัทประเภทนี้คือบริษัทหรือกลุ่มบริษัทซึ่งประกอบธุรกิจหลายประเภทโดยธุรกิจเหล่านั้นอาจมีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่ก็ได้บริษัทประเภทนี้ต้อการสร้างอัตลักษณ์อันทรงพลังสำหรับตนเอง และแผ่ขวรยความเป็นอัตลักาณ์นี้ไปสู่บริษัทสาขาภายใต้ชื่อและอัตลักาณ์ของบริษัทเดียวกัน
          รุปแบบของอัตลักษณ์องค์กร : ระบบอัตลักษณ์
           1.  อัตลักษณ์แบบเดียว เป็นการวางระบบ อัตลักษณ์ที่กำหนดให้บริษัทสาขาทุกแห่งรวมทั้งบริษัทแม่ใช้รุปบบสัฐลักาณและองค์ประกอบกราฟฟิก แบบเดียวกันทั้งหมดในการสื่อสรภาพลักษณ์เดียวกันไปสู่ผุ้บริโภค ซึ่งจะเป็นการแสดงออกถึงความเป็นอัตลักษณ์ที่ชัดเจนที่สุดและประหยัดทีุ่สดในการที่จะแสดงให้เห็นถึงสมมติฐานเดียวกันของสินึค้าหรือบริการที่ให้แก่ผุ้บริโภค ในทางกลับกันการที่จะสร้างระบบอัตลักษณ์ในลักาณะนี้ได้จำเป็นต้องการศัยการแสดงออกซึ่งบุคลิกละคุณภาพที่น่าเชื่อถือรวมทังไม่หยุดพัฒนาด้วย
         
 2. อัตลักษณ์แบบมีการรับรอง เป็นรูปแบบของการสร้างระบบ อัตลักษณ์องค์กรให้กับองค์กรที่ประกอบธุรกิจหลายประเภทหรือเป็นลักษณะกลุ่มบริษัทการสร้างระบบ อัตลักษณ์ฯ  แบบนี้มีรากฐานมาจากแนวคิดที่วาแต่ละบริษัทในเครือควรมีอัตลักษณ์ของตนเองโดยที่อัตลักาณ์นั้นจะต้องแสดงถึงความเป็นส่วนหนึ่งของภาพรวมขององค์กรนั้นๆ ด้วยบริษัทประเภทนี้มัจะใช้สัลักษณ์ของบริษัทแม่รวมกับสัฐลักษณ์ของแต่ละบริษัทที่แสดงให้เห็ฯถึงคุณสมบัติทางการภายของสินค้า..
           3. อัตลักษณ์ที่ใช้ตราหรือชื่อของสินค้าเป็นตัวสร้างเอกลักษณ์ ระบบอัตลักาณ์ประเภทนี้จะใช้กับบริษัทที่เป็นผลิตสินคึ้าหลายๆ ชนิดซึ่งอาจอยู่ในสายผลิตภัณฑ์เดียวกันหรือไม่ก็ได้และมักนิยมใช้กิบัสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นหลัก..
            องค์ปรกอบของอัตลักษณ์ :
            1. ชื่อ ชื่อของบริษัทเป็นส่ิงที่มีความสำคัญเป็นลำดับแรกก็ว่าได้ดังนั้นจึงใคร่ขอทำความเข้าใจถึงที่มาของชื่อต่างๆ
            2. เครื่องหมาย ไม่ว่าจะเป็นองค์กรที่มีขนาดใหญ่หรอืขนาดเล็กเครื่องหมายนับเป็นกุญแจสำคัญที่จะก่อให้เกิดระบบอัตลักษณ์ที่มีประสิทธิภาพเครื่องหมายที่สร้างขึ้นอาจเป็นเพียงการใช้ชื่อตัวอังษรหรืออาจเป็นการผสมผสานระหว่างภาพกับตัวอักษรหรือภาพที่เิดจาองค์ปรกอบกราฟิกเพียงลำพังก็ได้...
            3. ตัวอักษร ในการวางระบบอัตลักษณ์จำเป็นต้องมีการกำหนด แบบตัวอังษรที่ใช้ในงานทั้งระบบโดยทั่วไปแล้วนักออกแบบจะกำหนดแบบตัวอักษร ทีใช้กับสัญลักษณ์และเลือกแบบอื่นๆ ที่เข้ากันได้ดีกับแบบตัวอักษรนั้นทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ..
            4. สีอัตลักษณ์ สัจัดว่าเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ใช้เป็นตัวแทนองค์กรได้เป็นอย่างดีมักมีมาจากสีของสัญลักษณ์ที่นักออกแบบสร้างให้เกิดการจดจำขึ้นในใจผุ้บริโภค
            5. ข้อความประกอบ จะเป็นข้อความสั้นๆ ทีอธิบายถึงความเป็นองค์กรที่วาอยุ่ใต้ชื่อหรือสัญลักษณ์เพื่อเป็นการอธิบายถึงคุณลักษณะเฉพาะขององค์กรสินค้าหรือบริการนั้นๆ
             ตราสัญลักษณ์ : หรือ โลโก้ ตัดทอนมาจาก โลโก้ไทป์ หมายถึงเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ซึ่งสื่อความมหายเฉพาะถึงส่วนราชการมูลนิธิสมาคม บริษัทห้างร้าน ฯลฯ อาจจะเป็นตัวอักษรหรือรูป-ภาพหรือทั้งสองอย่างประกอบกันมัจะเป็นลักษณเลขศิลป์ (กราฟฟิก อาร์ต) ..

              ภานุพงศ์ คณนานุกูลชัย 2555 "โครงการออกแบบโครงการสร้างอัตลักษณ์และออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เืพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ สำหรับบิรษัทรับทรัพย์แกรนด์ จังหวัดขอนแก่น. 

