วันพฤหัสบดีที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

EU Members

           กันยายน 2013: แม้ว่ารัสเซ๊ยได้แสดงถึงการเข้าใจต่อการที่อียูได้เปิดขยายรับสมาชิกเพิ่มในปีนี้ แต่รัฐบาลมอสโคว์มีปฎิกิริยาที่น่ิงมากต่ออกาสของตุรกีในการเข้ามาเป็นสมาชิกองค์กรระดับภูมิภาค
อย่างสหภาพยุโรป ที่จริงแล้วมองโควเองกาจจะมองเห็นดอกาสบางอย่างที่จะได้รับจาการที่รัฐบาล "อังการา" จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การนี้
            แต่ในความเป็นจริง การที่ตุรกีจะเข้าไปเป็นสมาชิกในสหภาพยุโรปนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการที่ไม่สามารถที่จะอนตัวออกจากระบวนการของโลกาภิ
วัตน์ได้ มันไม่มีวิธีการใดๆ เพื่อต่อต้านเรื่องดังกล่าว ที่ยิ่งไปกว่านั้นคือ รัฐบาลมอสโควเองมีบทเรียนเกี่ยวกับความร่มมือในลักษณะนี้ในรอบหลายปีที่ผ่านมา ทั้งในเรื่องประเด็นเศรษฐกิจและการเมอืงในหลายๆ ประเทศที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แม้่าผลที่ออกมาจะเป็นด้านเสียหายเป็นส่วนใหญ่ นักการมเืองรัสเซียจึงหวังว่าจากประสบการณ์ครั้งนั้นั้นจะทำให้พวกเขานั้นหลีกเลี่ยงจากความผิดพลาดได้
            ดังนั้น เยฟเกนี พรีมากอฟ ประธานหอการค้าและอุตสาหกรรมรัสเซีย( ในขณะนั้น) ได้ตั้งข้อสังเกตุเมื่อคราประชุมว่าด้วยการค้าและเจรจาระว่างตุรกีและรัสเซีเมือปลายเดือนตุลาคมปี 2004 ว่า รัฐบาลมอสโควและรัฐบาลอังการต้องใช้ประสบการณ์ที่ได้รับจาากการขยายตัวของสหภาพยุดรปเพื่อทำทุกวิะีทางที่จะนำความสำเร็จมาสู่ทั้งสองฝ่าย รวมทั้งขจัดปัญหารต่าวๆ ที่มีต่อข้อตกลงทวิภาคีระหว่งทั้งสองฝ่ายถ้าหากวันหนึ่งตุรกีได้เข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป เยฟเกนียังได้เสริมอีกว่า แม้ว่าสิ่งนี้จะเป็นเรื่องของตุรกีและอียู แต่พันธมิตรทั้งหมดของตุรกีก็คงจะยินดีอย่างยิ่งถ้าหากสิ่งนี้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี
          เยฟเกนี่ รู้ดีว่า เมื่อใดที่ตุรกีเข้าร่วมกับสหภาพยุโรปแล้ว จะมีนักธุรกิจรัสเซียจำนวนมากที่จะได้รับผลกระทบและความูญเสียทางเศรษฐกิจ ดังนั้นมัเป็นการง่ายกว่าทีจะทำฑุรกิจกับรายประเทศแทนที่เป็นกลุ่มอย่างสหภาพยุโรป ตัวอย่างเช่น หารวันหนึ่งรัฐบาลอังการาอาจจะร่วมือกบประเทศในกลุ่มอียูเพื่อปั่นราคาพลังงานของรัสเซียให้มีราคาถูกลง.. เพื่อรักษาบรรยากาศที่ดีระหว่าบรัสเซียและตุรกี อย่างน้อย เราก็ควรที่จะหลีกเลี่ยงการแสดงความไม่เห็นด้วยกับความต้องการของตุรกีที่จะเข้า่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ถ้าหากว่าไม่สนับสนนุนมันที่ทุกวิธีทาง...
         https://web.facebook.com/611122668928347/photos/a.611176075589673.1073741827.611122668928347/633803009993646/?_rdc=1&_rdr
 ความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างรัสเซยและตุรกีได้พัฒนาเป็นอย่างมกในรอบหลายปีที่ผ่านมา สิ่งนี้ไม่ได้อยู่กับว่าทั้งสองประทเศจะเป็นสมาชิกขององค์กรในภุมิภาหรือไม่ ตรงกันข้าม อย่างบางเคส นีเ้เป้นโอกาสที่ดีต่อการนำสนธิสัญญาพหุภาคีที่รวมถึงประเทศต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือภูมิภาคยุโรปทางด้านการเมืองนั้น รัสเซียไดม่ควรที่จะตระหนกตกใจกับการที่ตุรกีจะเข้าไปเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แม้ว่าสิ่งนี้อาจจะสร้างผลกระทบบางอย่างต่อความสัมพันะ์ระหว่างรัฐบาลมอสโควและรัฐบาลกรุงอังการา..
          พศจิกายน 2559  ความสัพันธ์อียู-ตุรกี : ความขัดแย้งอย่างต่อเนื่อง
            ความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปหรืออียู กับตุรกีเคยมีความผันผวนที่ซับซ้อนมาอย่างยาวนาน และปัจจุบัน ความสัมพันธ์นี้ยิงทวีความตึงเครียดมากขึ้น เพราะในหลายวันที่ผ่านมา ทั้งอสองฝ่ายมีการโตตอบกันในหลายปัญหา การขาอดความไว้วางใจและความสงสัยต่อกันคือเหตุผลหลักท่ทำให้ทั้งสองฝ่ายยากที่จะแสวงหาเสียงพุดเดียวกันเพื่อร่วมมือ ตลอดจนแก้ไขปัญหาทั้งในระดับภุมิภาคและโลกทีต้องได้รับการลงมือแก้ไขจากทั้งสองฝ่าย เมื่อในวันที่ 26 ที่ผ่านมา คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป ได้อนุมติข้อเสนอเพื่อยุติการสนทนรับตุรกีเข้าเป็นสมาชิกของอียู เนื่องจากตุรกีได้ละเมิดสิทธิมนุษยชน อียูก้ได้พิจารณามาตรการคว่ำบาตรด้านเศรษฐกิจต่อตุรกีเนื่องจากรัฐบาลตุรกีได้จับกุมสมาชิกของพรรคฝ่ายค้านหลังจากเกิดเหตุก่อกบฎเมื่อเือนกรำฎาคมที่ผ่านมา
          ภายหลังท่าที่ดังกล่าวของ อียู ประธานาธิบดีตุรกี ระเซป ตอยยิบ เออร์โดกัน ได้เรียกร้องให้อียูต้องรู้ "ขอบเขตของตน" ทางการตุรกีมีความรับผิดชอบต่อการบริหารประเทศ และ อียูไม่มีสิทธิ์แทรกแซงกิจการภายในของตุรกี ตุรกีอาจจะพิจารณาการขยายเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินนปะระเทศนี้ต่อไป ซึ่งมีผลบังคับใช้หลังการก่กบฎ ตลอดจนการกลับไปใช้โทษประหารชีวิตและการที่ตุรกีสามารถจัดการลงประชามติภายในปี 2017 เกี่ยวกับการจัดการเจรจาเพื่อขอเขาเป็นสมาชิกของอียู ต่อไปหรือไม่ ก่อนหน้านั้น ประธานาธิบดี รีเซป ตอยยิบ เออร์โดกัน ยังไ้ด้เตือนว่าจะเปิดชายแดนให้ผุ้อพยพไปยังยุโรป ถ้าหากอียูยังคงสร้างแรงกดดันต่อประเทศนี้
            เป็นเรื่องไม่ยากกับท่าทีของตุรกีหลังการตัดสินใจระงับข้อตกลงของอียู ตุรกีได้ส่งเอกสารขอเข้าเป็นสมาชิกของอียูเมื่อปี 1987 แต่กระบวนการเจรจาได้เริ่มขึ้นเมือปี 2005 เท่านั้ในตลอด 11 ปีที่ผ่านมา กระบวนการเจรจาเพื่อขอเข้าเป็นสมาชิกของอียูของตุรกีก็ได้ประสบอุปสรรคมากมาย และจนถึงขณะนี้ ทั้งสองฝ่ายสามารถเห็นพ้องกันในไม่กี่เรื่องในหลายปัญหาต้องปฏิบัติเพื่อให้ตุรกีเข้าเป็นสมาชิกของอียู
             เหตุผลทีตุรกีกต้องการอียูเพราะอยากได้ับสิทธิพิเศษด้านเสณาฐกิจ การต้า การเงินและการลงทุนตลอดจนสวัสดิการสังคมจากอียู แต่ในเวลาที่ผ่านมา อียูไม่ได้ให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการรับตุรกีเข้เป็นสมาชิก โดยหนึ่งในเหตุผลหลักคือตุรกีเป็นประเทศมุสลิม เพราะอียูมีความวิตกกังวลว่า การมีประเทศสาชิกมุสลิมจะสร้างความไร้เสถียรภาพให้แก่การเชื่อมโยงด้านสังคมอื่นๆ ในสหภาพยุโรป
ประชาคมชาวมุสลิมเคยถุกถือว่ามีแนวคิดที่แตกต่างกับชุมชนอื่นๆ และแนวคิดของชาวมุสลิมหัวรุนแรงทำให้ผุ้นำอีูต้องระมัดระวัง จนทำให้อียูมีความวิตกกังวลในการรับตุรกีเป็นสมาชิก แต่เมือเกิดกระแสผู้อพยพนับล้านคนจากตะวันออกกลาง และในทางกลับกัน ตุรกีมีความประสค์ที่จะใช้ปัญหาผุ้อพยพผลักดันกระบวนการเข้าเป้นสมาชิกของอียู แต่ก็ไม่เป็นไปตามความประสค์เรพาะอียูได้ตำหนินโยบายภายในระทศของรัฐบาลตุรกีหลังเกิดเหตุก่อกบฎโดยกองทัพและระงับกระบวนการเจรจาเข้าเป้นสมชิกอียู ซึ่งี้ถือเป้นการจุชนวนให้ตุรกีเกิดความไม่พอใจ
             จากสถานการณืดังกล่าว ทำให้ประธานาธิบดีตุรกี รีเซป ตอยบิบ เออร์โดกัน ได้กล่าวถึงเหตุผลว่า ทำไม่ถึงอย่างหันหลังให้แกการเป็นสมาชิกของอียูและหันไปของเข้าเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมือเซียเไฮ้หรือเอสซีโอแทน ซึ่งเป็นองค์การที่มี 6 ประเทศสมาชิก รวมทั้งรัสเซียและจีน ซึ่งเป้ฯสองประเทศคู่แข่งของอียู ในทางเป็นจริง คำประกาศดังกล่าวมิใช่เพียงคำพูดแบบลอยๆ เพราะเมื่อปี 2017 ตุรกีจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสโมสรพลังงานของเอสซีโอ ซึ่งถือเป็นประเทศแรำที่ไม่ใช่เป็นสมาชิกขององค์การนี้ที่เป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมดังกล่าวและเป็นประโานสโมสรนี้  ในขณะที่อียูเพิกเฉพยตุรกี ประเทศจีนก็ได้แสดงความสนใจเป็นอย่างมากโดยเมื่อเร้ซๆฟ นี้ โฆษกกระทรางการต่างประเทศจีนได้ประกาศว่า พร้อมที่จะพิจารณากาขอเข้าเป็นสมาชิกเอสซีโอของตุรกี ตุรกีเป็นหุ้นสวนสนทนาที่ยาวนาน และร่วมมือที่ใกล้ชิดกับองค์การนี และจีนให้ความสำคัญต่อความปรารถนาของตุรกีเกี่ยวกับกาผลักดันความร่วมมือนี้...http://vovworld.vn/th-TH/%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%81-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87-491625.vov
         
