Proxy War..(Korea War)

บทบาทและท่าทีของสหรัฐอเมริกา
       สหรัฐฯให้การสนับสนุนเกาหลีใต้ในสงครามเกาหลี สงครามเกาหลีเป็นการปะทะเสียเลือดเนื้อดินแดนเกาหลีเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญของโลก
     สงครามเกาหลีเริ่มด้วยกองกำลังเกาหลีเหนือบุกข้ามเส้นขนานที่ 38 เหนือเข้ามาในเกาหลีเกาหลีเหนือเป็นฝ่ายรุก เลขาธิการสหประชาชาติ ทวิกเว ลี ในเวลานั้น เรียกประชุมคณะมนตรีความมั่นคงเป็นการณีพิเศษเพื่อขอมติปฏิบัติการเคลื่อนกองกำลังทหารผสมสหประชาชาตช่วยเกาหลีใต้ เพราะรุสเซียเรียกตัวแทนรุสเซียกลับรุสเซียเนืองจากไม่พอใจหรัฐอเมริกาที่นำประเทศสาธารณรัฐจีนเข้าเป็นสมาชิกหนึ่งในห้าของคณะมนตรีความมั่นคงประเภทถาวร ทำให้มติไม่เป้ฯไปตามข้อตกลงกองกำลังทหารผสมไม่สามารถออกปฏิบัติการได้ กองกำลังเกาหลีเหนือยึดกรุงโซลได้  ประธานาธิบดีทรูแมนสั่งเคลื่อกองกำลังอเมริกันสามเหล่าทัพภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลดักลาส แมคอาเธอร์ และให้กองเรือรบอเมริกันที่เจ็ดเข้าคุ้มกันเกาะไต้หวันด้วยเกรงกองกำลังจีนคอมมิวนิสต์เข้าโจมตี ตัวแทนังกฤษร้องของความช่วยเหลือด้านกองกำลังจาชาติสมาชิกองค์การสหประชาชาติผลคือ 16 ชาติสมาชิกองค์การสหประชาชาติให้ความร่วมมือส่งกองกำลังเข้าช่วยเกาหลีใต้ภายใต้ชื่อกองกำลังสหประชาชาติ ประกอบดวยสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม แคนาดา โคลัมเบีย เอธิโอเปีย ฝรั่งเศส กรีก ลักเซมเบิร์ก เนอเทอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ ฟิลิปินิส์ แอฟริใต้ ตุรกี และไทย อีก 41 ชาติร่วมส่งเพียงยุทธปัจจัยอาหารและของใช้ การรบช่วงกลางปี 1950 กองกำลังสหประชาชิติเป็นฝ่ายรุกเริ่มด้วยในวันที 8 กันยายน โดยชนะการรบในพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาหลีใต้ 15 กันยายน ยกพลขึ้นบกบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันตกของกรุงโซล ยึดกรุงเปียยางเมืองหลวงเกาหลีเหนือได้ รุกขึ้นเหนือเรื่อยไปถึงลุ่มแม่น้ำยาลูเป็นเส้นทางน้ำกั้นระหว่างกาหลีหนือกัยสาธารณรัฐประชาชนจีน จีนมองว่ากองกำลังสหประชาชาตที่บลุ่มน้ำยาลูเป็นการท้าทายจีนคอมมิวนิสต์และต้องการช่วยเกาหลีเหนือซึ่งเป็นประเทศร่วมอุดมการณ์การเมืองเดียวกันกับจีนคอมมิวนิสต์ ทั้งต้องการรับกษาพันธมิตรเกาหลีหนือในเอเชียตะวันออกให้คงอยู่ต่อไป ในทางปฏิบัติจีนเคลื่อนกองกำลังทหารเข้าช่วยเกาหลีเนหือ รุสเซียหนุนดานอาวุธยุทธปัจจัย เป็นผลให้กองกำลังสหประชาชาติถูกโจมตีต้องถอยร่นลงใต้ การรบช่วงเดือนพฤศจิกายน กองกำลังจันเป็นฝ่ายรุก นับจากช่วงปลายปี 1950 