ขาวโรมัน เขามีบทบาทสำคัญในเหตุกาณ์อันำไปสู่การสิ้นสุดสาธารณรัฐโรมันและความเจริญของจักรวรรดิโรมัน
ใน 60 ปี ก่อน ค.ศ. ซีซาร์, กรัสซุส และพอมพีย์ ตั้งพันธมิตรทางการเมือง ซึ่งจะครอบ
งำทางการเมืองโรมันไปอีกลายปี ความพยายมของพวกเขาในกสั่งสมอำนาจผ่านยุทธวิะีประชานิยม ถุกชนชั้นปกครองอนุรักษนิยมในวุฒิสภาโรมันคัดค้าน ซึ่งในบรรดานั้นมี กาโตผุ้เยา(Cato the Younger) ร่วมด้วย
ด้วยการสนับสนุนบ่อยครั้งของ กิแกโร "มาร์กุส ตุลลิอุส กิแกโร นักปรัชญา รัฐบุรษ นักกฎหมาย นักทฤษฎีการเมือง และนักนิยมรัฐธรรมนูญชาวโรมันโบราณ เขาเกิดในตระกุลขุนางอันมั้งคั้งในตำแหน่งขุนคลัง เป็นที่รู้จักแพร่หลายในฐานะนักพูดและกวีทีมีชื่อเสียงที่สุดของโรมันทำให้ ซีซาร สามารมขยายดินแดนโรมันไปถึงช่องแคบอังกฤษ และแม่น้ำไรน์ ซีซาร์เป็นแม่ทัพโรมันคนแรกที่ข้ามทั้งสองฝั่งเมื่อเขาสร้างสะพานข้ามแม่น้ำไรน์และบุกครองบริเตนครั้งแรก
แม้ซีซาร์พรรณนาการบุครองนี้ว่าเป้ฯการปฏิบัติตัดหน้าข้อศึก แต่นัประวัติศสตร์ส่วนใหย่ตกลงกันว่าสงครามนี้ส่วนใหญ่ต่อสู้เพื่อส่งเสริมอาชีพทางการเมืองของซีซาร์และจ่ายหนี้สินมหาศาลของเขา กระนั้น สงครามกอลยังเมีความสำคัญทางทหารอย่างมากต่อชาวโรมัน เพราะโรมันถุกชนเผ่าพื้นเมืองทั้งที่อาศัยอยู่ในกอลแะหนือไปกว่านั้นโจมตีหลายครั้ง การพิชิตกอลทำให้โรมันควบคุมแม่น้ำไรน์ ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติ จูเลียส ซีซาร์อธบายไว้ในหังสือ "ความเห็นต่อสงครามกอล"..https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%AA_%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C
หนึ่งในงานเขียนสำคัญที่มีอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์การทหารสมัยดรมันคือ "ความคิดเห็นต่อสงครามกอล Commentarii de Bello Gallico กับ "ความคิดเห็นต่อสงครามกลางเมือง Commentarii de Bello Civiliที่เขียน โดยแม่ทัพและรัฐบุรุษของสาธารณับโรมัน จูเลียส ซีซาร์ งานเขียนทั้งสองนี้เป็นผลงานชิ้นสำคัญที่เขาเขียนขึ้น เพื่อยกย่องความสามารถของตัวเขาเองว่า มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะขึ้นเป็นผุ้ปกครองโรมเหนือคู่แข่งทางการเมือง คนอื่นๆ วึ่งซีซาร์ได้แสดงถึงการเป็นนักเขียนที่มีความสามารถเท่าๆ กับเป็นผุ้บัญชาการทหาร และลักษณะงานเขียนของเขากลายเป็นแบบอย่างของงานเขียนประวัติศาสตร์การทหารในสมยศตวรรษที่ 19
