War and Peace (Leo Tolstoy)

           สงครามและสันติภาพ ของ ลีโอ ตอลตอย งานเขียนชิ้นเอกเล่มนี้เคยได้รับการถ่ายทอดเป็นภาษา
ไทยเมื่อนามาแล้วโดยพลุตรีหลวงยอดอาวุธ...
           ตังละครหลักใน "สงครามและสันติภาพ" ทั้งปแยร์, อองเตร, นาตาชา, นิโคลัย, มาเรีย มีพัฒนาการทางความคิด มีการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจในแตะละเช่วงของชีวิต แต่ละคนค้นหาความมหายของชีวิตท่ามกลางเหตุการณืต่่างๆ ที่ผ่านเข้ามา
         "ปิแยร์ เบซุฮาฟ" เป็นชายร่างอ้วนใส่แว่น จากตอนต้นเรื่องที่นับถือชมชอบนโปเลียน แลายเป็นคนที่เกลี่ยดชัวและต้องการังหารนโปเลีียน เขาเคยเป็นปัญญาชนที่ไม่เชื่อในพระเจ้า แต่จากการชักชวนของกลุ่มปรีมาซอนทำให้เปลี่ยนเป็นผุ้ศรัทธาพรเจ้า เขาพยายามเสาะหาความหมาของชีวิต และท้ายนที่สุดได้ค้นพบว่ "ชีวิตคือทุกสิ่งทุกอย่าง ชีวิตคือพระเจ้า ทุกสิ่งทุกอย่งเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนไหวกลับไปกลับมา และการเคลื่อนไหวนั้นก็ือพระเจ้า การรักชีวิตก็คือการรักพระเจ้า.."
           
 สำหรับ "อองเตร บอลกอนสกี้ เป้นหนุ่มรุปงามผุ้สูงส่ง เขาต้องการรบเืพ่อประเทศชาติ อองเตรก็เช่นเดียวกับปิแยร์ เขามัชั่วขณะของการค้นพบทางจิตวิญญาณ ในการรบที่ออสเตอร์ลิซ์ อองเตรได้รับบาดเจ็บนอนล้มลงในสนามรบ ในห้วงเวลาแห่งความเป้นความตายนั้น เมื่อเขามองไปยังท้องฟ้าเบื้องบนอันกว้างใหญ่ไพศษล จึงได้รับรู้ถึงความสุข ความสงบ แห่งอนันตภาพ" ..ทไมเราไม่เคยเห็นท้องฟ้านั้นมาก่อนเลยเล่า..เราช่างมีความสุขที่เราได้เห็นมัแล้วในที่สุด จริงสิ ตนอกจากฟ้ากฟ้าอันไร้พรมแดนนี้แล้ว ทุกสิงทุกอย่างล้วนว่างเลป่า ทุกส่ิงทุกอย่างล้วนเป้นมายามั้งส้ิน นอกจากนอกจามนแล้วก็ไม่มีอะไรเลย ไม่ไมีอะไรเลย แม้แต่ท้องฟ้าก็ไม่มีอยู ไม่มีอะไรยู่เลยนอกจากความสงบ ความเงียบงัน ขอบคุณพระเจ้า"..
            นางเองของเรื่อง "นาตาชา รอสตอฟ๐ เป้นตัวละครที่น่ารักมีชีวิตชีวา ในวัยเยาว์เธอชอบบอริส แต่ไม่สมหวัง เนื่องจากฝ่ายชายต้องการความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ต่อมาเธอมีความรักกับอองเตร แต่เมื่อเขาไม่อยู่ ธอเร่ิมีใจให้กดับอนาโตล คูรากิน จนะมื่อเรื่องราวดำเนินไปถึงช่วงท้าย เธอจึงได้ลงเอยอย่างมีความสุขกับปิแยร์
            ตอนท้ายของหนังสือเป็นส่วนที่น่าประทับใจมาก หลังจากเหตุการณ์ในปี 1812 ผ่านไป 7 ปี ตอ
ลสตอยเขียนถึงตัวละครหลักต่าง ๆ ที่ยังมีชีวิตอยุ่ นิโคลัยทำงานของตัวละครต่างๆ ที่เจะกิดขึ้นตามมา
            ตอลสตอยใช้ภาษาฝรั่งเศสหลายแห่งในหนังือเล่มมนี้ เขาต้องกา "แฝงนัย" ด้วยการใช้คำ ภาษางรั่งเศสใน "สงครามและสันติภาพ " สะท้อนถึงความไม่จริงใจ ไม่ซื่อตรง ในขณะที่ภาษารัศเซียเป้นตัวแทนของความเรียบง่ายตรงไปตรงมา ตอนที่ปิแยร์บอกกับเอเเลนว่า "ผมรักคุณ" ตอลสตอยให้ปิแผยร์พูดเป็นภาษาฝรั่งเศส เพราะต้องการสะท้อนถึงตัวปิแยร์ที่ไม่ได้มีเอแลนอยู่ในหัวใจ ในฉบับแปลภาษาไทยของคุรวิภาดา ได้แปลคำศัพท์ฝรั่งเศสเป็นไทยโดยเน้นตัวอักษรเป็นเอน...http://www.rusciscenter.tu.ac.th/index.php/2012-03-27-09-50-44/2012-04-02-04-40-54/2012-04-02-04-41-55/2-uncategorised/106-war-and-peace
             เลโอ ตอลสตอย หรืเชื่อเต็มว่า เคานต์ เลฟ นิโคลาเยวิช ตอลสตอย นักเขชียนชาวรัสเซีย ผุ้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวรัสเซียในศตวรรษที่ 19 ประกอบด้วยตัวละครมากหน้าหลายตา และเหตุการณ์ที่หลากหลาย มีผลงานที่เป้นรู้จักกันดีเช่น สงครามและสันติภาพ และ อันนา คาเรนินาhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%AD_%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A2
           
