แนวคิดนี้ถือกำเนิดระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่อธิบาถึงประเทศที่เข้าฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังยุคสงครามเย็นความหมายของ “โลกที่หนึ่ง”ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า “โลกที่หนั้ง”ได้มามีความหมายในทำนองเดยวกับประทเศพัฒนาแล้ว
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติแล้ว โลกแบ่งออกเป็นองขั้วทางภูมิรัฐศาสตร์ อันนำมาสู่สงครามเย็น ในระหว่างสงครามเย็นมีการใช้คำว่า “โลกที่หนึ่ง”โดยองค์การสหประชาชาติ”
คำว่า “โลกที่หนึ่ง” “โลกที่สอง” โลกที่สามถูกใช้เป็นครั้งแรกเพื่อแบ่งประเทศนโลกออกเป็นสามหมวดหมู่ ความเปลี่ยนแปลงอย่างสมบูรณ์ของฐานะเดิมหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หรือที่รู้จักกันว่าสงครามเย็นซึ่งประเทศสองอภิมหาอำนาจแข่งขันกันเพื่อความยิ่งใหญ่ในระดับโลกท้ายที่สุดด ทั้งสองประเทศได้สร้างกลุ่มประเทศสองกลุ่ม โดยพื้นฐานความคิดของโลกที่หนึ่ง และโลกที่สอง
อัลเฟรอ โซวี นักประชากรศาสตร์ได้ประดิษฐ์คำว่าโลกที่สามเพื่อใช้อ้างอิงถึงญานันดรทั้งสมในฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติ ฐานันดรสองอย่างแรกคือ ชนชั้นสูงและพรสอนศาสนา ส่วนฐานันดรที่สามประกอบด้วยประชากรอื่นๆ ทั้งบหมดนอกเหนือจากสองฐานันดรแรก เขาได้เปรียบเทียบโลกทุนนิมกับชนชั้นสูง และโลกคอมมิวนิสต์กับพระสอนศาสนา โซวีเรียกประเทศที่เหลือซึ่งไม่รวมอยู่ในการแบ่งแบบสงครามเย็นังนี้ว่าโลกที่สาม ซึ่งก็คือ ประเทศซึ่งไม่เข้ากับฝ่ายใดแลไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใน “ความขัดแย้งตะวันออก-ตะวันตก” ด้วยกาประดิษฐ์คำว่า “โลกที่สาม”โดยตรง ทำให้สองกลุ่มแรกกลายเป็น “โลกที่หนึ่ง”และ “โลกที่สอง”ตามลำดับ
“โคฟี่ อันนัน” อดีตเลขาธิการสหประชาชาติ ให้คำจำกัดความกับประเทศพัฒนาแล้ว “ประเทศพัฒนาแล้ว คือ ประเทศที่ให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนทุกคนให้มีอิทสระเสรีและมีสุขอนามัยดี อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย และยังมองค์กรอื่น ๆ พยายามให้คำจำกัดความสำหรับความหมายของประเทศกำลังพัฒนาและพัฒนาแล้ว ดังนี้
การจัดกลุ่มหรือกำหนดกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วและกำลังพัฒนานั้น เพื่อประโยชน์ในทางสถิติและไม่จำเป็นที่จะมาใช้ในการตัดสินใสถานะของประเทศ หรือขอบเขตในกระบวนการพัฒนา
สหประชาชาติ ให้ความเห็นดังนี้
“จากตัวอย่างที่เห็นได้ทั่วไป คือ ประเทศญี่ปุ่นใน เอเชีย แคนาดาและสหรัฐอเมริกาในอเมริกาเหนือ ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในโอเซียเนีย และประเทศส่วนใหญ่ในยุโรป กลุ่มประเทศเหล่านี้ถูกพิจารณาให้เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ในเชิงสถิติทางกาต้า สหภาพศุลกากร แอฟริการใต้ยังถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และปรเทศอิสราเอลก็อยู่ในกลุ่มปรเทศพัฒนาแล้ว ส่วนในยุโรปกลุ่มประเทศที่กำเนิดขึ้นจกประเทศยูโกสลาเวียเก่าถือเป็นประเทศกำลังพัฒนา ประเทศในกลุ่มของยุโรปตะวันออก และกลุ่มที่เป็นประเทศเครือรัฐเอกราช ในยุโรป จึงไม่ถูกเรียกรวมอยู่ในกลุ่มใด ๆ ของพัฒนาแล้วหรือกำลังพัฒนา”