วันศุกร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

build... "Corporate identity"

           การออกแบบอัตลักษณ์องค์กร
           อัตลักษณ์องค์กร : หรือ Corporate Identity, CI หมายถึงการแสดงออกให้เห็นถึงภาพลักษณ์ ทีปรากฎต่อสายตามผู้อื่นพร้อมๆ กับแสดงถึงความเป็นอัตลักษณ์ ขององค์กรนั้นโยอาศัยองค์ประกอบกราฟฟิก หรืออาจกล่าวไให้เข้าใจงายๆ ก็คือ หมายถึงการสื่อาราพลักษณ์องค์กรอย่างเป้นระบบและเป็นูรปธรรมที่ชัดเจนเพื่อสร้าวความเป็นอัตลักษณ์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันรวมทั้งสร้างความเข้าใจอันดีให้เกิดดแก่องค์กรบุคลากรตลาอจนบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรนั้น ๆจะเห็นได้ว่าอัตลักษณ์องค์การเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อองค์การโดยเฉพาะในโลกที่มีการแข่งขันกันอย่าบมากเช่นปัจจุบัน...เนื่องจากองค์การบางแห่งอาจให้ความสำคัญกับตรสินค้ามากกว่าชื่อขององค์กรจึงเป้ฯที่มของการสร้างระบบอัตลักษณ์ให้กับสินค้า Brand Identity ดังนั้นคงพบว่ามีบางคน้คำนี้แทน คำว่า Corporate Identity
       ความเป็นมาของ อัตลักษณ์องค์กร : เป็นการยากที่จะกล่าว่ามีจุดเริ่มต้นจากใครเมื่อไรแต่ก็พอจะกล่าวสรุปได้ว่ามีต้นกำเนิดในทวีปยุโรปแห่งแรกในราวศตวรรษที่ 19 โดยเริ่มจากความต้องการของผุ้ค้าซึ่งมีความประสงค์ที่จะแสดงความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัวในสินค้าหรือบริการที่ให้แก่ผู้ซื้อ โดยมีการใช้กับสินค้าหัตกรรมเป็นสินค้าประเภทแรกสัญลักษณ์ที่แสดงความเป็นอัตลักาณ์เหล่านี้จะปรากฎอยู่บนสิ่งของทุกอย่างไม่ว่าจะเป้นกระดาษเขียนจดหมายขจองจดหมายจนถึงป้ายหน้ร้านเป็นต้น ในสหรัฐอเมริกาได้มีการใช้สัฐญลักษ์เพื่อแสดงความเปนเจ้าของในกลุ่มผุ้ประกอบอาชีพปศุสัตว์ทางภาคตะวันตกของประเทศที่เรียกว่าเครื่องหมาย cattle Brand ได้แก่เครื่องหทมาบที่ใช้ตรตราสัตว์เลี้ยงในฟาร์มโดยจะใช้เคื่องมหายหรือสัฐลักาณ์อย่างง่ายๆ หรือใช้ตัวอักษรชื่อย่อเจัาฟาร์มเป็นจ้นในเวลานนั้นยังไม่มีผุ้ใดให้ความสนใจในเรืองอขงรูปแบบและความงามตราบจนกระทั้งได้มีการดำเนินธุรกิจและเกิดการแข่งขันกันอย่างแพร่หลารยนักธุรกิจทั้งหลายจึงหันมาให้ความสนใจและเห็นความสำคัญของการออกแบบซึ่งมีส่วนช่วยในการเพ่ิมยอดขายจึงได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในช่วงทศวรรษ 1930 หลังช่วงเศราฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในสหรัฐอเมริการไ้มีบริษัทบางบริษัทซึ่งได้กลายมาเป็นยกษ์ใหญ่ในเวลาต่อมาเล็งเห็นถึงควาสำคัญดังกล่าวและพร้อมที่จะปรับปรุงการออกแบบสินคาของตนรวมทั้งประับกลุยะทธ์ทางการตลาเสียใหม่จึงทำให้สินึค้าเหล่านั้นประสบความสำเร็มีชื่อเสียงเป็นที่รุ้จักแพร่หลาย

           ความสำคัญของ อัตลักษณ์องค์กร : แม้ว่าองค์การจะมีภาพลักษณ์ที่ดีเพียงใดแต่ถ้าภาพลักาณ์นั้นมิได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะชนหรือผุ้บิรโภคกลุ่มเป้าหมายภาพลักาณ์ที่ดีนั้นย่อมำม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรเท่าที่ควรด้วยเหตุนี้องค์กรที่ประสบความสำเร็จหลายแห่งจึงได้กำหนดให้มีแผนสำหรับ อัตลักษณ์องกค์ รวมอยุ่ในแผนการบริหารงานขององค์กร ด้วยการเปลี่ยนแปลงซึ่งส่งผลต่อความสำเร็ขององค์การนั้นมิได้เกิดขึ้นจากการบริหารงานภายในองค์กรเท่านั้นแต่ยังรวมไปถึงการเปล่่ยนแปลงปัจจัยภายนอกด้วย..
           องค์ที่ต้องการสร้างอัตลักษณ์ขององค์กรอาจเกิดจากสาเหตุ คือ
           - เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นใหม่และมีคู่แข่งในธุรกิจนั้นเป็นจำนวนมากจึงต้องสร้างอัตฃลักณษ์เฉพาะสำหรับองค์กร
           - องคกรนั้นเป็นองค์กรที่ตั้งนานพอสมควรและเห็นความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนารูปแบบเสียใหม่ซึ่งระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการเปลี่ยนแปลง อัตลักษณ์นั้ขึ้นอยงูกับ ลักษณะของธุรกิจแต่ละประเภทเชนถ้าเป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับแฟชั่นเครื่องแต่งกายเครื่องสำอางฯลฯ อาจมีความจำเป็นที่จะต้อง
ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ฯ บ่อยครั้งกว่างรูรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เป็นต้น และแผนการตลาดองค์กรต่างๆ ความมีแผนกรบริหารงานระยะยาวซึ่งรวม อัตลักษณ์องกรค์ อยู่ในแผนนั้นๆ ด้วยเพื่อให้การสร้างอัตลักษณ์ฯ เป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีทิศทางที่น่าสนใจ
           ภาพลักษณ์ขององค์กรคืออะไร : องค์กรต่างๆ เปรียบได้กับมนุษย์ซึ่งตางก็มีบุคลิกลักษณะที่แตกต่างมีคุณสมบัติเฉพาะตัวและมีประวัติความเป็นมาอันน่าภาคภูมิใจร่วมถึงมีปรัชญาในการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน องค์กรต่างๆ ก้เช่นเดี่ยวกันล้วนแล้วแต่มีวมแตกต่างกันทั้งสิ้นดังนั้นการที่บุคคลทั่วไปจะได้ม่โอาสรับรุ้และเข้าใจถึงความเป็นองค์กรนั้นๆ จึงต้องอาศัยการแสดงออกอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนและแสดงถึงภาพลักษณ์ (อิมเมจ) ขององค์กรนั้นๆ ได้ป็นอย่างดี "ภาพลักษณ์องค์กร" หมายถึง "ภาพ" ที่บุคคลทั่วไปไม่ว่าจะเป็นผุ้บริโภคถู่แข่งผุ้ค้าปลีกหรือสังคมดดยรวมเข้าใจว่าองค์กรนั้นเป็นอย่างไรเช่นน้ำมันบางจากมีภาพลักษณ์ของการช่วยเหลือสังคม เป็นต้น "อัตลักษณ์องค์กร" กมายถึงการสร้างความเป็นอัตลักษณแด่องค์กรโดยอาศัยเครื่องหมายการค้าหรือสัญลักษณ์ที่สามารถสะท้อนภาพที่องค์กรนั้น ๆ ต้องกานำเสนอต่อสังคมเพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจและการยอมรับอัตลักษณ์ขององค์กรจะต้องมีความชัดเจนมิใช่เป้ฯเพียงช่อหรือคำขวัญ (สโลแกนป สั้นๆ แต่จะต้องเป็นส่ิงที่เป็ฯจริงมองเห็นได้และเป็นยอมรับเป็ฯพื้นฐานของการกำหนดรูปแบบของสินค้าหรือบริการรวมถึงอาคารสำนักงาน...ฯลฯควมเป็นอัตลกษณ์อาจแสดงออกในรูปของช่อสัญลักษณ์สี และรูปแบบที่มีลักษณะเฉพาะตัวจะเป้นปัจจัยที่สร้างกรอบให้กับองค์กรรวมท้งสร้างความภักดีให้เกอดแก่องค์กรอีกด้วย..
          กระบวนการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร : มีด้วยกัน 3 ขั้นตอน ดังนี้

           ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนในการประเมินวิเคราห์และเสนอแนะ รายละเอียดของขั้นตอนดังต่อไปนี่
                              - การิวเคราะห์อุตสากหรรมเชิงกลยุทธ์
                              - การกำหนดตำแน่งทางการตลาด
                              - ค้นหาอัตลักษณ์ที่ดำรงอยุ่ขององค์กร
                              - การตรวจสอบด้านการออกแบบการสื่อสารและพฤติกรรมขององค์กร
                              - การพิจารณาภาพลักาณ์องค์กร
                               - การกำหนดวัตุประสงค์ของการทำอัตลักษณ์ขององค์กร
           ขั้นตอนที่ 2 พัฒนาความคิดในการออกกแบบกำหนดพฤติกรรมและโปรแกรมการสื่อสาน ดังนี้
                              - กระบวนการการออกแบบ
                              - ส่วนประสมปัตลักาณขององค์กร
                              - การสื่อสารอัตลักาณ์ขององค์กร
            ขั้นตอนที่ 3 เปิดตัวและดำเนินการ
                              - การวางแผนการดำเนินการ
                              - การเปิดตัว
                              - การบริหารด้านเอกลักษณ์ขององค์กรอย่างต่อเนื่อง
                              - การสร้างความเป็นเจ้าของอัตลักษณ์ขององค์กร.... ( to be continue...)

                 
 ภานุพงศ์ คณนานุกูลชัย 2555 "โครงการออกแบบโครงการสร้างอัตลักษณ์และออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เืพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ สำหรับบิรษัทรับทรัพย์แกรนด์ จังหวัดขอนแก่น. 
          
           

วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Identification

            Identification อัตลักษณ์ หรือการกำหนดเอกลัษณ์ หมายถึง กระบวนการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งนิยามตนเอง หรือเอกลักษณ์ของตนโดยยึดถือบุคคลอื่นหรือสิ่งอ่นนอกจากตัวเองเป็นหลัก เช่น คนที่เจ็บแทนเพื่อหรือ หมู่คณะได้ชื่อว่าถือเพือนหรือหมู่คณะเป็นอัตลักษณ์อันเดียวกับตน
           Identity คือคำว่ อัตลักษณ์ซึ่งตรงกับความหายของคำนี้ในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ นั้นก็คื อสิ่งที่เป็นคุณสมบัติของคนหรือส่ิงหนึ่งและมีนัยขยายต่อไปว่าเป้นคุณสมบัติเฉพาะของคนหรือสิ่งนั้น ที่ทำให้ส่ิงนั้นโดดเด่นขึ้นมาหรือแตกต่างจากส่ิงอื่น แต่ในปัจจุบันความมหายนี้ได้แปรเปลียนไป แนวโน้มทางทฤษฎียุคหลังสมัยใหม่ ทำให้เกิดการตั้งคำถามอย่างมากกับวิธีการมองโลกการเข้ถึง ความจริง ของส่ิงต่างๆ รวมทั้งสิ่งที่เชื่อกันว่าเป็นความจริงที่เป็น แก่นแกน ของปัจเจกบุคคล วิธีคิดในกระแสนี้รื้อถอนความเชื่อเกี่ยวกับคุณสมบัติแก่นแกนของปัจเจกภาพ ความเป็นปัจเจกกลายเป็นเรื่องของการนิยามความหมายซึงสามรถเลือนไหลเปลียนแปลไปตามบริยท อัตลักษณ์เป็นมโนทัศน์ที่คาบเกี่ยวสัมพันธ์กับวิชาหลายแขนงทางด้านสังคมศาสตร์ ทั้งังคมวิทยามนุษย์วิทยา จิตวิทยา และปรัชญา อัตลักา์มีความสำคัญเป็นพิเศษเนื่องจากเป็นปริมณฑล เชื่อมต่อระหว่างขั้วทั้งสองในด้านหนึ่งอัตลักาณ์ คื อความเป็นปัจเจก ที่เชื่อมต่อและสัมพันธ์กันสังคม
          ซึ่งเกี่ยวกับความหมายของอัตลักษณ์นี้ประสิทธิ์ ได้กล่วถึงความหมายของอัตลักา์ว่า อัตลักาณ์ มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน คือ Identitas เดิมใช้คำว่า Idem ซึ่งหมายความว่า เหมือนกัน (THE same)
อย่างไรก็ตามโดยพื้นฐานภาษาอังกฤษแล้ว อัตลักาณ์มีความมหายสองนัยยะด้วยกัน คือ ความหมายเหมือนและความเป็นลักษณะฉพาะที่แตกต่างออกไป นั่นคือการตีความหมายเหมือนกันบนพื้นฐานของความสัมพันะื และการเปรียบเที่ยบกันระหว่างคนหรือสิ่งขอในสองแง่มุมมอง คื อความคล้ายคลึงและความแต่กต่าง นอกจากนั้นแล้วยังชี้ให้เห็นว่าอัตลักาณ์มิใช่เป็น่ิงที่มีอยุ่แล้วในตัวของมันเอง หรือ กำเนิดขึ้นมาพร้อมคน หรือสิ่งของ แต่เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาและมีลักษณะความเป็นพลวัตอยู่ตลอดเวล ซึ่งสอดคล้องกับการให้ความมหายของ เบอร์เกอร์ และ ลัคแมนน์ ที่ว่าอัตลักษณ์ถูกสร้างขึ้นดดยกระบวนกา ทางสังคม คร้นเมื่อตกผลึกแล้วอาจมีความคงที่รปับเลปี่ยน หรือแม้กระทั้งเปลี่ยนแปลง หรือแม้กระทั้งเปลี่ยนแปลงรูปไปทั้งนี้ขึ้นอยุ่กับความสัมพันะ์ทางสังคมเป้นหลักกล่าวดยอีกนัยหนึ่งอัตลักาณ์เป็ฯเรื่องของความเข้าใจและการรับรุ้ว่าเป้นใครและคนอื่นเป็นดใครนั้นคือเป้ฯการกอปรขึ้นและดำรงอยุว่าเรารับรู้เกี่ยวกับตัวเราเองอย่างไร และคนอื่นรับรุ้เราอย่างไรโดยมีกระบวนการทางสังคมในการสร้างแลสืบทอดอัตลักาณ์ ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับบริบทของความสัมพันธ์ทางสังคมที่มีต่อคนหรือกลุ่มอื่นๆ ด้วย
         อัตลักษณ แบ่งออกเป็น ๑ ระดับ คือ อัตลักษณ์ระดับปัจเจก และอัตลักา์ร่วมของกลุ่ม ในระดับปัเจก บุคคลหนึ่งอาจมีหลายอัตลักษณ์อยู่ในตัวเอง ในขณะที่อัตลักาณ์รวมก่อให้เกิดความสงลอยู่รวมกันของกลุ่มชน และไม่สามารถแยกออกจากการกระทำหรือละท้ิงสถานภาพของปัจเจกในกลุ่มได้
          คำว่า อัตลักษณ์ มีความหมายที่ครอบคลุม ตั้งแต่เรื่องของเชื่้อชาติ เพศ สีผิว โดยปัจจุบันเราพบความเปลี่ยนแปลงและความเปลี่ยนแปลงและความไม่ชัดเจนของการแสดงอัตลักษณ์ในหลายๆ กลุ่มชน เนื่องจากอิทธิพลของการพัฒนาและการเปิดรับอารยธรรมของชนเผ่าที่มองว่า ตนเองเป็นผุ้มีอารยธรรมเหนือกว่า ดังนั้นกาพยายามเปลี่ยนแปลงโดยไม่เข้าใจที่มาของรุปแบบวัฒนธรรมนั้นยอ่มทำให้ผุ้รับเอวัฒนธรรมมาตัึวามหมายที่ผิดแปลกออกไป การดูถูกทางวัฒนธรรมหรือการเหยียดสีผิว การเหยียดชนชั้นคึงเป็นส่ิงที่ตามมา..อาจพอสรุปได้ว่า อัตลักษณ์หมายถึง ความนึกคิดเกี่ยวกับบทบาทเฉพาะตนของบุคคลในการแสดงออกเพื่อติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลอื่นตามโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม ที่บุคคลดำรงอยุ่เนื่องจากอัตลักษณ์เป็นความนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง จึงมีความสำคัญ ตอพฤติกรรมของบุคคล กล่าวคือ ความนึกคิดเกี่ยวกับตนเป็นเครื่องกำหนดพฤติกรรมของบุคคลเพราะคนเราย่อมกระทำไปตามความคิด หรือ มโนภาพว่าตนเองเป็นคนเช่นไร
       
ทฤษฎีอัตลักษณ์ เ็นทฤษฎีทางจิตวิทยา ที่มุ่งอธบยพฤติกรรมตามบทบาทของบุคคล ทฤษฎีอัตลักาณ์มีความเป้นมาและมีหลักการของทฤษฎี คือ
          เชลดอน สไตรเกอร์ ศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาสังคมวิทยา ม.อินเดียนา สหรัฐฯ ได้พัฒนาทฤษฎีอัตลักษณ์ โดยอาศัยกรอบแนวคิดตามบริบททางสังคมวิทยาบนพื้นฐานทัศนภาพโครงสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์นิยม โดยมีวัตถประสงค์ของทฤษฎีคือ เืพ่ออธิบายพฤติกรรมแสดงบทบาท ซึ่งเกิดจากากรปฎิสัมพันะ์เชิงสัญลักษณ์ระหว่งสังคม และตัวตน ของบุคคล โดยมีโครงสร้างทางสังคม และการปฏิสัมพันะ์ทางสังคม เป็นตัวกำหนดหรือควลคุมการแสดงพฤติกรรมของบุคลล ทฤษฎีนี้อาศัยข้อตกลงเบื้องต้น
          จากแนวคิดว่าสังคมและตัวตนมีความซับซ้อน ความหากหลายแง่มุม และมีการจัดระบบระเบียบ จึงทำให้เกิดการสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆของสังคมกับส่วนต่างๆ ของตัวตนตลอดจนการดำเนินการในเรื่องนี้อย่างเป็นเหตุเป็นผลดีขึ้นทฤษฎีอัตลักษณ์ได้นำแนงคิดปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณะนิยมมใช้อธบายพฤติกรรมของบุคคล โดยให้ความสำคัญกับการเลือบทบาท กล่าวคือพฤติกรรมการเลือกบทบาท เป้นผลที่เกิดจากความเด่นของอัตลักณ์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบหนึงขอ ตัวตน ในขณะที่ความผุกพันต่อบทบาท ส่งผลต่อความเด่นของอัตลักษณ์