             

วันพุธที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ISIS, far right, Democracy and Communist

           อาหรับสปริง ในช่วงปี 2011 เป็นช่วงที่ชาวอหารับในหลายประเทศเร่ิมลุกขึ้นต่อต้านรัฐบาล
เผด็จการในประเทศตัวเอง สื่อเรียกการลุกฮือในครั้งนี้ว่า อาหรับสปริง และเกิดขึ้นในหลายประเทศ เร่ิมจากตูนีเซีย หลายประเทศนั้นโค่นล้มรัฐบาล เปลี่ยนการปกครองได้สำเร็จ แต่หลายประเทศ เช่น ซีเรีย ก็ไม่ได้โชคดีเช่นนั้น
            ไอเอส หรือ ไอซิส ถื่อกำเนิดห้วงเวลานี้..
             - https://draft.blogger.com/blogger.g?blogID=57583117367728393#editor/target=post;postID=2789601635248182168;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=1;src=postname..
         
เมื่อท้าวความไปยังกลุ่ม อัลกออิดะห์ กลุ่มติดอาวุธ ที่ก่อการร้ายในอเมริกา กลุ่มนี้ เป็นทหารอาสาสมัครเก่าที่ซาอุดิอาระเบียกับอเมริกาเคยให้การสนับสนุนสมัยที่รัสเซียบุกอัฟกานิสถานในป 1979 และสามารถขับไล่รัเซียออกไปได้ ประกอบกับรัสเซียล่มสลาย (ความบังเอิญ) กลุ่มนี้จึงยังคงรวมตัวกันต่อ ซึ่งทหารกลุ่มนี้ไม่ชอบผู้นำที่ปกครองแบบเผด็จการ และไม่ชอบพวกประเทศตะวันตกที่เข้ามายุ่มย่ามกับประเทศคนอื่น ก็เลยประกาศตัวว่าจะต่อต้านคนพวกนี้ด้วยความรุนแรง จและวางแผนจี้เครื่องบินพุ่งชนตึกเวิล์ดเทรดเซ็นเตอร์ ในปี 2001
           ในสงครามอิรัก กลุ่มอัลกอลิดะห์ อาศัยจังหวะนีแฝงตัวจากอัฟการนิสถานเข้าไปในอิรักแล้วโจมตีทหารของอเมริกากับประชาชนที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามนิกายเดียวกัน
           AQI หรือ อัลกอดอดะห์ในอิรัก นำโดย ชาร์กาวี สาบานตนกับบินลาดิน แต่เป็นกลุ่มหัวรุนแรงมีแนวคิดการกวาดล้างแบบสุดโต่ง แบบที่อัลกออิดะหืเองยังรับไม่ได้ และไม่นาน ซาร์กาวีก็โดนระเบิดของอเมริการเสียชีวิต
           เมื่อสงครามซีเรียเริ่มขึ้น บักดาดี ชาวอิรัก จึงรวมกลุ่ม อัลกอลิอะห์ห์ AQI ของซาร์กาวี ขึ้นอีกครั้ง แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น ISI (Islamic State of Iraq) หรือรัฐอิสลามแห่งอิรัก แล้วสงคนบางส่วนให้แฝงตัวเข้าไปในซีเรียตามคำแนะนำของอัลกออิดะฮ์ หรือกลุ่ม จาบัค อัล-นุสรา ที่เป้นสาขาของอัลกออิดะห์ในซีเรีย
            2013 บักการดีเริ่มกลัวว่า อัล-นุสราไม่ค่อยฟังคำสั่งจึงตั้งกลุ่มให่ หรือ ISIS Islamic State of Iraq and Syria หรือรัฐอิสลามแห่งอิรักและซีเรีย เพื่อส่งคนของตนเข้าไปในซีเรีย และประกาศว่าตัวเองเป็นผู้คุมลักกออิดะห์ทั้งหมด แต่อัลกออิดะห์และ จาบัด อัล นุสราก็ไม่สนใจ จึงกลายเป้นศัตรูกันโดยสมบูรณ์
           กลุ่ม ISIS รุกคืบไปในซีเรียและยึดเมืองหลายเมืองไว้ได้ ปัจจุบันเกือบครึ่งของประเทศซีเรียฝั่งตะวันออกเป็นพื้นที่ของกลุ่ม ISIS กลุ่มนี้เป็นกลุ่มก่อการร้ายที่มีประสิทธิภาพ และโหดร้ายกว่ากลุ่มอื่นๆ

            สงครามกลางเมืองในซีเรีย ลุกลามกลายเป็นสงครามตัวแทน สู่การเมืองระดับโลก อเมริกาและรัศเซียต่างคุเชิงกัน รัสเซีย สนับสนับฝ่ายรัฐบาล อเมริกาสนับสนนุฝ่ายกบฎ ส่วน UN พยายามแก้สถานกาณ์ครั้งแล้วครั้งเล่า ประกาสจะคว่ำบาตร งดให้การสนับสนุน ช่วยร่างมติจัดการปัญหารในซีเรีย ซึ่งจีนกับรัสเซียนไม่เห็นด้วย(สองประเทศนี้เป็นสมาชิกถาวรของ สหประชาชาติ ถ้าโหวตเมื่อไรแล้วสมาชิกถาวรแม้ประเทศเดียวไม่เห็นด้วย มติก็ไม่ผ่าน) โดยผู้แทนรัสเซียให้เหตุผลว่า ร่างนี้จะเปิดช่องให้ประเทศอื่นเข้าไปยุ่มย่ามกับซีเรียมากไป.. ปัญหานี้จึงไม่ได้รับการแก้ไข และ ประธานาธิบดีอาซาดก็ไม่ยอมสละตำ่แหน่ง เหตุการณ์บานปลายกระทั้งปัจจุบัน
            กลุ่มขวาจัด ในยุโรปและอเมริกาซึ่งเป็นกลุ่มการเมืองที่ทำให้ดุลอำนาจโลกเปลี่ยนไป กลุ่มนี้มีนโยบายหลักๆ คือ ต่อต้านอียู และต้องการเส้นแบ่งเขตแดนคือ กีดกันผุ้อพยพ และต่อต้านมุสลิม.
              - .https://draft.blogger.com/blogger.g?blogID=57583117367728393#editor/target=post;postID=7167996038809532425;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=9;src=postname
              - https://draft.blogger.com/blogger.g?blogID=57583117367728393#editor/target=post;postID=2756154036323721332;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=8;src=postname
         