การแสวงหารมิตรและความนิยมในโลกที่สาม ย่อมทำให้จีนกับรุสเซียยามที่จะมีความสัมพันธ์ต่อกันดีขึ้นได้ ผลประโยชน์ในโลกที่สามมีแต่จะทำให้เกิดความตรึงเครียดขึ้นอย่างหลีกเลื่ยงไม่ได้
ความตึงเครียดได้บังเกิดขึ้นอีกเนื่องจากผู้นำของรุสเซียเองมิได้มีทีท่ายินยอมปรองดองกับจีนแต่อย่างใด ต่างแข่งขันกันแสวงหาอำนาจอิทธพลทั้งในเอเวียและแอฟริกาทั้ง ๆ ที่แต่เดิมรุสเซียเองมิได้ให้ความสนใจแก่เอเชียเท่าใดนักนองเหนือจากอินโดนิเซียและอินเดีย ครั้งครุสเชอฟหมดอำนาจแล้ว โลกที่สามเร่มเคลื่อนไกวคึกคักจะมีการประชุมดังที่เคยประชุม ณ บันดุง ท่ามกลางสปิริตบันุงครั้งที่สองนี้ จีนมุ่งโจมตีลัทธิจักวรรดินิยมแบบอเมริก และส่งเสริมบทบาทของตนในการนำโลกที่สามโดยตั้งแนวร่วมต่อต้านสหรัฐอเมริกา จีนเมแผ่ขยายอำนาจอิทธพลเข้าไปในโลกที่สามโดยผ่านที่ประชุมนั้นเต็มที่ ครั้งนั้นการประชุมกำหนดสถานที่คื อเมืองแอลเจียร์ ในเดื่อนมิถนายนก่อนหน้านั้นนายผงเจิน นายกเทศมนตรีปักก่งไปเยื่อนอินโดนีเซียแล้วกล่าวสุนทรพจน์โจมตีรุสเซียอย่างหน้าตาเฉย และถือความแตกต่างเรื่องผิวเป็นเครื่องแยกรุสเซียออกจากกลุ่มโลกที่สาม เผงเจินได้กล่าวเกริ่นถึงนโยบายกีดกันผิว ต่อต้านรุสเซียไว้ว่า “โดยถือตนเหนือกว่าทางด้านเผ่าพันธุ์ เคียงข้างพวกอเมริกาชั้นกลางและบรรดาจัรวรรดินิยม บรรดานักแก้ไขปรับปรุงลัทธิแบบครุสเชฟ ร้องตะโกนพร้อมกับพวกจัรวรรดินิยมด้วยเรื่องพวกผิวอื่น ๆ เป็นปฏิปักษ์ต่อพวกผิวขาวจีนเรียกร้องให้กลุ่มประเทศในโลกที่สามงดรับความช่วยเหลือจากรัฐใดก็ตามที่มิได้เป็นรัฐในทวีปแอฟริกาและเอเซียในที่นี้ ย่อมหมายถึง สหรัฐอเมริกาและรุสเซีย รุสเซียตอบโต้โดยแสดงความปรารถนาอย่างเปิดเผยว่าต้องการร่วมประชุมที่แอลเนียร์ด้วย นับเป็นคร้งแรกที่รุสเซียได้ดำเนินนโยบายต่างประเทศต่อโลกที่สามในแนวที่ต้องกการร่วมกิจการทุกประเภทถ้าเป็นไปได้กับโลกที่สาม โดยที่ฐานะที่เป็นผู้นำหรือมีบทบาทสำคัญเช่นจีนได้ก็ยิ่งดี การประชุมที่แอลเนียร์จึงจัดเป็นเวทีการเมือง ที่ประคารมของสองฝ่ายนอกขอบเขตโลกคอมมิวนิสต์อย่างชนิดตัวต่อตัวเลยที่เดียว และเป็นเวทีสำหรับจีนและรุสเซียในการแสวงหาอำนาจอิทธพลและแรงสนับสนุนจากโลกที่สาม แต่เป็นที่น่าเสียดายที่การประชุมครั้งนั้นต้องล้มเลิกเพราะเกิดรัฐประหารในแอลจีเรีย ก่อนการประชุม 10 วัน
