วันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Define " ASEAN identity

           นิยามของอัตลักษณ์และวัฒนธรรมและความท้าทายในแผนงานการสร้างอัตลักษณ์อาเซีียน
           ความท้าทายของยุทธศาสตร์ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียนกิดจากคำถามสำคัญที่ว่าอาะไรคือมรดกร่วมทางวัฒนธรรมของอาเซียนและเราจะกำหนดมรดกทางวัฒนะรรมของอาเซียนจากอะไร เนื่องจากวันธรรมเป็นคำที่มีความมหายซัล้อนและมีการตีความมัีหลากหลายจึคงยกที่จะกำหนดกรอบความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่าวัฒนธรรม กรอบความเข้าใจในเชิงความหายของัฒนธรรมซึ่งไม่ได้จำกัอยยุ่เฉพาะแต่ในความ่หมายของการเป็นจารีตหรือการคัดกรองสิ่งดีงาม สิ่งที่ควรอนุรักาณ์เท่าน้นหากในปัจจุันความมหายของวัฒนธรรมยังะรรมยังขยายวงกว้างไปสู่การเป็นครรลองหรือวิถีแห่งการทำงาน และการใช้ชีวิต เช่น ครรลองการบริหารงาน วิถีการใช้ชีวิต ครรลองของการดำเนินะุรกิจและการทำงาน เป้นต้น นอกจากนี้ ยังครอบคลุมความหมายถึงสิ่งที่มองเห็นและมองไม่เห็น เช่น ระบบคุณค่าหรือค่านิยมในสังคมนั้น วัฒนะรรมจึงมีความมหาย ที่ซับซ้อนและกว้างไกลกว่าการอนุรัษณ์ ปฏิสังขรณ์ และการดุแลรักษามรดกร่วมทางวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งปลูกสร้งหรือสิ่งที่มองเห็นเท่านั้น
       
 ดังนั้น เราจึงเห็นว่าวัฒนะรรมมีความมหายกว้างขวางครอบคลุมถึงวิถีชิีวิตของผุ้คนในสังคมทุกด้าน ตั้งแต่ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันตามมาแต่ในอดีต วิถีการทำงาน วิถีการปฏิบัตรนและการดำรงตนในสัีงคมร่วมสมัย ทั้งส่ิงที่จับต้องได้ และสิ่งที่จับต้องไม่ได้ วัฒนธรรมยังมีการปรับเปล่ยนแยุ่ตลอดเวงาทั้งใน่ส่วนที่เป็นเนื้อหาและรูปแบบให้เหมาะสมกับยุคสมัยและบริบททมางสังคมี่เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ขึ้นอยุ่กับกลไกในการถ่ายทอดและสืบทอดวัฒนะรรมชของชุมชนหรือังคมหนึ่งๆ นอกจากนี้ กระแสดลกาภิวัตน์และเทคโนโลยีที่ทัสมัยก็เป็นอีกปัจจัยนหนึ่งที่ส่งผล่อรุปแบบของการสืบสานและสืบทอดวัฒนธรรมในปัจจุบันด้วยเช่นกัน ดังนั้น อัตลักาณืทางวัฒนะรรมจึงเป้นส่งิที่ไม่หยุดน่ิง ไม่ตายตัว แลมีการปรับเปล่ยนแบุตลอดเวลา
         ประเทศในอาเซียนมีพัฒนาการทางปรวัติศาสตร์แลลัการะทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกนซึ่งส่งผลต่อวัฒนะรรมและวิถีการดำเนินชีวิตของุ้คนในประทเศนั้นๆ เช่น ความแตกต่างระหว่างประเทสในภาคพื้น
ทวีปกับประเทศในหมู่เกาะ หรือประเทศที่นับถือศาสนาพุทธกับประเทสที่นับถือศาสนาอิสลาม เป้นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผต่อการสร้างจิตสำนึกร่วทางวัฒนธรรมของคนในสังคม ความท้าทายประการหนึ่งชองประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียนโดยเฉาพะงานด้านการส่งเริมอัตลักาณ์อาเซียนคงอยู่ที่กระบวนการกำนหดอัตลัการืร่วมและการสร้างจิตสำนึกร่วมทางวัฒนะรรมของอาเวียนซึ่งตั้งอยุ่บนฐานของความหลากหลายทางวัฒนะรรม จึงทำให้เกำหนดลักษระร่วม างวัฒนะรรมได้ยากซึ่งลางคร้ง อัตลักษรืบางอย่งก้มีลักษณะร่วมกันเแพาะบางประทศที่มีความคล้ายคลึงกันทงประวัติศาสตร์ หรือมีลัีกษระร่วมทางภูมิศาสตร์แต่ไม่สามรถครอบคลุมทุกประเทศในภุมิภาคอาเซียนได้จนบางร้งนำไปสู่คำถามที่ว่าอัตลักษณ์อาเซียนมีอยุ่จริงหรือไม่ เมื่อเป้นเช่นนี้แล้ว นอกเหนือไปจากการกำหนดอัตลักษณืร่วมของอาเวียนบนฐานวัฒนะรรมเดินที่มีอยูอยุ่เราอาจต้องพิจารกษถึงการกำหนดคุณค่าหรืออัตลักษณ์ใหม่สำหรับอาเซียนด้วย ซึ่งอาจเป้นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยให้หลีกเลี่ยงปัญหาและความมขัดแย้งกทางวัฒนธรรม
            นอกจากนี้ การกำหนดลักษณะร่วทางวัฒนะรรมที่ปรากฎในวัฒนธรรมของไทยและประเทสเพื่อบ้านอาจนไไปสู่ความขัแย้งระหว่างอัตลักาณ์ของชาติและอัตลักษณ์ของภูมิภาคและการอ้างกรรมสิทธิ์ของความเป้นเจ้าของวัฒนาะรรมที่มีความดล้ายคลงกันได้ เช่น นาฎศิลป์ (ไทย-กัมพุชา) สัมตำ (ไทย-ลาว) หรือกร๊พิพาทระหว่างมาเลเซียและอินดดนีเซยเกี่ยวกับผ้าบาติกเนื่องจากในปี พงศ. 2552 ผุเนสโกได้ประกาศให้ผ้าบาติกเป็นมรดกทางวัฒนะรรมทีจับต้องไม่ได้ ของอินโดนีเซีย ซึ่งน้างความมไ่พอใจให้กับชาวมาเลเซีย
            รายงานการศึกษาส่วนบุคคล "แผนยุทะศาจร์กระทรวงวัฒนะรรมในการเตียมความพร้อสู่ประชาคมสังคมและวัฒนะรรมอเซียน" นางสาว ดารุณี ธรรมโพธิ์ดล, หลักสุตรนักบริหารการทูต.,

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...