สหรัฐปรัลยุทธศาสตร์รับมือ "จีน-รัสเซีย" มากกว่าภัยก่อการร้าย
           เจมส์ แมตทิส รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐ เปิดเผยยุธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติฉบับใหม่ของสหรัฐ โดยเน้นไปที่การรับมือกับประเทศมหาอำนาจชาติอืน โดยเฉพาะจนและรัสเซียมากกว่าการรับมือภัยก่อการ้ายเหมือนที่ผ่านมาดดยนับเป้นการเปลี่ยนแปลงนโยบายกลารโหมระหว่างประเทศครั้งแรกนับตั้งแต่โศกนาฎกรรม 9/11/2001 สหรัฐปรับยุทธศาสตร์เน้นรับมือสัตรุเ่กช่วงสงครามเย็มมากก่าภัยก่อรการร้าย จีน-รัสเซียโดย
          " เรากำลังเผชิญภัยคุกคามใหม่จากประเทศอย่างจีนและรัสเซีย ที่มุ่งเปลี่วนดุลอำนาจของโลกและพยายามสร้างโลกใหม่ภายใต้ลัทธิเผด็จการ" แมตทิส กล่าว แต่ไม่ได้ระบุมาตการรับมือที่ชัดเจน  พร้อมเรียกร้องให้สภาคองเกรสพิจารณาเพ่ิมวบประมาณกลาโหมเพื่อให้สหรัฐยังสามารถข่งขันทางด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับต่างประเทศได้"
            ทัี้งนี้ ยุทธศาสรต์ดังกล่าวได้ระบถึงจีนและรัีสเซียว่า จีนเป็นประเทศคู่แข่งสหรัฐที่ใช่นนโยบายเศณาฐกิจในการกพดันประเทศเืพ่อบ้าน และยังใช้กำลังทหารแผ่อินธิพลในทะเลจีนใต้ ในขณะที่รัสเซียให้ทหารของตนรุกล้ำเข้าไปยังอาณาเขตประเทศอื่น และใช้สิทธิวีโต้ในเวทีระหว่างประเทศในการชี้นำนธยบายภายในของประเทศเพื่อนบ้าน
           เซอร์เกย์ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซีย ตอบโตสหรัฐว่า รู้สึกเสียใจที่สหรัฐใช้มาตรการเชิงรุกเพื่อขึ้นเป็นผู้นำโลก มากว่าจะใช้กาเจรจาอย่างสันติตามหลักกฎหมายระหวางประเทศ โดยรัสเซียพร้อมเจรจากับสหรัฐ ขณะที่ เหรินกัวเจียง โฆษกกระทรวงกลาโหมจีน เรียกร้องให้สหรัฐยกเลิกแนวคิดเผชิญหน้าเหมือกับช่วงสงครามเย็น และระบุว่ามาตรการมั่นคงระหว่างประเทศของจีนสมเหตุสมผลแล้ว...
              - https://www.posttoday.com/world/536678
             ซึ่งจากนโยบายของประธานาธิบดี โรนัลด์ ทรัมป์ และกลุ่มขวาจัดที่ต้องการจะปิดประเทศ และเรียกร้องเส้นแบ่งเขตแดน จึงเป็นการโดดเดี่ยวสหรัฐฯ ซึ่งต้องลดบทบาทของตนในเวทีโลกลงไปโดยปริยาย..
            - https://draft.blogger.com/blogger.g?blogID=57583117367728393#editor/target=post;postID=6573009862647344021;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=6;src=postname
         

วันอังคารที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Syria's_refugees : ISIS

            จากสงครามกลางเมือง กลายเป็นสงครามตัวแทนสงผลให้เกิดการอพยพเป็นกว่าครึ่งทศวรรษของชาวซีเรียสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก สงครามตัวแทนที่มีทั้ง กลุ่มรัฐบาลและพันธมิตร กลุ่มกบฎ รัสเซีีย  อเมริกา กลุ่มรัฐบาลอ่าว และเหนือสิ่งอื่นใด ก่อกำเนิดกลุ่มก่อการร้ายใหม่ นาม ไอซิส ขึ้นมา  Islamic State of Iraq And Syria : ISIS
             ท่ามกลางความวุ่นวายของสงครามกล่างเมืองในซีเรีย ไอซิสได้เข้ามามีบทบาทในเวทีกระเมืองระดับโลกเมื่อปี 2557 เมื่อพวกเขายึดครองพื้นที่ส่วนหนึ่งในซีเรียและอิรักได้ และประกาศจัดตั้งรัฐเคาะลีฟะฮ์ ซึ่งเป็นรัฐรูปแบบหนึ่งของอิสลาม ภายใต้กฎหมายชะรีอะห์
               ไอซิกำเนิดขึ้นในปี 2557 โดยแยกตัวมาจากกกลุ่มอัลอกอิดะฮ์ในอิรัก ภายหลังจากจัดตั้ง กลุ่มอัล-นุสรา และ อัลกออิดะฮ์ต่างออกมาแสดงความไม่เห็นด้วยกับไปซิส จุดมุ่งหมายหลักของไอซิสคือ ต้องการใช้ชาวมุลิมทั่วโลกสาบานความจงรักภักดี ต่อ อะบู บักร์ อัล-บั"ดาดี ผุ้นำกฃุ่มไอซิส และย้ายถ่ินฐานมาอยู่ในดินแดนภายใต้การควบคุมของกลุ่ม นอกจานี้ ไอซิสยังต้องการให้กฃลุ่มญิฮาดอื่นๆ ทั่วโลกยอมรับในฐานะผู้มีอำนาจเหนือกว่า
             https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
ในเดื่อกันยายน ปี 2557 มีการประเมินว่าไอซิสยึดครองพื้นที่ส่วนใหย่ของลุ่มแม่น้ำไทกริสยูฟรติส ซึ่งมีขนาดเที่ยบได้กับสหราชอาณาจัก หรือประมาร 2.1 แสนตารางกิโลเมตร หลังจากที่สหรัฐและพันธมิตรเริ่มโจมตีทั้งทางอากาสและพื้นดินในปี 2558 พื้นที่ใีครอบครองของไอซิสทั้งในอิรักและซีเรียก็ลดลงประมาณ 1.5-2 หมื่นตารางกิดลเมตร อย่างไรก็ตาม ไอซิสกับสามารถยึดครองพื้ที่ยุทธศาสรตร์ เชนเมืองพัลไม่ราในซีเรียได้..
             ณ วันนี้ เชื่อว่าควไม่มีใครไม่รู้จัก กลุ่มรับอิสลามในอิรักและซีเรีย "ไอเอส" หรือ "ไอซิล"
             แรกเริ่มเดิมที่ กลุ่มไอเอสมาจากกลุ่มติดอาวุธที่ช่วยเหลือรัฐบาลอิรัก สู้รบกับกองกำลงสหรัฐฯ ในช่วงสงครามอิรักปี 2546 ก่อนที่ต่อมาจะจัดตั้งเป็นกลุ่ม "รับอิสลามแห่งอิรัก" จากนั้นได้ขยายอิทธิพล
ไปยังหลายเมืองของประเทศซีเรียในช่วงที่ซีเรียกำลังเกิดสงครามกลางเมือง และจึงเกิดการบัญญัติชื่อกลุ่ม "รัฐอิสลสมแห่งอิรักและซีเรีย" หรือไอซิส กลุ่มติดอาวุธมิสลิมนการซุหนี่ กระทั่งล่าสุดได้เปลี่ยนช่อมาเป็นเพีีงกลุ่มรัฐอิสลามหรือไอเอส ณ วันนี้กลุ่มไอเอสไดกลายเป็น "กลุ่มหัวรุนแรงที่อันตรายที่สุดในโลก
            อาบู บาการ์ อัล-แบกดาดี หัวหน้ากลุ่มชาวอาหรับเชื้อสายจอร์แดน ซึ่งประกาศตนเป็นกาหลิบ (ผู้ปกครองชาวมุสลิมทั่วทุกหนแห่ง) ในเมืองโมซุลของอิรักเมื่อเดือนกรกฎาคม ปี 2557 เชื่อกันว่า บักดาดี เกิดที่เมืองซามาร์รา ของอิรัก
เมื่อปี 2541 (อายุ 44 ปี) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก รวดเดียวที่ศูนย์ศึกษาอิสลาม (กวี
และประวัติศาสตร์อิสลาม) ที่มหาวิทยาลับแบกแดด เปคขประกอบอาชีพนักวิชาการควบคู่ไปกับการเป็นครูสอนศาสนที่เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมและกฎหมายอิสลาม ไ้เข้า่วมกับกลุ่มกบฎ เพื่อต่อต้านกองทัพสหรัฐหลังจากทหารอเมริกันบุกอิรักเพื่อโค่นล้มอำนาจนายกรัฐมนตรี "ซัดดัม ฮุสเซน" ภายหลังถูกควบคุมตัวในเรื่องจำของกองทัพสหรัฐ เขาได้ก้าวขึ้นเป็นผุ้นำหฃลุ่มติดอาวุธกลุ่มหนึ่ง ก่อนทจะร่วมมือกับกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะห์ โดยใช้ชื่ดกลุ่มว่ารัฐอิสลามแห่งอิรัก เมื่อปี 2553 ในเวลานั้น
         อาบู บาการ์ อัล-แบกดาดี เคยได้รับยกย่องว่าเป็นผู้นำญิฮาดที่ดดเด่นที่สุดในศตวรรษ?ี่ 21 เทียงเท่านายโอซามา บิน ลาดิน ผู้นำกลุ่มติดอาวุธอัลไกดา จนมีชื่อเลื่องลือในเรื่องความโหดเหี่้ยมว่าใครก็ตามที่ต้องสงสัยว่าช่วยเหลือทหารอเมริกันก็จะถุูกประหารขีวิตกลางที่สาธารณะเมื่อก้าวขึ้นมาเป็นผุ้นำ ไอเอส อาบู บักห์ดาดี" ได้พลิกกลยุทธ์ใหม่ให้กับกลุ่มหลายประการhttps://news.mthai.com/world-news/417957.html
           การโจมตีในยุโรปและอเมริการเหนือ
           การโจมตีเกิดขึ้น 63 ครั้งในช่วงตั้งแต่เดือน กันยายน 2014 (หลังคำประกาศแนวทางการต่อสู้ของ "กาหลิบ" โดยไอเอส) มาถึงจนปลายเดือน ส.ค. 2017 ประเทศที่ถูกโจมตีคือ ยุโรป เก้าประเทศ สหรัฐอเมริกา และ อคนนาดา
           โดยเป้าหมายคือเมืองใหญ่ที่มีคนจำนวนมา ไม่ว่าจะเป็นนครบาร์เซโลนาของสเปน กรุงลอนดอนและเมืองแมนเชสเตอร์ของอังกฤษ กรุงปารีสและเมืองนีซของฝรั่งเศส กรุงเบอร์ลินของเยอมนี กรุงบรัสเซลล์ของเบลเยียม กรุงสตอกโอมล์มของสวีเดน และเมืองออร์แลนโดของสหรัฐฯ
           การโจมตีเกินขึ้น 63 ครั้ง ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 424 คนเสียชีวิตและทำให้คนมากกว่า 1,800 คนได้รับบาดเจ็บ โดยไม่นับรวมผุ้ทีก่อการที่มักเสียชีวิตในขณะที่โจมตีด้วย การโจมตีในกรุงปารีสเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2015 เป็นครั้งร้ายแรงที่สุด มีผุ้เสียชีวิตถึง 130 คน รองลงมาก็คือการโจมตีด้วยรถบรรทุกที่เมืองนีซทางตอนใตของฝรั่งเศสที่คร่ชีิวิตผุ้คนไปถึง 86 คน
           สิ่งที่ก่อนใหเ้กิดการถกเถียงกันมากในยุดรปและสหรัฐฯ ก็คือการรับผุ้อพยพจากประเทศมุสลิมเข้ามาจะทำให้พวกที่ปฏิบัติการเพ่ิมขึ้นหรือไม่ จนทำให้มีคนลุกมาเรียกร้อยว่าให้กำัดการเข้าเมืองของคนเหล่านี้ แต่จากการรวบนั้นพบว่าถึง 2 ใน 3 ของผุ้ปฏิบัติการเป็นพลเมืองของประเทศที่ตนเองโจมตี และทีเ่หลือเป็นผู้อยู่อาศัยโดยถูกกฎหมายหรือเข้ามาเยี่ยมเยือนโดยถูกกฎหมาย มีน้อยมาที่เป็นผู้อพยพ..http://www.bbc.com/thai/international-41095035#orb-banner