ด้วยวัตถประสงค์ของงานเขียนที่หวังผลทางการเมือง เนื้อหาในงานเขียนของซีซาร์ย่อมีลักษณะเชิดชูความสามารถของเขาและลทบาทในสงครามที่เขาเป็นผุ้บัญชาการโดยอ้งความเป็นhttp://kamiuzg.blogspot.com/2015/02/normal-0-false-false-false-en-us-x-none.html
เจ้าของความสำเร็จในการวิเคราะห์เหตุการณ์ในสมารภูมิอย่างเยือกเย็น กระนั้นเหตุการณ์ที่เขาบันทึกเป็นข้อเท็ํจจริงที่เกิดขึ้น ลักษณะการเขียนของซีซาร์จะใช้วิะีการบรรยายการดำเนินสงครามและการเล่าเรื่องสมรภูมิตามรูปแบบของกรีก แตงานเขียนของเขามีความแตกต่างจากของ ธูซิดิเอด และ เซโนฟอน ที่มองบุคลากรในกองทัพและจิตวิทยาของมวลขนเป็นส่ิงขับเคลื่อนสงคราม ซึซาร์มอง่า สงครามเป็นศาสตร์ที่ใช้ความรุ้ความสามารถของผุ้บั๙าการในการชับเคลื่อนและกำหนดทิศทางขณะที่เหล่าทหารในสนามรบเป็นหุ่นที่ำทหน้าที่ตามแผนอันเฉลียวฉลาดของผุ้บัญชาการ(แม้ซีซาร์จะให้การยอย่องทหารที่ทำหน้าที่ได้สมวีรบุรุษก็ตาม) ซึ่งมอมองดังกล่าวนี้ทำให้เกิดมุมองในการเขียนประวัติศาสตร์การทหารที่ให้ความสำคัต่อศาสตร์การบัญชากองทัีพ หรือจะเรียกว่า "ประวัติศาศตร์ของผุ้นำทางทหารผุ้ยิ่งใหญ่"
ความสำเร็จจากการบุคครองบริเตน และความสำเร็จจากสงครามกอลทำให้เขามีอำนาจทางทหารซึ่งไม่มีผุ้ใดเทียม และคุกคามฐานะของพอมพีย์ซึ่งเปลี่ยนไปเข้ากับวุฒิสภา หลังกรัสซุสเสียชีวิตใน 53 ปี ก่อน ค.ศ. เมื่อสงครามกอลยุติ วุฒิสภาสั่งซีซาร์ให้ลงจากตำแหน่งบังคัฐบัญชาทหารของเขาและกลังกรุงโรม ซีซาร์ปฏิเสธคำสั่งนั้น และใน 49 ปี ก่อน ค.ศ. เขาทำการบข้ามแม่น้ำรุบิโก ซึ่งเป็นแม่น้ำตื้นๆ ทางตะวันออกเฉียเหนือของประเทศอิตาลี ยาวปรมาณ 80 กิโลเมตร ทอดยาวจากเทือกเขาแอเพนไนน์ไปจนถึงทะเลเอเดรียติก.. ทำให้เกิดสำนวน "ข้าแม่น้ำูบิคอน" ซึ่งแปลว่า ผ่านจุดที่ไม่มีทางหวนกลับ และหมายถึง การประกาศสงครามของจูเลียส เนื่องจากเส้นทางการไหลของแม้น้ำได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากนับตั้งแต่นั้น จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะยืนยันอย่างชัดเจนว่าแม่น้ำรูบิคอนมีเส้นทางการไหลอย่างไรเมือซีซาร์และกองทหารลีเจียของเขาข้ามแม้น้ำนั้น
หลังการต่สูทางการเมือง การทหารนานสีปี ซึ่งสุ้รบกันใน อิตาลี อัลเบเนีย กรีซ อียิต์ แปฟริกา และฮิสปาเนีย ซีซาร์ก็เป็นฝ่ายได้รับชัยชนะ และกลายเป็นผุ้เผด็จการตลอดชีพแห่งโรม การเปลี่ยนแปลงการปกครองโรมันที่เกิดขึ้นพร้อมกับสงครามส่วนใหญ่กำจัดประเพณีทางการเมืองของสาธารณรับโรมัน และนำไปสู่จักรวรรดิโรมันในที่สุด...https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%AA_%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น