            บางส่วนจาก วิทยานิพนธ์ " การสื่อสารอัตลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษษเอกชนไทย" (บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง), วราลักาณ์ ศรีกันทา, มหาบัณฑิต บัณฑิตศึกษามหาวิทลัยเนชั่น, ตุลาคม 2555.

วันพุธที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

The summit came to a close.

           นายกรัฐมนตรี เสร็จสิ้นภารกิจประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 31 และการประชุมสุดยอดอื่นที่เกี่ยวข้อง (15 พ.ย. 2560)
           นากยักรัฐมนตร เสร็จสิ้นภารกิจประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 31 และการประชุมสุดยอดอื่นที่เกี่ยวข้อง ที่สาธารณรัฐฟิลิปปินส์แล้ว ดดยไทย เน้นย้ำความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ ที่ีอาเซียนเป้นแกนกลาง เืพ่อส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันบนพื้นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน
         พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เสร็จสิ้นภารกิจการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที 31 และการประชุมสุดยอดอื่นทีอื่นที่เกี่ยข้อง ที่กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์แล้ว และเดินทางกลับถึงประเทศไทยเมื่อเวลา 02.00 น. ที่ผ่านมา การปรุชมครั้งนี้ผุ้นำอาเวียนและผุ้นำประเทศคูเจรจาเข้ารวมการประชุมร่วม 16 เวที โดยการประชุมสุดยอดอาเซียน ช่วงการประชุมเต็มคณะ นายกรัฐมนตรี ใช้ฮกาสเข้า่วมการประชุมครั้งนี้ เสนอหลักการ 3 แนวทางเืพ่อขชับเคลื่อนอาเซียนไปข้างหน้า คือ การสร้างประชาคมที่อาเซียนให้เป็ฯการเชื่อมต่อกับภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และโลกอย่างเป้นระบบ การเสริมสร้า
และรักษาความเป็นแกกลางอาเซียนส่วนการปรชุมสุดยอดอื่นๆ ที่เีกี่ยวข้อง อาทิ การประชุมสุดยอดhttp://thainews.prd.go.th/website_th/news/news_detail/TNPOL6011150010005
อาเซียนบวกสาม การประชุมสุดยอดอาซียนแคนาดา การประชุมสุดยอดอาเซียน-สหภาพยุโรป เพื่อฉลองโอกาสรบรอบ 40 ปีความสัมพันะ์ ไทยมีบทบาทสำคัญกับชาติอาเซียน ในการร่วมผลักดันความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา เน้นการมีอาเซียนเป้นแกนกลาง สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ส่งเสริมผลประโยชน์ร่วมกันบนพื้นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุม ได้ลงนามแันทามติว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองแรงงานต่างด้าว เพื่อแสดงจเตนารมย์ในการสร้างกลไกส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิสวัสดิการของแรงงานต่างด้าวในอาเซียน
             ประเทศไทยเสนอแนวทางความร่วมมือต่อที่ประชุมสุดยอดอาเซียน และประเทศคู่เจรจา เน้นความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ที่มีอาเวียนเป้นแกนกลาง ทั้งด้านเศรษบกิจ และการเชื่อมโยงในภุมิภาค เพื่อขับเคลือนการพัฒนาอย่างทั่วถึง และยั่งยืน โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย รายงาน
             การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 31 และการปรุชมสุดยอดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ง ที่กรุงมะนิล
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์วันสุดท้าย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้เข้าร่วมการปรุชมสุดยออดอาเซียน + 3 โดยใช้ประโยชน์จากการตลาดและฐานการผลิตเดียวของประชาคมอาเซียบน เพื่อเมปริมาณการต้าและากรลงทุนในอาเซียนให้มากขึ้น เพื่อยกระดับเป้นปรชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก บนพื้นานของประชาคมเศราบกิจอาเซียน มีความก้าวหน้าด้านเศราฐกิจอย่างยั่งยืนในระบบเศรษบกิจโลก
             ส่วนการประชุมสุดยอดอาเซียน-แคนาดา สมัยพิเศษ นายกรัฐมนตรีกล่าวชื่นชมรัฐบาลแคนาดาที่เพ่ิมความสำคัญต่อภุมิภาคเอเชียตะวัออกเฉียงใต้ เสนอให้เร่งเสริมสร้างความร่วมมือเพือรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลก และส่งเสริมเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งบยืนให้เกิดผลเป็นรูปะรรมมากยิงขึ้น อีกทั้งจะร่วมกันพัฒนาและส่งเสริมระบบภูมิภาคนิยมและพหุภาคีนิยม บนพื้นฐานหลักำหมา และผลปรธยชน์ร่วมกัน
           