ในการแข่งขันการสร้างอำนาจอิทธพลในโลกที่สาม จีนนับว่าเป็นฝ่ายเพลี่ยงพล้ำทางการทูตมากและผุ้ที่จะเก็บเกี่ยวผลประโยชน์แทนจีนคือ รุสเซีย ในทุกหนแห่ง จีได้ประกาศนโยบายปฏิวัติโลกแนวใหฒ่จากการใช้กำลังควารรุนแรงมาเป็นการปฏิวัติตามแบบอย่างของเมา จีนได้ทดลองวิธีปฏิวัตินั้นในกรณีเวียดนาม และในโลกที่สาม แต่ประสบความล้มเหลว เพราะจีนส่งสริมการปฏิวัติและเจริญสัมพันธไมตรีกับรัฐบาลประเทศนั้นด้วย แหล่งล้มเหลวมากคือใน อังโกลา โมซัมบิก โรดีเซีย แอฟริกาใต้ คองโก ในเอเชียเอง จีนทุ่มเทให้ความช่วยเหลือแก่อินโดนีเซียมาก แต่การปฏิวัติล้มเหลวในเดือนสิงหาคม ผลร้ายแรงที่จีได้รับจากการส่งเสริมการปฏิวัติโลกแบบเมาทุกหนแห่งดังกล่าวคื อการที่ประเทศเหล่สน้นตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนและมีความสัมพันะอันดีงามกับรุสเซีย ที่นับว่า เป็นสงครามที่ทั่วโลกสนใจคือ สงครามระหว่างอินเดียกับปากีสถานด้วยเกตุกรณีพิพาทดินแดนแคชเมียร์ในเดื่อสิงหารคม มหาอำนาจผู้เกี่ยงวขช้อง คือ สหรัฐอเมริกาได้ให้ความช่วยเหลือแก่ปากีสถานและอินเดีย จีน และรุสเซีย ได้ประท้วงอย่างแข็งขัน จนสหรัฐอเมริกาต้องงดให้ความช่วยเหลือแก่อินเดีย ภาวการณ์ส่อชัดว่า อินเดียเป็นฝ่ายที่ชัยในการรบ ปากีสถานขอร้องให้สหรัฐอเมริกาไกล่เหลี่ยยุติสงคราม แต่นีนยังคงส่งเสริมให้ปากีสถาน ลงนามในข้อตกลงหยุดยิงและรุสเซียไกล่เกลี่ยให้เปิดการเจรจาเรื่องความขัดแย้งนั้น จีนพอจะกู้ชื่อได้บ้าง แม้จะไม่ใหญ่หลวงนักถ้าเทียบกับรุสเซียผู้มีบทบาทสำคัญในการยุติความขัดแย้ง
นอกจากจะแสดงความช่วยเหลือพรรคคอมมิวนิสต์พ้นเมืองก่อการร้ายแล้ว โรคระบาดปฏิวัติแบบจีนโดยสื่อการทูตเรดการ์ดยังแผ่ขายลุกลามไปสู่ประเทศเพื่อบ้านด้วยก่อเกิดความไม่สงบทำให้ประเทศเพื่อบ้านมิใคร่พอใจจีนเท่าใดนัก กล่าวโดยสรุปแล้ว พฤติกรรมของจีนได้สร้างศัตรูมากกว่ามิตรในโลกเพิ่มขึ้น โลกที่สามหมดความเลื่อใสศรัทธาจีนความเป็นผู้นำที่จีนปรารถนาค่อย ๆจางหายไป สัมพันธภาพกับรัฐต่าง ๆ เสื่อมทรามลง บทบาทจีนตั้งแต่ 1966 จึงเป็นไปในด้านที่จีนแยกตัวเองอยู่โดดเดี่ยวสมความปรารถนาของรุสเซีย
ท่ามกลางสถานการณ์โลกที่ดึงทั้งจีนและสหรัฐอเมริกาให้ต้องเกี่ยวข้องด้วยนั้นรุสเซียได้ประเมินสถานการณ์และทบทวนนโยบายต่างประเทศ และได้กำหนดแบบอย่างนโยบายต่างประเทศโดยคำนึงถึงปัจจัยต่อไปนี้
- วิกฤติการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างสืบต่อเนื่อง
- เอกภาพในโลกคอมมิวนิสต์
- พัฒนาการของประเทศรุสเซียเอง สังคมอุตสาหกรรมบีบบังคับให้รุสเซียต้องใช้วิธีการกระจายอำนาจในการปกครอง นโยบายต่างประเทศย่อมจะถูกแปรเปลี่ยนรูปโดยยังคงลักษณะเดิม
ความวิตกกังวลของรุสเซียนั้นอยู่ที่การธำรงไว้ซึ่งเอกภาพของโลกคอมมิวนิสต์และความเป็นผุ้นำบรรดาพรรคคอมมิวนิสต์ทั่วโลก การสร้างเขตอิทธิพลให้สำเร็จผลในตะวันออกกลางและปัญหาการอยู่ร่วมกันโดยสันติกับสหรัฐอเมริกาโดยมิให้ผิดพ้องหมองใจกับจีนสถานการณ์โลกมีส่วนเสริมสร้างรุสเซียให้ดูโดดเด่นว่าเป็นอภิมหาอำนาจฝ่ายเดียวที่ใฝ่สันติโอกาสที่รุสเซียจะแสวงหามิตรไมตรีกับโลกตะวันตกนับว่าสูงมากนับแต่ ปี 1965 เป็นต้นมา
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น