
สเปนเซอร์ได้เข้าออกในรั่วในวัง ได้เห็นสังคมชั้นสุงความหรูหราและความยากจนข้นแค้นของราษฎร เมื่อได้ศึกษาเล่าเรียนอ่านบทกวีเก่าๆ ไปด้วยก็ย่อมจะรู้จักวิะีถ่ายทอดในเหมาะสมกับยุคสมัยตนเอง โดยเฉพาะเรื่องราวเสียดสีสังคมhttp://oknation.nationtv.tv/blog/nn1234/2012/03/11/entry-1
ผลงานที่ได้รับการยกย่อง อาทิ The Faerie Queene , fantastical allegory celebrating the Tudor dynasty, และ Elizabeth I.เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในกวีที่ย่งิที่สุดในภาษาอังกฤษ
สเปนเซอร์ได้ใช้รูปแบบบทกวีที่โดดเด่นเรียกว่า ฉันท์ สเปนเซอร์เลียน ในงานวรรณกรรมหลายๆ งานขงอเขา รวมทั้งราชินีพราย และเขายังในช้รูปแบบสัมผัสเป็น ababbcbcc และ รูปแบบโคลงขเองเขา บรรทัดสุท้ายของบรรทัดคำสั่งทั้งหมดจะเชื่อมโยงกับรรทัดแรกของบรรัดถัดไปทำให้เป็นรูปแบบ abhabbcbccdcdee
นักวิชาการได้ตั้งข้อสังเกตว่าบทกวีของเขา เป็นของเขาเองอย่างชัดเจน ซึ่งทำได้ดีกว่ากวีในสมัยที่ผ่านมา อย่าง เฝอ และโอวิด ที่พยายามจะเลียนแบบกวีโรมันโบราณ ภษากวีของเขาคือจงใจโบราณชวนให้นึกถึงผลงานของกวีทีสเปนเชอน์ชื่นชม
ราชินีพราย I - III ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1590 และถูกตีพิมพ์ซ้ำในปี ค.ศ. 1596 พร้อมกับ เล่ม IV -VI ราชินีพรายเป็นหนึ่งใบทกวีในภาษาอังกฤษท่ยาวที่สุด และเป็นรูปแบบที่รุ้จักในบท สเปนเซอร์เลียน บทกวีกล่าวถึง การตรวจสอบคุณธรรมของอัศวิน แม้ว่ามันจะเป็นหลักเปรียบเที่ยบของอัศวิน แต่สามารถตีความไปในทางสรรเสิรญได้เช่นกัน พระนางอริสเบธที่ 1 กล่าวว่าทั้งบทกวีมหากพย์คือ"Cloudily enwrapped in allegorical devises" และจุดหมายของการ ราชินีพรายคือ "สร้างความเป็นบุรุษหรือการเป็นคนชั้นสูงในระเบียบวินัยที่สุภาพอ่อนโยน"
ราชินีพราย ได้รับความโปรดปรานจาก พระนางอริสเบธที่ 1 สเปนเซอรืได้รับเงินบำนาญเป้นจำนวน 50 ปอนด์ต่อปีแม้ว่าจะไม่มีหลักฐานอื่นใดที่กล่าวว่าพระนาง อ่านกวีก็ตาม พระบรมราชูปถัมภ์นี้ช่วยให้บทกวีดังกล่าวประสบความสำเร็จในระดับที่เป็นมาตรฐานของสเปนเซอร์https://en.wikipedia.org/wiki/The_Faerie_Queene
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น