สำหรับการประชุมสุดยอดอาเวียน-สหภาพยุโปร สมัยพิเศษ ในฐานะที่ไทยเป้นประเทศผูประสานงานอาเซียนอียุ มีควาก้าวหน้าหลายด้าน เช่น การจัดทำแผนงานอาเวียน-อียู ด้านการต้า การลงทุน การเจรจาความตกลงการขนส่งทางอากาศแบบครอบคลุม เืพ่อให้ความร่วมมือเดินหน้าสู่เป้าหมาย เสนอให้อาเวียนและอียู ร่วมส่งเสริมภูมิภาคนิยมและพหุภาคีนิยม เพือปกป้องสิทธิประโยชน์ของมนุษย์และไม่ทิ้งใตีไว้ข้างหลัง รวมทั้งยึดประชาชนเป็นศุนย์กลาง ไม่ว่าจะเำเนินนโยบายในเรืองใด
             ขณะที่การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งที่ 12 ซึ่งมีผุ้นำประเทศอาเซียน และผุ้นำ จีน ฐี่ปุ่น รัสเซีย เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินเีย นิวซีแลนด์ เข้าร่วมโดย(ุ้สกรัฐของลาประชุม เนื่องจากมีภารกิจต้องเดินางกลับก่อน นายกรัฐมนตรีเน้นในที่ประชุม ขอให้ใช้เวทีหารือเชิงยุทธศาสตร์ ดดยทุกประเทศร่วมมือกัน เริมสร้างความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการเงินให้มากขึ้น ผลักดันการเชื่อมโยงในภูมิภาค เืพ่อขับเคลื่อนกาพันาและความเจริญให้ทั่วถึง รวมทั้งบริหารจัดการปัญหาและความท้าทายด้านความมั่นคง และอาชญากรรมทางไซเบอร์
            จากนั้นนายกรัฐมนตร ร่วมพิธีการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้งที่ 31 อย่างเป็ฯทางการ และพิธีส่งมอบตำแหน่งประธานอาเวียน จากสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ให้แก่สาธารณรับสิงคโปร์ต่อไป http://www.tnamcot.com/view/5a0ae9e9e3f8e40ae58e50b5

              "ผู้นำอาเซียน" เหน็ชอบ 3 แผนงานสุดท้ายของเออีซี
              นางอภิรดี ตัสตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยถึงผลการหาหรือของคณะหมาจรีประชาคมเศรษฐกิจอาเวียน ครั้งที่ 15 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายนที่ผนม ในระหว่าการประุมสุดยอดอาเวียน ครั้งที่ 31  ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ว่า เป้ฯการหารือครังแรกในรอบ 2 ปี หลังจากการก่อตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียน เมื่อปลายปี 2558 โดยได้หารือความคืบหน้าการดำเนินการตามแผนงานประชุมคมเศรษฐกิจอาเวียน ที่ประชุมได้รับรองปผนงานรายสาขาครบถ้วนแล้วทั้ง 32 แผนงาน
             นางอภิรดีกล่าวว่า 3 แผนงานสุดท้ายที่ได้รับรอง คือ 1. แผนปฏิบติการเชิงยุทะสาสตร์ด้านการอำนวนความสะดวกทางการค้า มีเป้าหมายลดต้นทุนธุรกรรมทางการต้าลง 10 %  ภายในปี 2563 และเพ่ิมมูลค่าการค้าภานใภุมิภาคเป็น 2 เท่า ภายในปี 2563 2. แผนการดำเนินการด้านพาณิชย์อเล็กทรอนิ
กส์ของอาเซียน เพื่อส่งเสริมพณิชย์อิลเ็กทรอนิกส์ภายในภุมิาภค และ 3. แผยปฏิบัติการเชิงยุทธศาสตร์ด้านภาษีอากร ซึ่งเป็นแวทางการดำเนินการด้านภาษาีอาการ เช่น การสนับสนุนการดำเนินการเพื่อจัดทำความตกลงอนุัญญาภาษีซ้อนให้แล้ว เสร็จการขยายขอบเขตดครงสร้างภาษีหัก ณ ที่จ่าย การปรับปรุงการปฏิบัติงานในการแลกเปลี่ยนข้อมุลให้สอดคล้องกับมารตรฐานสากล ซึงแผนงานดังกล่าวเป็นแปนงารที่จำเำเนินการนับจากนี้จนถึงปี 2568
           นางอภิรดี กล่าวอีกว่ ที่ประชุมครั้งนี้ยังได้รับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วย นวัตกรรม ซึ่งแสดงถึงเจตนารวมกันของประเทศสมาชิกอาเซียนในการใช้นวัตกรรมเป้นปัจจัยขับเคลื่อนให้เกิดการเติบโต และการแข่งขันของุตสาหกรรมระดับภูมิภาค โดยเอกสารดังกล่าวจะเสนอต่อผุ้นำอาเซียนให้ความเห้ฯชอบภายในการประชุมผุ้นำอาเวียนในครั้งี้นอกจากนี้ที่ประชุมได้ให้ความเห็นชอบรายงานของ AEC Council ต่อผุ้นำอเวียน ซึ่งมีข้อเสนแให้ผุ้นำอาเซียนพิจารณา เช่น การให้ความสำคัญกับการทำงานร่วมกันระหว่าองค์กรรายสาขา และสเหลักของประชาคมอาเซียน การให้ประเทศสมาชิกความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค แสดงความยืดหยุ่นและปรับระดับความคาดหวังเืพ่อให้การเจรจา บรรลุผลhttps://www.matichon.co.th/news/731333

         

ในวาระการปิดการประชุม ประธานาธิบดี โรดริโก ดูเตอร์เต ได้กล่าวสุนทรพจน์ ระบุว่า การประชุมที่จัดขึ้น ทำให้ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นมากกมาย ซึ่งล้วนแต่มีประโยชน์ทั้งระดับภูมิภาค และระดับโลก พร้อมทำพิธีมอบตราสัญลักษณ์ ส่งต่อให้ผุ้นำสิงคโปร์เป็นเจ้าบ้านจัดากรประชุมต่อในครั้งต่อไป สำหรับประเด็นหารือด้านเสณาฐกิจ ได้ร่วมพุดคุยกับตัวแทนจาก จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ตากรอบความร่วมมือ "อาเซียนบวก 3" โดยเสนอให้มีการจัดทำประชาคมเศราฐกิจ "จัดตั้งตลดเดียว" เพื่อให้สามารถหมุนเวียนสินค้า บริการ เงินทุน และบุคลากร ได้อย่างเสรี สร้างห่วงโซ่ อุตสาหกรรมให้ทุกประเทศ ได้รับประโยชน์ร่วมกัน
          นอกจากนี้ ยังมีการหารือเกี่ยวกับการแก้ปัญหาความยากจีนของประชาชน และเน้นใช้คุณค่าทางวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ ในการสร้างความเป็ฯอันเหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน ดดยระบุ จะสร้างชุมชนเศรษบกิจอาเซียนบวก 3 ให้แข็งแรงยิ่งขึ้นภายในระยะเวลา 20 ปี
       
