WWII:Blitkrieg:Blitz

      10 พฤษภาคม 1940 เยอรมันบุกฝรั่งเศส เบลเยี่ยม เนอเธอร์แลนและลักเซมเบิรก เนเธอร์แลนด์และเบลเยี่ยมพ่ายด้วยยุทธวิธีบลิทซครีก Blitzkrieg ซึ่งเป็นการโจมตีอย่างรวดเร็วซึ่งพัฒนาขึ้นโดยชาติต่างๆ ระหว่างศตวรรษที่ 20 และนำมาใช้หลายปีกลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเยอรมนีใช้วิธีการนี้มากที่สุด บลิทซครีกที่โดเด่นในประวัติศาสตร์การทหารคือช่วงเวลาเริ่มต้นของสงคาโลกครั้งที่สอง บริซครีกของเยอรมันมีประสทิธิภาพมากในแนวรบด้านตะวันตกและในแนวรบด้านตะวันออกช่วงแรกๆ กองทัพส่วนใหญ่ไม่ทันระวังตัว และขากการป้องกันซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเยอรมัน
   รูปแบบบลิทซคลิก โดยทั่วไป คือ การใช้ความรวดเร็วมากว่าใช้ประสิทธิภาพที่เหนือกว่าและยังเป็นการใช้รูปแบบผสม หรือก็คือ การใช้ยานเกราะเคลื่อนที่เร็วร่วมกับทหารราบประสทิธิภาพของยานเกราะ การพัฒนาของการติดต่อสื่อสารรวมไปถึงการบัญชาการอย่างมีประสิทธิภาพ
     เยอรมันพยายามหลีกเลี่ยการรบซึ่งหน้าเพื่อที่จะทำลายขวัญกำลังใจ การติดต่อสื่อสารและประสทิธิภาพการตัดสินใจของข้าศึก การใช้ความสามารถในการโจมตีที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพผสมกับความไม่ทันระวังของศัตรูทำให้ศูน์บัญชาการของศัตรูปั่นป่วน
      หัวใจสำคัญของกลยุทธ์คือ กองกำลังรถถังและความสามารถด้านทัพอากาศหากศัตรูได้ระวังตัวก่อนทำให้บลิทซคลรีกล้มเหลว
  