กองกำบังสหประชาชิถอยกลับสู่เกาหลีใต้ กองกำลังสหประชาชาติพยายามตรึงอยู่ที่เส้นที่ 38 เหนือ และในเดืนอมกราปี 1951 กองกำลังสหประชาชาติยึดกรุงโซลกลับคืนมาได้ ช่วงกลางปี 1951 พักรบชั่วคราวครั้งแรกเพื่อการเจรจา การเจรจาไมเป็นผลการรบจึงดำเนินต่อไป มีการเจรจากันอีกในเวลาต่อมาและยุติสงครามในวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 ในสมัยประธานาธิบดี ไอเซนฮาวร์
จีนแดง
      มีความหวังเปี่ยมล้นที่จะรวมประเทศทางทหารที่มุ่งหมายคือ ธิเบต และไต้หวัน แต่การอุบัติขึ้นของสงครามเกาหลีทำให้แผนการรวมประเทศต้องดำเนินไปครึ่ง ๆ กลาง ๆ สงครามเกาหลีปิดโอกาสจีนมิให้รวมไต้หวัน สหรัฐอเมริกาประกาศพิทักษ์ไต้หวัน ดดยพฤตินัยด้วยการส่งกองทัพเรือภาคที่ 7 เข้าประจำข่องแคบไต้หวัน เพื่อป้องกันจีนฉวยโอกาส
     ภาวะตึงเครียดทางการเมืองระหว่างประเทศด้วยการสงครามเกาหลี บทบาทของจนในสงครามเกาหลี การรวมไต้หวันไม่สำเร็จ ปฏิกิริยาของอเมริกาที่แสดงออกถึงความเป็นปฏิปักษ์และการที่กองทัพสหประชาชาติ การปกิวัติแต่ะละครั้ง หรือการัฐประหารก็ดี เปลี่ยนผู้นำการปกครองในรูปแบบวิธีการใดก้ดีย่อมจะทำให้ผู้ปกคอรงหรือผู้มีอำนาจกลุ่มใหญ่ตระหนักถึงความจำเป็นในการรักษาอำนาจที่ได้มาการปกครองในขั้นต้นจึงมกจะเป็นแบบรวมอำนาจ ดดยเฉพาะสำหรับพวกคอมมิวนิสต์ได้มีการเร่งรีบเผยแพร่ปลูกฝังลัทะดอุดมการณ์และสร้างองค์กรต่าง ๆ ขึ้นทั่วรับ จีนแดงได้นำรูปแบบองค์กรมาใช้แทนที่การสร้างระบบและนำอุดมการ์มาปลูกฝังใจประชาชนแทนธรรมเนียมทัศนคติ
      ในระยะนั้น ฝ่ายปฏิปักษ์หรือผุ้ใดเพิกเฉยต่อระบบการปกครองมักะถูกขจัดกวาล้างดดยวิธีรุนแรง ประชาชนได้เริ่มตระหนักถึงคำพูดขงเมาเซตุง ซึ่งได้เตื่อนไว้ตั้งแต่ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ใคประกาศ  “แนวประชาธิปไตย” เมือเป็นปฏิปักษ์เช่นนั้น เมาได้ย้ำว่า “ใครก็ตามที่เป็ฯปฏิปักษ์ต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ จงเตรียมตัวรอคอยการถูกทำลายล้างอยางสิ้นเชิง” ภัยสงครามเกาหลีปรากฎใกช้พรมแดนจีน เหล่านี้ล้วนเป็นภัยคุกคามเสถียรภาพความมั่นคงของจีนสั่นสะเทือนอำนาจของรัฐบาลจีนแดงเป็อย่างยิ่ง ภายในประเทศเอง จีนแดงก็มีความวิกตมิใช่น้อยในพลังอำนาจของ่ายปฏิปักษ์ซึ่งยังปรากฎทั่วไป ถัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทำให้จีนแอดงต้องการขวัญกำลังใจอันเด็ดเดียวจากประชาชนในการสนัสนนุนอำนจของพรรคจีนคอมมิวนิสต์ให้สามารถปกครองจีนได้โดยตลอดรอดฝั่งจีนแดงจึงดำเนินการรณรงค์ ด้วยมาตรการต่างๆ อาทิ
- การกวาดล้าบรรดาผุ้เป็นปฏิปักษ์ต่อการปฏิวัติของตน โดยยืมมือประชาชนให้ประหัตประหารกันเอง..