ด้านภัยคุกคาม นายดูเตอร์เต เน้นกล่าวถึง ภัยคุกคามจากความแข็.กร้าวของเกาหลีเหนือ โดยชี้ให้เห็นถึงความอันตรายที่อาจเกิดขึ้น และการทำลายภุมิประเทศซึ่งเป็นแหลงมลทำมาหากิน เพาะปลูกของประชาชน หากเกาหลีเหนือ ยังคงเดินหน้าพัฒนาและทอลองขีปนาวุธ และอาวุธนิวเคลียร์
           ส่วนประเด็นเรื่อง สิทธิมนุษยชน นายกรัฐมนตรี จัสติน ทรูโด ของแคนาดา ได้กล่าวระหว่างการหารือนอกรอบ ในระดับทวิภค กับ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ โดยีการแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับประเด็นการเดินหน้าสงครามปราบปรามยาเสพติดของเจ้าบ้าน โดยหลายฝ่ายชี้ว่า เป้นสัญญาณที่ดี ที่นายดูเตอเตย์ ไม่ได้แกสงท่าที่ต่อต้านในการพุดคุยประเด้นนี กับทางฝั่งแคนาดา
       

นอกจากนี้ นายทรูโด ยังได้แสดงความกังวล ในสภานการณ์ความขัดแย้งระหว่างชาวโรฮิงญา กับตัวแทนรัฐบาลเมียนมา แม้เมื่อว่านนี กองทัพเมียนมา จะออกมาเผยรยงนว่า ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกบการฆ่าล้างเผ้าพันธุ์ชนกลุ่มน้อยกลุ่มนี้ก็ตาม
           ส่วนเริ่องความขัดแย้งบนทะเลจีนใต้ นายกรัฐมนตรี หลี่ เค่อเฉียง ของจีน ชี้ว่า รัฐบาลจีน จะเข้าร่วมการเจรจาตามแนวทางปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต้ พร้อมเรียกร้องให้ทุกฝ่าย ใช้แนวทางสัติวิธีเพื่อวางรากฐานความมั่นคงทางทะเล
            อย่างไรก็ตาม แม้เมื่อวานนี จะเปํนวันสุดท้ายของการประชุม แต่รัฐบาลฟิลิปปินส์ ยังคง้องสั่งครึงกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจ เพื่อรักษาความปลอดภัย เนื่องจาก ยังคงมีกลุ่มผุ้ประท้วงออกมาชุมนุมอยู่เป็นจำนวนมาก...http://www.krobkruakao.com/abroad/56651

วันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

hot issue ' ASEAN Summit 31 st. Part 1.5

           โรฮีจา-ทะเลจีนใต้- นิวเคียร์ ประเด็นร้อนในอาเซียนซัมมิท ครั้งที 31 ที่ ฟิลิปปินส์
            โรฮิงจา ร่างแถลงการณ์ร่วมผุ้นำอาเซียนไร้เงาประเ็นกว่าล้างชาวโรฮีนจา ในเมียนมา กลายเป็นประเด็นร้อย หลังอาซียนเผยร่างแถลงการร่วมของการประชุมสุดยอดผุ้นำในครั้งนี้ ดดยไม่ได้มีการระบุถึงประเ็นการกว่าดล้างและขับไล่ชาวโรฮีนจาในรัฐยะไข่ของเมียนมาออกนอกประเทศ หลังกองทัพเมียนมาใช้มตรการทางทหารและความรุนแรงต่อชาวมุสลิมกลุ่มนี้
            นับตั้งแต่เดือนสิงหาคมเป้นต้นม มีชาวดฮีนจาอพยพไปยังบังกลาเทศ มากว่า หกแสนคน บาดเจ็บและสียชีวิตเป้นจำนวนมาก หมู่บ้านหฃายแห่งของชาวโรฮีนจาถูกเผาทำลายท้ิง สหประชุาชาติได้ประณามเหตุการใช้ความรุนแรงดังกลาวว่า "ไม่ต่างอะไรกับการฆ่าล้างเผ่าพันธ์" และเรียกร้องให้นางออง ซาน ซุจี ผุ้นำที่ (เคย) เป็นแรงบันดาลใจของคนทังดลกในเรื่องการต่อสู้เืพ่อความเป็นประชาธิปไตยและความเท่าเที่ยมกันในยุคเผด็จการทหารของเมียนมาได้ออกมาแก้ไขปัญหานี้เป้นการด้่วน
            ความตอนหนึ่งในร่างแถลงการณืดังกล่าว พุดถึงควมสำคัญของการให้ความช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม แก่ผุ้เคราะห์ร้ายและตกเป็นเหยือของภัยพิบัติทางธรรมชาติในเวียดนา กรต่อสุ้กับกลุ่มรัฐอิสสลาม (กลุ่มไอเอส) ในฟิลิปปินส์ รวมถึงชุมชขนที่ได้รับผลกระทบบริเวณทางตอนเหนือของรัญยะไข ซึ่งไมได้ระบุหรือชีแจงข้อมุลเพ่ิมเติม เกี่ยวกับความโหดร้ายและป่าเถือนที่กองทัพเมียนมาใช้ความรุนแรง ต่อต้านและปราบปรามกลุ่มคนที่พวกเขามองว่า เป็นอื่น โดยมิไดคำนึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนแต่อย่างใด
            นางออง ซาน ซุจี เจ้าของรางวัลโนเลสาขาสันติภาพปี 1991 ที่เดนทางเข้าร่วมการประชุมสุยอดผุ้นำในครั้งนี ต่างทำให้ลายฝ่ายผิดหวังต่อท่าทีของเธอในประเด็นี และเธอยังไม่เคยเอ่ยถึงการกวาดล้างชาวโรฮีนจาบริเวณทางตอนเหนือของรัฐยะไข่เลย นับตั้งแต่เดินทางถึกรุงมะนิลา ส่ิงที่เกิขึ้นอาจะสะท้อนถึงจุด้อยของอาเว๊ยนที่ยึดืถอหลักาไม่แทรกแซง ระหว่างกัน ซคึ่งส่งผลให้บางประเด็นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาด้านสิทธิมุนษยชนภายในภูมิภาคนี้ยังไม่ได้รับการเยียวยาแก้ไขอย่างจริงจัง
         