วันจันทร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Syria's_refugees III

            19 กุมภาพันธ์ 2561 : ทรัมป์ต่อเวลาคุ้มครองผุ้อพยพชาง.รเนยในสหรัฐ
             รัฐบาลสหรัฐขยายระยะเวลาสถานะผู้อพยพพิเศษให้กับพลเมืองซีเรียราว 7,000 คน อาศัยต่อในประเทศได้จนถึงสิ้นเดือน ก.ย. เป็นอยางน้อย
             สำนักข่าวต่าประเทศรายานจากรุงวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เมืองนที่ 1 ก.พ. ว่านางเคิร?์สต์ เจน นีเซน รมว. กระทรวงความั่นคงแห่งมาตุภูมิของสหรัฐ (ดีเอชเอส) กล่าวเมือวันพุทธว่า ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ลงนามในกฎหมายสภานะคุ้มครองชัวครตาว (ทพีพเอส) สำหรับผู้อพยพชาวซีเรียราว 7,000 คน ให้อาศัยอยู่ในประเทศต่อได้ "อีกย่งน้อย 18 เดือน" หรือจนถึงวันที่ 30 ก.ย. 2562 เนื่องจากสถานการณ์สงครามกลางเมืองในซเรีย "ยังไม่มีแนวโน้มคลีคลาย" แต่การขยายระยะยเวลบังคับใช้คตำสั่งดังกล่าว ที่จะหมดอายุในเดือน มี.ค. นี จะไม่มีผลครอบคลุมผู้ลี้ภัยชาวซีเรียซึ่งเดินทงเข้ามาในสหรัฐหฃังเดือน ส.ค. 2559
            อนึ่ง ทีพีเอสเป็นสถานะผุ้ลี้ภัย "กรณีพิเศษ" ที่รัฐบาลชิงตันจัดตั้งขึ้นเือปี 2533 เพื่อเป็นมอบความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมให้แก่ประชาชนจากประเทศที่เผชิญกับสสภานกาณณ์สงครา ม และความไม่สงบทางการเมือง หรือภัยธรรมชาติ ในการใช้ชีวิตและทำงานอยู่ในสหรัฐไ้อย่างถูกต้อง ตามกฎมหาย "ในช่วงเวลาที่จำกัด" โดยปัจจุบันสถานะที่พีเอสครอบคลุมพลเมืองจาก 10 ประเท ได้แก่ เฮติเอล ซัลวาดอร์ ซีเรีย เนปาล ฮอนดูรัส เยเมน โซมาเลีย ซูดาน ซูดานใต้ และนิการากัว
            https://www.dailynews.co.th/foreign/624788
อย่างไรก็ตาม ทรัมป์มีคำสั่งเมือช่วงต้นเดือนนียกเลิกสถานะที่พีเอสสำหรับชาวเอลซัลวาดอร์ราว 262,500 คน แต่ผ่านผันระยะเวลานการเดินทางออกนอกประเทสภายใน 18 เดือน ขณะที่ย้อนกลับไปเมื่อเดือน พ.ย. ปีที่แล้ว ผู้นำสหรัญประกาศยุติสถานะที่พีเอสของผุ้อพยพชาวเฮติและชาวนิการากัว ในช่วงิส้นปี 2562 ด้วย
             สงครามตัวแทนในซีเรีย
              กลุ่มกบฎและพันธมิตร
              กลุ่มกบฎในซีเรียไม่ไมเพียงกลุ่มเดียว แต่เป็นการรวตัวกันอย่างหลวมๆ ของชาวมุสลิมนิกายซุนนีหลายกลุ่มย่อน ที่ต่อต้านประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาล (แต่อาจมีแนวคิดด้านอื่นต่างกัน) โดยมีการคาดการณ์ว่า กลุ่มกบฎอาจมีจำนวนสูงถึง 1,000 กลุ่มย่อย ประกอบด้วยนักรบประมษณ 1 แสนคน และด้วยเหตุนี้เอง เมื่อสงครามดำเนินไป สมาชิกส่วนหนึ่งจึงหันไปเข้าร่วมกันจกลุ่มมุสลิมที่มีแนวคิดสุดโต่ง เช่น อัล นุสรา และไอซิส นำไปสู่การสู้รบกันเองในหมู่ผู้ต่อต้านประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาลซีเรีย
           หนึ่งในกลุ่มย่อยที่สำคัญที่สุดของฝ่ายกบฎคือ อัล-นุสรา ซึ่งเป็นกฃลุ่มติดอาวุธของชาวมุสลิม ซุนนี ที่มีสามาชิกส่วนใหย่เป็นญิฮาดชาวซีเรีย อัล-นุสราเคยเป็นเครื่อข่ายของกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ในซีเรีย แต่แยกตัวออกมาในปี 2559 และเปลี่ยนชื่อกลุ่มให่เป็น Jabhat Fateh al-Sham หรือแนวหน้าเืพ่อการพิชิตซีเรีย ดยมีจุดมุ่งหมายคือการโค่นล้มรัฐบาลของประธานาธิบีอัสซด และจัดตั้งรัฐอิสลามภายใต้กฎหมายชะรีอะห์ ต่างชาติที่ให้การสนับสนุนกลุ่มกบฎในญีเรีย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ประเทศในกลุ่มรัีฐอ่าวอาหรับ จอร์แดน และตุรกี ข้อสังเกตที่สำคัญคือ แม้ว่าในภาพรวม ประเทศเหล่านี้จะสนับสนุนกลุ่มกบฎหมือนกัน แต่ก็ยังมีความขชัดแย้งกันเองภายในกลุ่ม เนื่องจากเป้าหมายของแต่ละปรเทศ และกลุ่มที่แต่ละฝ่ายต่อต้าน ไม่เป้ฯไปในทิศทางเดียวกันทั้งหมด
             สหรัฐอเมริกา
             ตั้งแต่ช่วงต้นของสงคราม สหรัฐอเมริการส่งความช่วยเหลือที่ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรง เช่น อาหารและรถบรรทุก ให้แก่กลุ่มกบฎ ภายหลังจากที่สงครามยกระดับความรุนแรง ในปี 2556 สหรัฐอเมรกาก็เร่ิมให้ความช่วยเหลือเป็นตัวเงิน อาวุธ รวมทั้งการสงเจ้าหน้าที่เข้าร่วมต่อสู้อย่างไรก็ตาม การที่สหรัฐอเมริกาไม่ใช่กำลังทหารโจมตีซีเรีย หลังจากที่รัฐบาลของประธานาธิบดีอัสซาดใช้อาวุธเคมีเข้าประาบปรามกลุ่มกบฎ ทำให้หลายฝ่ายวิพากษ์วิจารณ์ว่าการต่อต้านการใช้ความรุนแรงและการไมไสนับสนุนประธานาธิบดีอัสซาดของสหรัฐอเมริกาเป็นเพียงการสร้างภาพเท่านั้น
             เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มกบฎที่มีแนวคิดสุดโต่งมีจำนวนมากขึ้น ในปี 2557 สหรัฐอเมรกาเปลี่ยนจุดมุ่งหมาย จากการให้ความช่วยเลหือกลุ่มกบฎมาเป็นการทำสงครารมต่อต้านไอซิสและกลุ่มก่อการร้ายอื่นๆ ในภูมิภาค ซึ่งรวมไปถึงอัล-นุสราด้วย สหรัฐอเมริกาได้จัดโคึรงการฝึกนแฃละติดอาวุธให้แก่กองกำลังกลุ่มกบฎ แต่ดครงการดังกลาวไม่ประสบความสำเร็จ คาดการณืว่ามีผุ้เข้าร่วมโครงกาเรพีงประมาณ 200 คน เนื่องจากข้อตกลงที่ไม่ใ้กสูรบกับกองกำลังของปรธานาธิบดีอัสซาด แต่จะสู้รบได้กับผุ้ก่อการร้ายเท่านั้น
             รัฐอ่าวอาหรับ นำโดยชาอุดิอาระเบีย
             รัฐอ่าวอาหรับ ซึ่งปกครองโดยชาวมุลิมนิกายซุนนี ให้ความช่ยเหลือกลุ่มกบฎโดยการส่งเวงินและอาวุธผ่านทางตุรกีและจอร์แดน จุดมุ่งหมายของรัฐอาวอาหรับคือกาต่อต้านอิทธิพลในภูมิภาคของอิหร่าน ซึ่งปกครองโดยชาวมุสลิมนิกายชีอะห์
              รัฐอ่าวอาหรับได้เข้าร่วมกับสหรัฐในการทำสงครามต่อต้านไอซิส เนื่องจาไอซิสเร่มได้รับความนิยมมากขึ้นในหมู่ชนกุ่มน้อยชาวซาอุดิอาระเบีย อย่างรก็ตาม รัฐอ่าวอหารับยังคงให้การสนับสนุนกลุ่ม อัล-นุสรา ซึ่งสหรัฐถือว่าเป็นกลุ่มก่อการร้าย แสดงให้เห็นว่ารัฐอ่าวอาหรับให้ความสำคัญกับการโค่นล้มประธานสธิบดีอสซาด มากว่าการทำวสงครามต่อต้านการก่อการร้าย
             