- การต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมของสหรัฐอเมริกาโจมตีสหรัฐอเมริกาว่าเป็นจ้าวจักรวรรดินิยมนายทุน แทรกแซงในกิจการเมืองภายในของชาติอื่น
- การรณรงค์ ต่อต้านสิ่งชั่วร้าย สามประการ,การรณรงค์ต่อต้านสิ่งชั่วร้ายห้าประการโดยมีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงการบริหารใมความตื่นตัวและเร่งรัดพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาภ
- ปัญญาชนเป็นกลุ่มคนที่นับหน้าถือตาในสังคมจีนมานานแล้วในฐานะที่เคเป็นผู้นำสังคมและเช่อมรัฐกับสังคมเข้าด้วยกัน ซคงเมาเซตุงเห็นความสำคัญข้อนี้จึงย้ำเรื่องนี้ต่อคณะกรรมการกลางว่า “ถ้าปราศจากความร่วมมือจาปัญญาชน การปฏิวัติจะไม่สามารถบรรลุชัยนะได้”ถ้าปัญญาชนเป็นคอมมิวนิสต์ประชาชนส่วนใหญ่ย่อมถือเป็นแบบอย่างปฏิบัติตาม การกล่มเกลาบรรดาปัญญาชนให้เป็นคอมมิวนิสต์จึงเป็นหน้าที่ความจำเป็นของพรรคคอมมิวนิสต์จีน
     สงครามที่พยายามจะเปลี่ยนสถานะเดิมแห่งการแบ่งแยกเกาหลีนั้นได้ยุติลงโดยเกาหลียังคงแบ่งแยกต่อไปเมือนเดิม ปัญหาภายในของสองเกาหลีหนักหน่วงยิ่งขึ้นด้วยเหตุสงครามที่ได้มีการสับประยุทธ์กันบนผืนแผ่นดินเกาหลี ระบอบคอมมิวนิสต์ตึ้งมั่นในเกาหลีเหนือ ระบอบประธิปไตยแต่เพียงผิวเปลือกนอกตั้งมั่นในเกาหลีใร้ ชาวเกาหลีจึงมีการปกครองแบบเผด็จการฝ่ายขวาและเผด็จการฝ่ายซ้ายให้เลือก การพัฒนาประเทศของเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ถือเป็นกรณีตัวอย่างทดลองประสิทธิภาภาพของลัทธิอุดมการณ์ขันแข่งกันอยู่ในเวลทีการเมืองโลก
รุสเซีย
      ในช่วงสงครามเกาหลี รุสเซียได้ให้ความช่วยเหลือทางการทหารแก่ จีนและเกาหลีในสมัยที่สตาลินยังคงมีชีวิตอยู่สหภาพโซเวียตไม่มีข้องตกลงให้ความช่วยเหลือกับประเทศที่อยู่นอกเขตอิทธิพลของตน แตหลังการตายของสตาลินสภาพการณ์ก็เปลี่ยนแปลงไป
     5 มีนาคม 1953 สตาลินได้ถึงแก่อนิจกรรมโดยมิได้มีทยาทสืบต่ออำนาจทางการเมืองอย่างเป็ฯทากงการ กลไกและองค์ประกอบลแห่งการปกครองรวนเร คณะผู้นำใหม่เต็มไปด้วความไม่มั่นใจและหวาระแวงในอำนาจการปกครอง ผุ้นำใหม่ที่สำคัญมีสามคนคือ นายจอร์จิ เอ็ม มาเลนคอฟ นายลาเวรนตี บีเรีย นายวยาเชสลาฟ โมโตลอฟ และผุ้ที่มีอำนาจอิทธิพลอยูเบื่องหลังคือ นาย นิกิตา เอส ครุสเชฟ การปกครองโดยบุคคลทั้งสามข้าต้นแสดงว่าไม่มีผู้ใดมีอำนาจเด็ดขาดแต่ผู้เดียว รุสเซ๊ยตกอยู่ภายใต้การปกครองโดยหมู่คณะ
    แม้คณะผู้นำจะแย่งกันเป็นใหญ่แต่ผู้เดียวแต่ก็เห็นพ้องต้องกันที่จะสลายลักษณะเผด็จการแบบสตาลินและต้องพยายามธำรงไว้ซึ่งเอกภาพและพลกำลังให้เป้ฯที่ประจักษ์แก่สายตาโลก อสัญกรรมของสตาลินมีผลกระทบต่อนโยบายต่างประเทศของรุสเซยมาก นโยบายต่างประเทศเป็นปัจจัยสำคัญชี้ขาดอำนาจของผุ้นำรุสเซียได้ดีเท่าๆดับชี้ขาดสงครามหรือสันติภาพสำหรับประชาคมโลกด้วย กลุ่มผู้นำใหม่ยังไม่มีอำนาจสิทธิขาดในชั้นต้น ระยะเวลาดังกล่าว คือ 1953-1955 รุสเซียไม่มีนโยบายอันแน่วแน่ ความตึงเครียดภายในประเทศและการเมืองที่ไม่แน่นอนเป็นเครื่องกำหนดให้รุสซียต้องดำเนินนโยบายต่างประเทศในลักษณะที่อำพรางจุดอ่อนดังกล่วมิหใปนที่ปรากฎ และการดำเนินนโยบายต้องมีความระมัดระวังพอควรเพื่อมิให้พลังพลาดได้ในสามวิถีทางแห่งการมืองสัมพันธภาพกับสามฝ่าย คือ ในฐานะอภิมหาอำนาจ,ในฐานะผู้นำโลกคอมมิวนิสต์,และในฐานะที่เป็นผู้นำโลกคอมมิวนิสต์