  เบลเยี่ยมและเนเธอร์แลนพ่านแพ้ในเวลาเพียงไม่กี่วันและไม่กี่สัปดาห์ตามลำดับ
      บลิทซครีก เป็นการโจมตีกย่างรดวเร็วประกอบด้วยการทิ้งระเบิดโดยเครื่องบินรบก่อนที่จะใช้ยามเกราะบุกเข้าโจมตีอย่างรวดเร็วและสร้าคงามประหลาดใจให้แก่ฝ่ายข้าศึกทำให้ฝ่ายตั้งรับไม่มีเวลาที่จะตรียมการป้องกันใด ๆ แนววคิดบลิทซครีกนั้นถูกพัฒนาโดยชาติต่าง ๆ ระว่างศตวรรษที่ 20 และถูกนำออกมาใช้หลายปีกลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยเยอรมนีมากที่สุด เพื่อเป็นการป้องกันการทำการศึกยืดเยื้อ บลิททซครีกที่โดดเด่นในประวัติศาสตร์การทหาร คือ ช่วงเวลาเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง
      บลิทซครีกของฝ่ายเยอรมนีนั้นมีประสิทธิภาพมากในแนวรบด้านตะวันตกและในแนวรบด้านตะวันออกช่วงแรกๆ ทำให้กองทัพส่วนใหญ่ไม่ทันระวังตัว และขาดการป้องกันซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการรบของฝ่ายเยอรมนี
       รุปแบบ โดยทั่วไปของบลิทซครีก คือ การใช้ความรวดเร็วมากว่าใช้ประสิทธิภาพที่เหนือกว่าและเป็นการใช้รูปแบบการรบแบบผสม หรือก็คือ การใช้ยานเกราะเคลื่อนที่เร็วร่วมกับทหารราบปืนใหญ่และกำลังสนับสนุนทางอากาศ ยุทธวิธีดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยความเร็วในการโจมตีประสิทธิภาพของยานเกราะ การพัฒนาของการติดต่อสื่อสารรวมไปถึงการบัญชาการอย่างมีประสิทธิภาพหัวใจกลักของบลิซครีกคือการักษาความเร็วของรถถังหุ้มเกราะวึ่งสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว
       การจู่โจมโดยปฏิบัติการบลิทซ์คลีกนั้น จะต้องสร้างความหวาดกลัวใหกับฝ่ายตรงข้าม เยอรมันใช้
เสี้เสียงไซเรนเพื่อความหวาดผวาในหมู่ศัตรูด้วย ปฏิบัติการบลิทซ์ครี ต้องกการให้ศัตรูลนลานจนเกิดข้อผิดพลาด ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการป้องกันตัวเองลดลง เนื่องจากตกอยูใีความหวาดกลัวและสับสนฝ่ายเยอรมันใช้ประทโยชน์จากวิธีนี้ครั้งเข้ารุกราน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และเนเธอร์แลนด์
       บลิทซ์ครีก หรือสงครามสายฟ้าแลบเป็นแนวคิดจากนักทฤษฎีทางการทหารชาวอังกฤษช่อ ลิดเดลล์ ฮาร์ต ทีเน้นยุทธวิธีรุกแบบสายน้ำเชี่ยวซึ่งเขาพัฒนาขึ้นเพื่อใช้แทนยุทธวิธีแบบสงครามโลกครั้งที่ 1 กล่าวคือ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยที่สงครามในช่วงนั้นคือการตั้งรับในหลุ่มเพลาะอย่างเดียวทั้ง 2 ฝั่งโดยแต่ละฝ่าย มีจุดกวาดล้างคือตรงกลางระหว่างทั้ง 2 ฝั่ง มีทั้งลวดหนามที่กั้นไม่ให้มีฝ่ายใดทะลวงที่มั่นได้แต่ฝ่ายอังกฤษได้นำเสนอรถถังบุกทะลงที่ไร้เทียมทานต่อปืนกลและไรเฟิล ได้ข้ามลวดหนามและหลุมเพลาะแต่ทว่า ในช่วงนั้นรถถังอังกฤษผลิตไม่ได้มากพอก่อนสงครามจะยุติในขณะที่ฝ่ายสัมพันธมติรได้ศึกษารถถังมานานปีจึงได้รู้ประสบการณ์ของ "ความเปลี่ยนแปลง"หลังจากนันเยอรมันได้พยายามศึกษารถถังและใช้งานเทคโนโลยีนี้ให้ดีที่สุด
       ไฮนซ์ กูเดรีอัน ได้พัฒนาแนวความคิดโดยเขียนหนังสื่อชื่อ Achtung Panzer ที่เปรียบเสมือนคำทำนายการสงครามในอนาคต
      เขากล่าวถึงยุทธวิธีแบบสงครามสายฟ้าว่า ได้แก่ การใช้ขบวนยานเกราะบุกทะลวงโจมตีเป็นแนวลึกแต่แคบ ติดตามด้วยกองกำลังเคลื่อนที่เร็วซึ่งประกอบด้วยขบวนพาหนะบรรทุกทหารที่ใช้อาวุธทันสมัยแลมียุทธภัณฑ์ชั้นเยียม กองกำลังนี้จะขยายแนวโอบล้อมฝ่ายข้าศึก และกองทัพซึ่ง
ติดตามกองกำลังเคลื่อที่เร็วนี้ก็จะทำลายกำลังของฝ่ายศัตรูในที่สุด การปฏิบัติการตามแผนดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากกำลังทางอากาศ โดยใช้เครื่องบินทิ้งระเบิดจำนวนมากปฏิบัติการครอบคลุมอาณาบริเวณ การรบแบบสงครามสายฟ้าแลบจะทำให้กองทัพของฝ่ายช้าศึกตระหนกและขวัญเสียจนแตกพ่ายไป เนื่องจากไม่สามารถต่อต้านการโจมตีรวดเร็วและอาวุธที่ทันสมัยและร้ายแรงได้
      เยอรมันทดลองยุทธวิธีแบบสงครามกลางเมืองสเปน โดยใช้ปฏิบัติการทางอากาศควบคู่กับกำลังทางพื้นดินได้อย่างมีประสิทธิภาพและน่ากลัว เพราะนอกจากจะทำให้ฝ่ายกบฎสามารถยึดเมืองต่าง ๆ มาจากรัฐบาลสเปนได้แล้วยังทำให้ชาวสเปนจำนวนมากต้องล้มตายและบาดเจ็บ
      เมื่อเกิดสงครามโลครั้งที่ 2 เยอรมนีนำยุทธวิธีนี้มาใช้ในการบุกโจมตีโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แนด์ และฝรั่งเศส ซึ่งได้รับผลสำเร็จเป็นอย่างมากทั้งในแง่การวางแผนทางการทหารและการประสานงานของยุทธวิธีแบบนี้ ในการโจมตีฝรั่งเศสในยุทธการที่ฝรั่งเศส Battle of France และในการทำสงครามทะเลทรายในแอฟริกาเหนือในระยะหลังของสงคราม นายพลอเมริกาก็นำเอายุทธวิธีแบบนี้มาใช้ในการรบที่ยุโรป
       คำว่า บลิทซืครีก ในภาษาเยอรมันนี้ ต่อมาหนังสือพิมพ์อังกฤษได้ใช้ในความหมายที่ผิดไปจากเดิม คือย่อเป็นคำสั้นๆ ว่า "บลิทซ์" Blitzหมายถึงสายฟ้า คือ การที่เครื่องบินรบของฝ่ายเยอรมนีระดมท้องระเบิดเพื่อโจมตีนครลอนดอนและเมืองใหญ่ๆ ของอังกฤษอย่างรุนแรง

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)