 วิลเนอร์ ปาปา ผุ้แทนขององค์กรนิรโทษกรรมสากลระหว่างประเทศ ประจำฟิลิปปินส์เผยว่า "ผุ้นำอาเซียนจะพูดคุยถึงประเด็นปัญหาการก่อการร้าย สันติาพ และความสงบสุขภายในภูมิภาค แต่มีประเด็นปัญหาหนึ่งที่จะไม่ถูกพูดถึง และผู้เคราะห์ร้ายเหล่านั้นกำลังถุกเพิกเฉยจาบรรดาผุ้นำประเทศเหล่านี้"
          ทะเลจีนใต้ อาเซียนและผุ้นำจีน เร่งผลักดันให้แก้ไขปัญหาพิพทาในทะเลจีนใต้
          นายหลี่ เค่อเฉียง นายกรัฒนตรีของจีน ได้แสดงจุดยืนต่อกรณีพิพาทในทะเลจีนใต้ที่เกิดขึ้นมาอย่างยาวนา ขณะเข้าร่วมปรุชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียนในครั้งนี้ โดยมองว่า การเร่งจัดพิมพ์แบบแผน ข้อพึงปฏิบัติ ต่อกรณีพิพาทดินแดนที่เกดขึ้น จะมีสวนช่วยทำให้เกิดความีเสถียรภาพเพิ่มมากขึ้นภายในภุมิภาค
         "ความหวังสุงสุดของจีนคือ การเกิดสันติภาพและความมั่นคงขึ้นภายในภูมิภาค"
          นักวิชาการหลายสำนักมองว่า ความพยายามดังกล่าวไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ในช่วงเร็วๆ นี้เนื่องจากการพุดคุยที่เกิดขึ้นเป็นเพียงกรอบแนวทางและหลายประเทศก็ยังเดินหน้าอ้างกรรมสิทธ์เหนือดินแดนต่างๆ โดยยากที่จะแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน ทั้งนี้ยังไม่ได้มีการกไนดวันที่จะเริ่มเจรจากันอย่างชัดเจนอีกด้วย
          นอกจากนี้เมืองช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนทที่ผ่านม ทางการจีนก็ได้เปิดตัวเรือขุดลำใหม่ที่ใหญ่ที่สุดของจีน หรืออาจเรียกได้ว่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชีย มีการคาดการณ์ว่า เรือขุดลำมหึมานี้จะมีส่วนสำคัญในการเพ่ิมศักยภาพในจการสร้างเกาะที่ยมให้แก่จีน และ สนับสนุนการอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนต่าง ๆที่จีอ้างว่าเป้ฯกรรมสิทธิ์ของตนดดยเฉพาะหนือน่านน้ำทะเลจีนใต้ที่มีข้อพิพาทกับไต้หวันรวมถึง 4 ประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนอีกด้วย จึงย่ิงสงผลกระทบต่อควาเชื้อมันระหว่งกันในการร่วมือแก้ไขปัญหานี้
          ทั้งนี้ที่ผ่ามาจีนอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนในทะเลจีนใต้เกือบทั้งหมดและสร้างค่ายทหาร รวมถึงถมพื้นที่ตามแนวปะการังในบริเวณดังกล่าวอีกด้วย
           นิวเคลียร์คาบสมุทรเกาหลี ผุ้นำสหรัฐฯ ชี อาเวียนจะเป็นกลไกสำคัญในการยุติปัญหานิวเคลียร์บนคาบสมุทรเกาหลี
           ปัญหาความตึงเครียดที่เกิดขึ้นบนคาบสมทุรเกาหลีที่นับวันจะยิ่งทวีความรุนแรงและยากจะคาดเาได้นั้นยิ่งทำให้หลายฝ่ายในประชาคมระหว่างประเทศเป็นกังวลต่อภัยคุกคามความมั่นคง และสงคามนิวเคลียร์ที่อาจจะเกิขึ้นได้ในอนาคต มหาอำนาจตะวันตกอย่างสหรัฐฯ หนึ่งในคุ่ขัดแย้งหลักของปัญหานัก รวมถึงชาติพันธมิตร จึงไดพยายามดำเนินมาตรการกดดันเกาหลีเหนือในการยุติการทดสอบและเดนหน้าพัฒนาขีปนาวุธนิวเคลียร์โดยเร็วที่สุด ก่อนที่ความขัดแย้งจะบานปลายจนกลายเป็นการใช้กำลังเข้าโจมตีระหว่างกัน
           แต่ดุเหมือนว่าอาวุธนิวเคลียน์นี้ เปรีบเสมอืนเป้นหลักประกันเพียงหนึ่งเดียวที่จะช่วยปกป้องผลประโยชน์แห่งชาติของเกาหลีเหนือไว้ได้ จึงทำให้สถานการณ์ต่างๆ รวมถึงหนทางที่จะนำไปสู่โต๊ะเจรจาในช่วงเวลานี้เป้นไปได้ยากพอสมควร
           ทั้งนี้ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ยังเล็งเห็นว่า อาเซียนจะเป้นอีกหนึ่งตัวแสดงสำคัญในประชาคมระหว่างประเทสที่จะสนับสนุจุดยืนของสหัรัฐฯ พร้อมกดดันให้กองทัพโสมแดงยุติโครงการต่าง ๆที่เกียวข้องกับขีปนาวุธนิวเคลียร์โดยเร็วตามมติของสหประชาชาติ เพราะถ้าหากทุกประเทศช่วยกันตัดช่วงอทางแหล่งเงนิทุนที่จะใช่ในการพัฒนาอาวุธดังกล่าว อาจทะใไ้เป้าหมายนี้บรรลุผลเร็วยิ่งขึ้นhttps://thestandard.co/31st-asean-summit/

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...