ทฤษฎีดุลญือำนาจ องค์ประกอบทฤษฎีมีดังนี้
- จะต้องมีชาติหลายชาติจำนวนมากเข้าเกี่ยวข้อง ซึ่งแต่ละชาตินอกจากจะมีกำลังอำาจที่แตกต่างกันออกไปแล้ว ยังพยายามหาทางที่จะเพิ่มกำลังอำนาจของตนให้มีมากยิ่งขึ้น ในกรณีอังกล่าว จะมีแนวโน้มทำให้เกิดดุลยภาพในระบบโลกตราบเท่าที่อำนาจที่เข้มแข็งเหนือกว่า เมื่อใดก็ตาม มีรัฐที่มีกำลังอำนาจเหนือกว่ารัฐอื่นๆ รัฐนั้นจะถูกถ่วงดุลย์จากชาติหรือกลุ่มชาติที่เป็นปรกักษ์ หรือจากพวกที่เป็นฝ่ายตรงกันข้าม ตราบใดที่กำลังอำนาจของชาติในแต่ละค่ายมีความทัดเทียมกัน ดุลยภาพหรือสภาพความสมดุลจะเกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อสันติภาพโลก
- จะต้องมีชาติทุกหน้าที่เป็นผู้ถ่วงดุล ในกรณีที่กำลังอำนาจที่อยู่ด้านหนึ่งของตราชั่งได้เพิ่มมากขึ้น จนทำให้เกิดเสียดุลยภาพ
ทฤษฎีดุลย์แห่งอำนาจอธิบายการแบ่งกำลังอำนาจอย่างทัดเทียมกันระหว่างชาติหรือกลุ่มชาติที่เป็นปรกักษ์ต่อกัน และบางครั้งใช้ปะปนกับคำว่า "ดุลยภาพ"ซึ่งเป็นคำที่มีความหมายกว้าง ๆ ซึึ่งถ้าไม่ทำความเข้าใจให้ดีแล้ว อาจเกิดความสับสนได้ นอกจากนี้แล้ว ทฤษฎีดุลย์แห่งอำนาจบางครั้งอธิบายถึงการมีอำนาจครอบงำที่เด่นของชาติที่ทำหน้าที่เป็นผู้ถ่วงดุลย์
ริดชาร์ด คอบเดน Richard Cobden กล่าวเตือนใจไว้ว่า "ดุลย์แห่งอำนาจเป็นเรื่องความฝันที่แสนจะเพ้อเจ้อ ไม่ใช่เป็นเรื่องการเข้าใจผิดผลาดหรือเป็นการหลอกลวง แต่เป็นเรื่องที่ไม่อาจจะอธิบายให้เห็นชัดได้ สุดเหลือที่จะพรรณนาได้ และไม่อาจเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีลัษณะที่ยังพอรับฟังได้"
ทฤษฎีแห่งความหวาดกลัว วินสตัน เชอร์ชิล อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ " นักศีลธรรมอาจมีจิตใจห่อเหี่ยวเมื่อเจอกับแนวความคิดที่ว่า โลกเราจะไม่มีสันติภาพอันมั่นถาวรจนกว่าจะมีวิธีที่ทำให้ชาติต่างๆ มีความเหรงขามหวาดกลัวซึ่งกันและกัน"
ดุลย์แห่งความหวาดกลัว มีความหมายในแง่ที่ว่า จะต้องมีชาติสองชาติหรือมากกว่านั้นขึ้นไป มีความหวาดกลัวเกรงขามซึ่งกันและกัน และไม่กล้าที่จะเสี่ยงภัยกระทำการใด ๆ อันเป็นการกรุตุ้นให้อีกฝ่าหนึ่งโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์กล่าวคือต่างฝ่ายต่างเกรงกลัวว่าเกิดเป็นสงครามนิวเคลียร์จงมีความเกรงขามซึ่งกันและกัน
ทฤษฎีดุลย์แห่งความหวาดกลัวมีสาระที่สำคัญคือ
- ตราบใดที่ระบบป้องกันการโจมตี ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ยังไม่มีประสิทธิภาพเียงพอ ประเทศที่ถูกโจมตีก่อนด้วยอาวุธนิวเคลียร์ จะโจมตีตอบโต้ด้วยอาวุธนิวเคลียร์อย่างเดียวกันอย่างไม่ต้องสงสัย ซึ่งพฤติรรมดังกล่าวมีส่วนทำให้แต่ละฝ่ายไม่กล้าที่จะลงมือโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ก่อน และทำให้ต่างฝ่ายต่างอยู่ในสภาวะของดุลย์แห่งควาหวาดกลัว
- ความเสียหายอันเกิดจากการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ต้องอยู่ในลักษณะที่ไม่อาจยอมรับได้ ซึ่งเป็นจุดสำคัญของทฤษฎีดุลย์แห่งความหวาดกลัวเพราะถ้าหากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายสามารถยอมรับความเสียหายจากการโจมตีได้อย่างไม่สะทกสะท้านแล้วดุลย์แห่งความหวาดกลัวคงจะเกิดได้ยาก
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น