     การเมืองโลกได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง โดยเฉพาะการชะงักงันของสงครามเย็น และพุลยภาพแห่งอำนาจชัวขณะในเอเชียและยุโรป สถานการณ์เช่นนั้นเป็นปัจจัยเสริมให้รุสเซียต้องตระหนักถึงความจริงที่ว่า สตาลินได้สร้างความตึงเครียดขึ้นดดยไม่จำเป็นหลายครั้ง อันเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อรุสเซีย
    การดำเนินนโยบาบเสียงปฏิวัติยุโรปตะวันออกให้เป็นคอมมิวนิสต์ และสนับสนุนเกาหลีเหนือให้รวมประเทศ การสร้างวิกฤติการณ์ปิดล้อมเบอร์ลิน และการสร้างศัตรูต่อตุรกี โดยเหตุแห่งปรารถนาดินแดนบางส่วนจนตุรกีตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรุสเซีย เหล่านี้ล้วนเป็ฯการดำเนินนโยบายเสี่ยงทำสงครามที่นับว่าเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรุสเซีย โดยไม่จำเป็น รุสเซยมีความมั่นคงในพรมแดนของตนทั้งในยุโรปและเอเซียอยู่แล้ว รุสเซียมีอาวุธนิวเคลียร์ คณะผู้นำรุสเซียจึงรู้สักว่า รุสเซียมีความมั่นคงในอำนาจแม้จะต้องถลำลงไปในภาวะความสับสนอันใดที่จะเดิกขึ้น อีกประการ การกำหนดนโยบายผ่อนคลายความตึงเครียดนั้นมีเหตุผลเพียงพอตามที่สตาลนได้วเคราะห์ไว้ว่า “ความขัดแย้งเข้มข้นจะรุนแรงยิ่งขึ้นในโลกเสรี เป็นโอกาสเหมาะที่รุสเซียจะสามารถรอคอยความพินาสซ่งจะบังเกิดขึ้น โดยรุศียมิต้องเผชิญหน้ากับโลกเสรีโดยตรงนโยบายผ่อนคลายความตึงเครียดจนถึงระดับที่สามารถจะทำให้โลกคอมมิวนิสต์และโลกเสรีอยู่ร่วมกันได้โดยสันติ
     สงครามเกาหลีได้พิสูจน์ให้รุสเซียเห็นว่า การปฏิวัติโลกให้เป็นคอมมิวนิสต์โดยวิธีการต่อสู้ดวยการใชกำลังอาวุธนั้นเป็นไปมิได้ เพราะโลกเสรีกำลังอำนาจทางทหารและความเป็นปึกแผ่นมั่นคงในการต่อต้าน ตลอดจนมีการแสดงนโยบายปิดล้อมรุสเซียอยางเปิดเผย อันเป็นผลมาจากสงครามเกาหลีนั้นด้วย
     ความก้าวร้าวรุกรานของฝ่ายโลกคอมมิวนิสต์ผลักดันให้โลกเสรีภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกาตัดสินจเสริมสร้างกำลังรบให้แก่ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และไต้หวัน ในเดือนพฤษภาคม 1951 สหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำในการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น แม้จะเป็นการการละเมิดข้อตกลง ของที่ประชมมหาพันธมิตรทีกรุงมอสโก ข้อตกลงแห่งยังตาและพอตสดัมก็ตาม เพราะรุสเซียและจีนซึ่งเป็นคู่ศึกกับญี่ปุ่นได้ร่วมลงนามด้วย การลงนามในสันธิสัญาสันติภาพนั้นเป็นการสิ้นสุดการยึดครองญี่ปุ่น และเริ่มต้นการสร้างญี่ปุ่นให้เป็นมหาอำนาจใหม่อีกครั้ง..

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)