ตุรกี
               รัฐบาลตุรกีไม่สนับสนุนประธานาธิบดีอัสซาดและรัฐบาซีเรียตั้งแต่การประท้วงต่อต้านเร่ิมขึ้นในปี 2554 ส่วนหนึ่งเป็นเพราะตุรกีมีดินแพดนแทรก อยู่ในเมืองอเลปโปของซีเรีย นธยบายสนับสนนุกลุ่มกบฎของตุรกีมีตั้งแต่การจัดส่งอาุธ การฝึกฝนและติดอาวุธให้กองกำลังฝ่าายกบฎ การอนุญาตคให้ใช้ดินแดนตุรกีเป็นช่องทางลำเลี่ยงอาวุธ เป็นที่ประชุมของแกนนำกลุ่มกบฎ เป็นที่พำนักของผุ้ลี้ภัยขวาซเรีย ตลอดจนเป็นทางผ่านให้แก่นักรบของกองกำลังฝ่ายกบฎ อย่งไรก็ตาม นโยบายดังกล่าวกลับทำให้ญิฮาดจากประเทศต่าง ๆใช้ตุรกีเป็นเส้นทางในการเข้าร่วมกับกลุ่มไอซิส
             นอกจากนี้ ตุรกีและสกรัฐยังขัดแย้งกันในประเด็นเกี่ยวกับชาวเคิร์ดในซีเรีย กล่วคือ ตุรกีเห็นว่าชาวเคิร์ดในซีเรียเป้นภัยคุกคามต่อประเทศของตน จึงโจมตีกองกำลังชาวเคิร์ที่ยึคดครองพื้นที่ทางตอนเหนือของซีเรีย ซึ่งสหรัฐให้การสนับสนุนในนามกองกำลังประชาธิปไตยซีเรีย ทั้งนี้ ความขัดแยเ้งอันรุนแรงระหว่างตุรกีและชาวเคิร์ดซึ่งเป็นชานกลุ่มน้อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในตุรกี เร่ิมมาตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐตุรกีในปี 2466https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
           

วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Syria's_refugees II

             30 มี.ค. 2560 : สำนักงานข้อหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยสหประชาชาติ UNSCR เผยจำนวนผู฿้ที่เดินทางออกจากซีเรียเพื่อหนีสงคราในประเทศ ทั้งชาย สตรี และเด็ก เพ่ิมขึ้นเป็นกว่า  5 ล้านคนแล้ว ซึ่งประชาคมโลกจำเป็นต้องดำเนินการมากกว่าเดิมเพื่อช่วยเหลือผู้อพยพเหล่านี โดยระบุว่ จำนวนผุ้อพยพชาวซีเรียที่อยู่ในต่างประเทศนับจนถึงช่วงปลายปี 2558 อยู่ที่ 4.6 ล้านคน และเพื่อขึ้นเป็น 4.85 ล้านคนนับถึงสิ้นปีที่แล้ว ส่วนในช่วง 3 เดือแรกของปีนี้ มีชาวซีเรียอีก 250,000 คนที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้อพยพ แต่ยูเอ็นเอชซีอาร์ไม่ได้อะิบายเหตุผลที่จำวนผุ้อพยพเพ่ิมขึ้นมากในช่วงนี้
           ปัจจุบัน ตุรกียังคงเป้นประเทศที่รับผู้อพยพชาวซีเรียจำนวนมากที่สุดที่เกือบ ๅ3 ล้านคน ส่วนเลบานอนผู้อพยพชาวตุรกีกว่า 1 ล้านคน จอร์แดนรับชาวซีเรีย 657,000 คน ส่วนที่เหลือกระจายกันไปพักพิงในหลายประเทศ เช่น อิรัก อิยิปต์ และประเทศอื่นๆ ในแอฟริกาตตอนเหนือ นอกจากนี้ยังมีชาวซีเรียหลายแสนคนอพยพไปยังยุโรป แต่มีเพีงบางส่วนทีได้รับสภานภาพผู้อพยพ..http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/748024
             สงครามในซีเรีย จากสงครามกลางเมือง กลายเป็นสงครามตัวแทน
             ตั้งแต่ต้นปี 2555 รัฐบาลซีเรียได้ยกระดับการใช้กำลังและความรุนแรงในการปราบปรามกลุ่มกบฎ เืพ่อให้กลุ่มกบฎสูญเสียความชอบธรรในการต่อสู้กับรัฐบาล ควมพยายามที่จะยึดครองซีเรียของประธานนาธิบดีอัสซาดนำปสู่การแบ่งแยกนิกาย ในรัฐที่เคยเป็นกลางทางศาสนา และได้เปรียบเสมือนบัตร เชิญ
ให้ต่างชาติและกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองต่างๆ ที่มีผลประโยชน์แตกต่างกนเข้ามาแทรกแซง ดังนั้น สงคราในซีเรียจึงยืดเยื้อยาวนาน และเป็นมากกว่าแค่การสู้รบกันระกว่างฝ่ายรัฐบาลและกลุ่มกบฎผุ้ต้องการประชาธิปไตย แต่กลับกลายเป็นสงครามตัวแทนของผุ้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียจากสงคราม ทั้งในทางการเมือง เศรษฐฏิจ และศาสนา ซึ่งแบ่งได้เป็น 4 ฝาย ดังนี้
           รัฐบาลซีเรียและพันธมิตร พันธมิตรที่สำคัญอย่งยิ่งของประธานาธิบดีอัสซาด ได้แก่ และรัสเซีย
           อิหร่าน เนื่องจากประธานาธิบดีอัสซาดอนุญาตให้อิหร่านใช้ซีเรียเป็นเส้นทางในการลำเลี่ยงอาวุธไปให้กลุ่มฮิซบูลลอฮ์ ซึ่งเป็นกลุ่มเคลื่อนไหวของญิฮาดซีอะห์ในเลบยานอนที่อิหร่านให้การสนับสนนุ ประธานาธิบดีอัสซาดจึงเป้นพันธมิตรคนสำคัญที่สุดคนหนึ่ง ที่ช่วยให้อิหร่านรักษาสถานะความเป็นผู้นำในภูมิภาคไว้ได้
           ในช่วงสงครา อิหร่านจึงส่งความช่วยเหลือใหประธานาธิดีอัสซานหลยอย่างทั้งที่ปรึกษาทงการทหาร กำลงทหาร อาวุธ สินเชื่อ รวมไปถึงน้ำมัน โดยมีการคาดการณืว่า อิหร่นเสียค่าใช้จ่ายเป้นเงินมากว่าพันล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี ในการประคับประคองให้ประธานาธิบดีอัสซาดและัฐบาลซีเรียอยูในอำนาจต่อไป นอกจากการให้ความช่วยเหลือโดรตรงแล้ว อิหร่านยังเป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้ญิฮาดซีอะห์ จากประเทศต่างๆ ทั้งอิรัก อัฟกานิสถาน และปกีสภาน ตลอดจนนักรบจากลุ่มฮิชบูลลอห์ในเลบานอน เข้าร่วมรบกับกองกำัลงของปรัฐบาลอัสซาดด้วย
           รัสเซีย เช่นเดียวกับอิหร่าน รัสเซียเข้ามามีบทบาทในสงคราามกลางเมืองซีเรีย เพื่อรักษาผลประดยชน์ที่ได้รับจากรัฐบาลประธานาธิดบีอัสซาด ผลประโยชน์ดังกล่าว ได้แก่ ประการแรกร รัสเว๊ยต้องการปกป้องฐานทัพเรือที่รัฐบาลซีเรียเช่าอยู่ ประกาอรที่สองกองทัพซีเรียเป้นหนึงในผุ้จัดหาอาวุธจำนวนมากใ้้อกงทัพรัสเว๊ย และประการสุดท้าย ด้วยความสัมพันะ์เชิงยุทธศาสตร์ที่ยานานของทั้งสองประเทศ ซีเรียจึงเป็นเสมือนฐานที่ามั่นสุดท้ายที่ทำให้รัสเซียยังมีอำนาจอยู่ในภูมิภาค
          รัสเซียเข้ามามีบทบาทในสงครามกล่งเมืองซีเรียตั้งแต่ช่วงแรก โดยกาจักหาอาวุธ ส่งทหารเข้าไปฝึกการสู้รบให้กองกำลังฝ่ายรัฐบาล และที่สำคัญคือ การใช้สิทธิวีโต้ ในที่รปะชุมคณะมนรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เืพ่อยับยั้งร่างมติหยุดยิงในอเลปโป และร่างมติคว่ำบาตรซีเรียเนื่องจากการใช้อาวุธเคมีของรัฐบาล การใช้สิทธิยับยั้งดังกล่าวทำให้รัสเซียถูกตำหนิโดยนานาชาติ โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส
           ในเดือนกันยายน ปี 2558 รัสเซียได้เข้าแทรกแซงทางการทหารในซีเรียโดยการโจมตีทางอากาศ รัสเซียให้เหตุผลยอดนิยมว่าเป็นการการทำสงครมต่อต้านการก่อการร้าย ซึ่งในกณรีนั้ ผุ้ก่อ (ISIS – Islamic State of Iraq and Syria) แต่ในความเป็นจริง ผุ้ที่โดนกองทัพรัสเซียโจมตีกลับเป็ฯกองกำลังของกลุ่มกบฎ ดังนั้น การแทรกแซงของรัสเซียตั้งแต่เดือนกันยายน ปี 2558 จึงมีส่วนสำคัญอย่งยิ่งในการเปลี่ยนดุลอำนาจ ทำให้กองกำลังฝ่ายรัฐบาลสามารถกลับมายึดครองซีเรียได้อีกครั้ง
การร้ายคืกลุ่มไอซิล หรือที่เรารุจขักกันดีในนามไอซิส
            จากลัษณะของการแทรกแซงดังกล่าว อาจกล่าวได้ว่า จุดมุ่งหมายทางการทหารของรสเซียไม่ได้เหรือมนกบซีเรียและอิหร่านไปเสียทั้งหมด กล่าวคื อในขณะที่ซีเรียและอิหร่านต่างก็สู้รบเพราะต้องการยืดพื้นี่ในซีเรียคืนจากลุ่มกบฎแต่รัีสเว๊ยกลับใช้สงคราครังนี้ เป็นเวททดลองและแสดงแสนยานุภาพทางการทหาร และทีสำคัญคือ ใช้เป้นเครื่องมือในการลดบบาทของสหรัฐในภุมิภาคระวันออกกลาง การที่รัเซียมุ่งทำลายเฉพาะกองกำลังของกลุ่มกบฎที่ไม่มีความคิดสุดดต่งนั้นท ทำให้สงคราม ในซีเรียเป้นการสู้รบระหว่างฝ่ายรัฐบาลและนักรบญิฮาด ซึ่งสหรัฐไมให้การสนับสนุน ดังนั้น บทบาทของสหรัฐในภูมใิภาคจึงถุกจำกัดเหลือเพียงแค่การมีส่วนร่วในการเจรจาสันติภาพ ซึ่งอาจกินเวลากว่าจะบรรลุข้อตกลงได้...( to be continues) https://www.the101.world/thoughts/syria-101/

วันเสาร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Syria's_refugees

          มีหลายฝ่ายตั้งคำถามวว่า  ผู้อพยพชาวซีเรียไม่เดินทางลี้ภัยในประเทศอ่านเอปร์เซียที่มีฐานะร่ำรวย และอยู่ในทำเลที่ใกล้ญีเรียมากกว่าด้วย อมิรา ฟาธีลลา บีบีซีมอนิเตอรริงที่ติดตามการรายงานข่าวของสื่อในภุมิภาคดังกล่าวอธิบายว่า ช่วงหลายปีที่ปผ่านา คนซีเรียที่หนีภัยสงครามนบ้านเกิดได้ข้ามเข้าไปยังเลบานอน จอร์แดน และตุรกีแล้วเป็นจำนวนมาก แต่การอพยพเข้าไปยังประเทศอาหรับชาติอื่น โดยเฉพาะชาติในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียเป็นเรื่องที่ค่อยข้างซับซ้อน
          ตามกฎหมาย ขาวซีเรียวามารถยื่นขอวีซ่าทำงานหรือวีซ่านักท่องเที่ยวเพื่อเข้าไปยังประเทศภุมิภาคอ่าวเปอร์เซียได้ แต่วิธีนี้มีค่ามช้จ่ายสูง และชาวซีเรียยังรู้ดี่า หลายชาติในอ่านเปอร์เซียไม่ต้อรับพวกเขา ดังนั้นในทางปฏิบัติแล้วจึงเป็นเรื่องยากที่จะได้วีซ่ามาแบบง่ายๆ ในกรณีที่ประสบความสำเร็จั้น ส่วนใหญ่เป็นคนซีเรียที่อาศัยในประเทศอ่าวเปอร์เซียนอยุ่แล้ว และได้ขอขยายเวาการพินักออกไห หรือเป็นกลุ่มที่มครอบครัวอยุ่ที่นั้น ส่วนใหญ่เป็นคนซีเรีที่อาศัยในประเทศอ่าวเปอร์เซียอยู่แล้วและได้ขอขยายเวบลาการพำนักออกไป หรือเป็นกฃุ่มที่มีครอบครัวอยุ่ที่นั้น อุปสรรคอีกอย่างคื อหากไม่มีวีซ่า พวกเขาก็ไม่สามารถเข้าประเทศอาหรับชาติอื่นได้เช่นกัน...https://web.facebook.com/BBCThai/posts/1693197274234639?_rdc=1&_rdr
           ตั้งแต่สงครามในซีเรียเร่ิมขึ้นในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2554 จนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันะื 2560 The Violations Documentation Center in Syria (VDC) ซึ่งเป็นเครื่อข่ายนักเคลื่อนไหวในซีเรีย รายงานว่า เท่าที่มีการบันทึกในเอกสาร มีผุ้เสียชีวิตแล้เว 174,184 รายในจำนวนนี้ แบ่งเป็นพลเรือนประมาณร้อยละ 63 และทีไม่ใชพลเรือนประมาณร้อยละ 37 โดยกว่าร้อยละ 80 ของทั้งหมดเสียชีวิตจากความรุนแรงที่ก่อขึนดดยรัฐบาลซีเรีย จากจำนวนดังกล่าว สำนักช่าวบีบีซีประเมิน่าเราอาจต้องใช้เวลาถึง 19 ชัวฌมงในการอ่นรายชื่อเด็กที่เสียงชีวิตทั้งหมด
           ก่อนสงครามในซีเรียจะปะทุขึ้น ชาวซีเรียต้องเผชิญกับปัญหาการว่างงาน คือร์รัปชัน การขาดเสรีภาพทางการเมือง ตลอดจนการปราบปรามอย่างเข้มงวดโดยรัฐ จนหระทั่งกลางเือนมีนาคม พ.ศ. 2554 การลุกฮือของประชานเพื่อต่อต้านรัญในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง หรืออาหรับสปริง(Arab Spring) ก็ได้จุดชนวนการประท้วงต่อต้านระบบการปกครอง ภายใต้การนำของประะานาธิบดีบาชาร์ อัลฮัสชาด และรัฐบาลซีเรีย ที่กดขี่พวกเขามากว่า 40 ปี
           ในช่วงแรก กลุ่มกบฎผุ้ต่อต้ารรัฐบาล ซึ่งส่นใหญ่เป้นชาวมุลิมนิกายชุนนี ใช้เพียงแค่ป้ายและเพลงป็นเครื่องมือในการเรียกร้องเสรีภาพและประชาธิปไตย แต่หลักงจากที่รัฐบาลซีเรียซึ่งอยุ่ภายใต้อิทธิพลของชาวมุสลิมนิกายชีอะห์ ใช้อำลังปราบปรามกลุ่มกบฎอย่างรุรนแรง เช่น การใช้กำลังทหารจับกุม และการบังคับให้สูญหาย กลุ่มกบฎจงหันมาจับอาวุธ ในขณะที่ทหารซีเรียส่วนหนึ่งซึ่งไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลก็จัดตั้งกองกำลังปลกปล่อยซีเรีย ขึ้น เพื่อเป็นปีกทางการทหารให้แก่กลุ่มกบฎ ทำให้การต่อสู้เพื่อปกป้องตนเองของกลุ่มกบฎ ได้ถุกยกระดับไปสู่การตอ่สู้เพื่อขับไล่กองกำลังรักษาความปฃอดภีบชอ
รัฐ แฃะกลายเป็นสงครามกลางเมืองในที่สุด
         