 วณณคดีรัสเซียได้รเริ่มต้นขึ้นในยุคกลาง (คริสต์ศตวรรษที่ 10 ) กล่าวคือ ในช่วง 50 ป หลังากที่คริสต์ศาสนานิกายกรีกออร์โธดอกซ์ ได้เข้ามาเผยแพร่ในรัสเซีย ซึ่งก็เป็นผลสืบเนื่องมาจากการประดิษฐ์อักษร และภาษาเชียนภาษารัสเซียขึ้นเป็นครั้งแร ดดยนักบวชชาวกรีก ๒ คน นักบุญคีริล และนักบุญเมโธดิอัส ในปี คซศ. 988 งานวรรกรรมในยุคแรกเป็นงานเขียนของนักบวช ซึ่งเป็นเรื่องราวทางศาสนา และไม่ได้ระบุชัดว่าเขียนขึ้นในปี ค.ศ.ใด วรรณกรรมชิ้นแรกของรัศเวียที่ปรากฎเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ "กาพย์เกี่ยวกับการศึกของเจ้าชายอีกอร์ เป็นกาพย์ที่เชิดชูวีกรรมของเจ้าชายอีกอร์ และเหล่าทหารที่แต่งโดยนักปราชญ์ที่ไม่ปรากฎนาม คาดว่าได้ประพันธ์ไว้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 12 วรรกรรมเรื่องนี้จัดว่าเป็นวรรณกรรมที่ดีที่สุดเรื่องหนึ่งของยุโรปในยุคกลาง
            หลังจากที่รัสเซียนได้ปลดปล่อยตนเองให้เป้นอิสระจากมองโกลแล้ว ในรัชสมัยอีวานผุ้โหดร้าย ได้มีการประพันธ์หนังสือ"การจัดการครอบครัว" ขึ้นโดย ซีลเวสเตอร์ นักบวชที่มีบทบาท และอิทธพลสูงสุดในขณะนั้น (เป็นที่ปรึกษาของซาร์) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการครอบครัวในสังคมที่เพศชายมีอำนาจสุงสุด ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงสังคมและวัฒนธรรมของรัสเซียในช่วงนั้นได้เป็นอย่างดี
           วรรณกรรมที่โดเด่นของรัสเซียในยุคต่อมาเร่ิมขึ้นในรัชสมัยของคัทรีมหาราชินี ในยุคดังกล่าววรรณกรรมรัสเซียนได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมของเยอรมัน อังกฤษ และฝรั่งเศ เนื่องจากกระแสอารยธรรมตะวันตกที่เริ่มเข้ามาในช่วงตอนต้นศตวรรษ ได้ไหลบ่าเข้าท่วมกระแสอารยธรรมรัสเซียดังเดิมในสังคมชั้นสูงจนแทบหมดสิ้น ซึ่งก็สืบเนื่องมาจากนโยบายเปิดประเทศรับชาวตะวันตกของพระนางคันทรีน และพระนางก็เป็นชาวเยอรมันโดยกำเนิ นิโคลัย โนวิกอฟ ซึ่งเป็นบรรณาธิการวารสารแนวเสียดสีสังคมดดยทั่วไป ในขณะนั้น ได้วิพากษ์วิจาร์ และเสียดสีระบบการปกครองและนโยลบายของพระนางคันทรีน จนวารสารพถุสั่งปิด และถุกจองจำ หลังจากนั้นคัทรีมหาราชินี ยังได้สั่งเนเทส อาเล็กซานเดอร์ ราดีเชฟ เจ้าของบทประพัธ์ที่กำหนิระบบการปกครองของพระนาง ที่มีนโยบายที่ดีกับต่างชาติและชั้นสูง โดยไม่ได้ใส่ใจกับชาวนาผุ้ยากจน ซึ่งเป้นคนส่วนใหญ่ของประเทศที่มีชื่อเรื่องว่า "การเดินทางจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กถึงมอสโก"
          จากการกระทดังกล่าว ได้กลายเป็นจุดเร่ิทมต้นของการรวมตัวของปัญญาชน ที่ไม่เห็นด้วยกับระบบและการกระทำของพระนาง ก่อตั้งกลุ่มที่มีแนวความคิดที่จะปฏิวัติล้มล้างสภาบันและรบบการปกครอง...http://www.rusciscenter.tu.ac.th/index.php/2012-03-27-09-50-44/2012-04-02-04-40-54/2012-04-02-04-42-21
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)