ความพยายามของประธานาธิบดีอัสซาดที่จะปราบปรามกลุ่มกบฎนำไปสู่การใช้กำลังและความรุนแรงที่เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งการทรมานและสังหาร การใช้อาวุธเคมี ลอดจนการปล่อยตัวนักโทษกลุ่มซาลาฟิญิฮาด ซึ่งเป็นชาวมุสลิมนิกายซุนนีที่มีแนวคิดสุดโต่ง เพื่อให้เข้าร่วมกับกลุ่มกบฎ และทำให้พวกเขาสูญเสียความชอบธรรมในการต่อสู้กับรัฐบาล
          "อเลปโป" ตั้งอยุ่ทางตะวันตกเแียงเหนือของซีเรีย และเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีคนอยุ่อาศัยป็นระยะเวลานานที่สุดเมืองหนึ่งของโลก เนื่องจากที่ตั้งซึ่งอยุ่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและดินแดนตะวันออก ทใไ้อเลปโปเป็นศูนย์กลางการต้าของภูมิภาค ที่มีควมสำคัญทั้งในทางการเมืองและเสรษฐฏิจตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา
           ตั้งแต่ซีเรียได้รับอิสรภาพจากผรังเศสในปี 2489 อเลปโปก็พัฒนาเป็นศุนย์กลางอุตสาหกรรมของประเทศในขณะเดียวกัน ประชากรในอเลปโปก็เพ่ิมขึ้อย่างรวดเร็ซ จาก 3 แสน เป็น 2.3 ล้าน ในปี พ.ศ. 2547 อเปลฌปจึงเป็นเมืองที่ให่ที่สุดของซีเรย และมีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์มาก แม้จะไม่ใช้เมืองหลวงของประเทศก็ตาม
          กรกฎาคม 2555 อเลปโปได้กลายเป็นสมรภูมิที่สำคัญของสงครามกลางเมืองซีเรียเมื่อกลุ่มกบฎสามารถยึดครองดินแดนทางเหนือของซีเรียได้ อย่างไรก็ตามกองกำลังขอกลุ่มกบฎสามารถยึดครองดินแดนทางเหนืของซีเรียได้ อย่างำรก็ตาม กองกำลังของกลุ่มกบฎไม่สามารยึกครองอเลปโปได้อย่างเด็ดขาด อเลปโปจึงถูกแบ่งเป็นองฝั่ง ได้แก่ ฝั่งตะวันตก ซึ่งควบคุมโดยรัฐบาลซีเรีย และฝั่งตะวันอออก ซึ่งควบคุมโดยกลุ่มกบฎ
          นับแต่นัน การสู้รบในอเลปโปก็ทวีความรุนแรงและขยายวงกว้างไปจนถึงเขตเมืองเก่า ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก โดยตั้งแต่ปลายปี 2013 เป็นต้นมา องกำลังฝ่ายรัฐบาลได้หันมาต่อสู้โดยการทิ้งระเบิดถัง ทางอากาศ ผลจากการสุ้รบทำให้สถานทีสำคัญหลายแห่งในอเลปโปถูกทำลาย ทั้งตลาดนัดกลางแจ้ง มัสยดอุมัยยะห์ และป้อมปราการแห่งอเลปโป ซึ่งเป็นปราสาทที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งโลก ... การสู้รบในอเลปโปดำเนินไปจนถงเดือนธันวาคม 2559 เมื่อกองกำลังของรัฐ ซึ่งได้รับการสนับสนุนด้วยการโจมตีทางอากาศจากรัสเซีย สามารถไล่ต้อนกลุ่มกบฎ และเป็นฝ่ายเข้ายึดครองเมืองได้สำเร็จ...https://www.the101.world/thoughts/syria-101/
           

วันศุกร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

Politics and Economics Europe

             เศรษฐกิจยุโรปกับปัญหาที่รุมเร้ารอบด้าน
             นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจโลกในปี 2551 เศรษฐกิจยุโรปก็ประสบปัญหารุมเร้าต่อเนื่อง ทั้งจากปัญหาหนี้ภาครัฐของกลุ่มประเทศ PIIGS(โปรตุเกส ไอร์แลนด์ อิตาลี กรีช และสเปน) และปัญหารการเมืองที่มีารกฐสานมาจากความไม่พอใจของประชาชนที่สังสมมานานจากเสณาฐฏิจตกต่ำต่อเนื่องหลายปี ประกอบกับความไม่แน่นอนจากการเจรจา บรีซิทต์ รวมถึงปัญหาภาคธสคารมีหนี้เสียในระดับสูง เป็นอุปสรรคต่อการปล่อยก็และกดดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง อัตราการว่างงานที่พุ่งสูงเกิน 20% ในหลายประเทศ ประกอบกับมาตการรัดเข็มขัดของภาครัฐ ที่นำไปสู่การลด
สวัสดิการสังคม เช่น การยืดอายุเกษียณและการลดเงินอุดหนุนให้ผุ้เกษียณอายุ รวมไปถึงการปฏิรูปกฎหมายแรงงาน ซึ่งมุ่งลดสิทธิของลูกจ้างเพื่อให้การตลาดแรงงานมีความยืดหยุ่นมากขึ้น ก่อให้เกิดกาะแสต่อต้านพรรคการเมืองกระแสหลักทีประชาชนเห้นว่าเป้นต้นเหตุของปัญหา และหันไปให้การสนับสนุนพรรคการเมืองเกิดใหม่ ซึ่งมีนธยบายต่อต้านการัดเข็มขัด
            นอกจากคะแนนความนิยมของพรรคซึ่งมีนโยบายต่อต้านการรัดเข็มขัดทีเ่พ่ิมขึ้นแล้ว ควาไม่พอใจของประชาชนยังสะท้อนผ่านการออกเสียงประชามติ บรีซิทต์ และการออกเสียงประชมติควำ่การปฏิรูปการเมืองในอิตาลี เมื่อปีที่แล้ว รวมถึงความพยายมประกาศเอกราชของท้องถ่ิน เพื่อแผกตัวออกจากประเทศที่มีเสณษฐกิจตกต่ำ เช่น การเรียกร้องการแยกตัวออกจากสเปน เป็นต้น และการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานธิบดีสหรัฐฯ ของ โดนัล ทรัมป์ ซึ่งชูนโยบายกีดกันทางการค้า และการต่อต้านการรับผุ้อพยพเข้าประเทศ อาจเป็นอีกปัจจัยที่สนับสนุนให้กระแสพรรค ประชานิยม ในยุดรปเพิ่มสูงขึ้น(ส่งผลต่อความไม่แน่นอนทางการเมือง)
            ปัญหารในภาคธนาคาร เป็นอีกปัจจัยที่กดดันการเติบโตของเศรษฐกิจยุโรป ซึ่งมีหนี้เสียอยู่ในระดับสูง และผลกำไรที่ตำ่ำอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางเศรษฐกิจที่เติบโตช้า และการใช้นโยบายดอกเบี้ยติดลบของธนาคารกลางยุโรปซึ่งทำให้ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยของธนาคารหอแคบลง ผลทดสอบภาวะวิกฤต ของธนาคารกลางยุดรป เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ขี้ว่าธนาคารที่มีฐานะทางการเงินแย่สุดในยุโรป ได้แก่ธนาคารของอิตาลี
          Sovereign Wealth Fund ของประเทศกาตาร์ แต่แผนการเพ่ิมทุนดังกล่าวล้มเหลวหลังกองทุนจากกาตาร์ประกาศถอนตัว ซึ่งทำให้รับาลอิตาลีต้องของนุมัติเงินช่วยเหลือภาคธนาคารจำนวน 2 หมื่อนล้านยูโร สำหับการเพ่ิมทุนให้ BMPS' รวมถึงธนาคารอื่นๆ อีกหลายแห่งที่มีปัญหา วิกฤตธนาคารอิตาลีในครั้งนี้น่าจะสงผลกระทบในวงจำกัด เนื่องจากธนาคารที่มีปัญหาเป็นธนาคารขนาดใหญ่ และวงเงินที่ใช้ในการเพิ่มทุน (2 หมื่นล้านยูโร) นั้นคิดเป็นเพียง 1% ของ GDP อิตาลี และน้อยมากหากเที่ยงกับ GDP โดยรวมของยุโรป
 ธนาคารกลางยุโรปกำหนดให้ BMPS' จัดการเพิ่มทุนให้เสร็จภายในสิ้นปี 2016 โดยเสนอแผนการเพ่ิมทุนจำนวน ห้าพันล้านยูโร โดยการขายหุ้นให้กับ
         ปัญหาของธนาคารในอิตาลี แม้จะมีโอกาสน้อยที่จะลุกลามจนนำไปสู่วิกฤตเศณษฐกิจ แต่ก็สะท้อนถึงพื้นฐานเศณษฐกิจและภาคธนาคารในยุโรปที่ยังมีฐานะทางการเงินอ่อนแอ และยังมีความเสี่ยงที่อาจต้องเพ่ิมทุนหากเศราฐกิจยังเติบโตในระดับต่ำ นอกจากนั้น การเข้าชยเหลื่อภาคะนาคารจะเป็นการเพ่ิมภาระหนี้ให้กับรัฐบาลอิตาลีซึ่งมหนี้อยุ่ในระดับสูงอยุ่แล้ว และอาจเป็นจุดเริ่มต้นนำปสู่วิกฤตหนี้ภาครัฐฯ..http://www.forbesthailand.com/commentaries-detail.php?did=1580
        วิกฤต! เศรษฐกิจ "ตุรกี" ระเบิดเวลาลูกใหม่ของยุโรป
         เศณาฐกิจตุรกีเป็นบทเรียนดีที่สุดในแง่ที่ว่า การเมืองสามารถบ่อนเซาะ ทำลายเศรษฐกิจได้มากมายและรวดเร็วเพียงใด
       
 ตุรกีเคยได้ชื่อว่เาป็นประเทศที่พร้อมก้าวไปสู่หัวแถวทางเศษฐกิจหลังเร่ิมปฏิรูปศรษฐฏิจให้ทันสมยใรปี 2003 ซึ่งรวมถึงการลดระบบซ้ำซ้อนและเปิดตลาดใให้ภาพเอกชนได้พัฒนาเต็มที่ ความเชื่อมั่นต่ออนาคตของตุรกีสะท้อนได้จากเงินลงทุนต่างชาติที่ไหลเข้าประเทศต่อเนื่องระหว่างปี 2003-2012 สูงถึง 400,000 ล้านตอลลาร์ ที่มากว่ายอดรวมของ 20 ปีก่อนหน้านั้นถึง 10 เท่าตัว
         ในช่วงเวลาดังกล่าว อัตราการขยายตัวของจีดีพีเคยสุงถึง 9 เปอร์เซ็นต์ต่อปีแม้ว่าจะซบเซาลงไปบ้างตามเศรษฐกิจโลกในระยะหลัง แต่เศรษฐกิจตุรกีก็ยังมั่นคง แตกต่างมากมายจากในเวลานี้ที่ต้องตออยู่ในสภาพดิ้นรน ชนิดที่มองไม่เห็นอนาคต ไม่ว่าเศรษฐฏิจโลกจะฟื้นตัวหรือไม่ก็ตาม
         ความไม่แน่นอนทางการเมือง ความหวาดระแวงทางการเมือง ที่เกิดขึ้นหลังเกิดความพยายามก่อรัฐประหารแต่ไม่ประสบผลสำเร็จในวันที่ 15 กรกฎาคม 2560 ที่ผ่านมา เปลี่ยนทุกอย่างไปจนหมด
          ความเชื่อมั่นของนักลงทุนหดหาย นักท่องเที่ยวที่เคยพลุกพล่านเต้มชายหาด หลงเหลือพียงเบาบาง ในขณะที่รัฐบาลตกอยู่ในสภาพมุ่งมั่นกวาดล้างทางการเมืองชนิดไร้เหตุผล จนกลายเป้นการทำลายพ้นฐานธุรกิจในประเทศลงอย่างเลือดเย็น ค่าเงินลีร่า อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง กระทบกำลังซื้อภายในประเทศและกลยเป็นปัจจัยลลต่อเนื่องต่อเศรษฐกิจโดยรวมมากขึ้นไปอีก
         หลังทำลายความพยายามของกลุ่มทหารที่ก่อกบฎได้สำเร็จ ประธานาธิบดีเรเจป เทย์ยิป แอร์โดอาน จัดการจักกุมผู้ต้องสงสัยไปถึง สีหมืนห้าพันคน และไล่เจ้าหน้าที่ของรัฐพ้นตำแหน่งมากถึง 130,000 คน แต่ทุกอย่างกลับไม่ยุติเพียงแค่นั้น ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่่านมา ผุ้นำตุรกีมีคำสั่งให้อายัดกิจการของบริษัทต่างๆ มากมายถึง 800 บริษัท ฐานต้องสงสัยว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกัยการก่อกบฎหรือมีส่วนกับการก่อการร้าย แกนนำระดับเจ้าของหรือผุ้บริหารสูสุดกว่า 60 รายถูกจับกุมคุมขัง มูลค่าตวมของกิจาการที่ถุกยึดกลายๆ ในครั้งนั้นสุงถึง 10,000 ล้านดอลลาร์
         การกระทำดังกล่าวสร้างความหวาดกลัวถึงระดบทีไม่ว่าจะไม่ว่าจะไม่พอใจมากเท่าใด มไ่มีนักธุรกิจรายไหนกล้าวิพากษ์รัฐบาล ด้วยเหตุผลที่ว่า "ไม่มีใครที่วิจารญ์แอร์โดอาน แล้วจะอยู่รอดปลอดภัยได้ในตุรกี" ...
         ... เมื่ปลายปีที่แล้ว มุดีส์ อินเวสเตอร์ เซอร์วิส และสแตนดาร์ด แอนด์พัวร์ 2 บริษัทจัดอันดับความน่าเช่อถือชั้นนำของโลก ปรับลดอัีนดับความน่าเชื่อถือของตุรกีลงสู่ระดับ "ขยะ" ในขณะที่เงินลงทุนจากต่างประเทศลดลงฮวบฮาบถึงกว่า 40%...
         ... ตุรกีกำลังสุ่มเาี่ยงต่อการล้มละลาย ในสายตาของซอนเมซ ปัญหาก็คือ ตุรกีอาจฉุดลากเอาประเทศอื่นๆ จมน้ำตามไปด้วย ตอนนี้ตุรกีมีหนี้สินต่างประเทศอยุ่ถึคง 270,000 ล้านดอลลาร์ ในจำนวนนี้ 87,000 ล้านเป็นของสเปน 42,000 ล้านเป็นของฝรั่งเศศ และอีก 15,000 ล้านเป็นเงินเยอมรนี
        https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1492592583
 ถ้าตุรกีผิดนัดชำระหนี้ขึ้นมาเมือใด ซอนเมซเชื่อว่า วิกฤตการณ์การเงินรอบใหม่ในยุดรป ก็เกิดขึ้นตามมาได้ไม่ยาก!!!!
         
เศรษฐกิจทัวโลกส่งสัญญาฟื้นตัวอย่างมี่นัยสำคัญในปี 2017 ด้วยพลังขับเคลื่อนจากพรรดาประเทศเศรษฐกิจยักษ์ใหญ่ ซึ่งเติบโตอย่างพร้อมหน้าเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เกิดวิกฤตการเงินเมือเกือบ 10 ปีก่อน
          ข้อมูลจาก คอนฟิลเลนซ์ บอร์ด องค์กรวิจันเศรษฐกิจชั้นนำของโลกระบุวา ในปี 2017 ที่ผ่านมา ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศเศษรฐกิจรายใหญ่ ทั้งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศตลาดเกิดใหม่ขนาดใหญ่ทั่วดลก ต่างก้ฒีอัตราขยายตัวในระดับที่น่าพอใจ นำโดยสหรัฐอเมริกาทีเ่ติบโตระดับ 2.3% ส่วนจัน ขยายตัว 6.6% ขณะที่ญี่ปุ่น แม้จะยังไม่หลุดพ้นจากภาวะเงินฝืดก็ยังขยายตัวที่ระดับ 1.4%
        ยูโรโซน แม้เผชิญกับความไม่แน่นอนทางการเมืองในบางประเทศก็ยังเติบโตที่ระดับ 2.2% ขณะที่สหราชอาณาจักรที่ำลังดิ้นรนเจรจาแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป ยังเติบโตที่ 1.5%
         ประเทศเศรษฐกิจรายใหญ่อื่นๆ ต่างก็ขยายตัวแบบไม่ยอมน้อยหน้าเช่นกัน ประกอบด้วย อินเดียว 6.2% รัสเซีย 1.8% และบราซิล 1% ซึ่งเป็นสมาชิกในกลุ่ม BRICS ขณะที่แคนาดา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ เม็กซิโก ตุรกี และอินโดนีเซีย ซึ่งอยุ่ในกลุ่ม G20 ก็เติบโตที่ระดับ 2.5% 1.8% 2.7% 2.5% 4% และ 4.9% ตามลำดับ...https://thestandard.co/global-economy-2018/
         
         

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...