เทพีดิมิเทอร์
ซุส เทพปริณายก มีเทวีภคินี 3 องค์ ในจำนวนนี้ 2 องค์เป็นคู้พิศวาสของซุสด้ยองค์หน่งคือเจ้าเแม่ฮีรา ที่เราได้รู้จักกันมาแล้ว อีกองค์รงนามว่า ซิริส เป็นเทวีครองข้าวโพด ซึงหมายถึงการเกษตรกรมนี่นเอง
เจ้าแม่ดิมิเทอร์มีธิดาองค์หน่งทรงนมววา พรอสเซอร์พิน หรือ เพอร์เซโฟนี เป็ฯเทวีครองฤดูผลิตผลของพิชทั้้งปวง เพื่ออธิบายธรรมชติของการผลิตฤดู กวีกรีกโบราณจึงผูกเรื่อง ให้เทวีองค์นี้ถุกฮาเดสลักพาตัวไปเป็นคู่ครองในยมโลก
ดังมีเรื่องพิสดารดงี้ ฮาเดสปกครองยมโลกอยู่นเดียว โดเดียวไร้คู้ปฏิพัทธ์มาเป็นเวลานาน หามีเวีองค์ใดไยดี ที่จะ่องเทวบัลลังก์ กํบเธอ เทวีแต่ละองค์ที่เธอทอดเสน่หา แต่ละองค์ก็ไม่สมัครรักใคร่ ด้วยไม่ปรารถนาจะลงไปอยู่ในใต้หล้าแดนบาดาล อันดวงสุริยาไม่สามารถทอแสงลงไปถึง ทำให้เธอมึนตึงหมางหทัยนัก ในที่สุดจึงต้องตั้งปณธานจะไม่ทอดเสน่อหาใครอีกเป็น อันขาด หากปฏิพนะ์สวาทกับใคร ก็จะฉุดคร่พาเอาลงไปบาดาล
วันหนึ่งเพอร์เซโฟนีพร้อมเพื่อเล่นทั้งมวลชวนกันลงเที่ยวสวนดอกไม้ เท่ยวเด็ดดอกไม้อนจรุงกลิ่น สอดสร้าย ร้อยมาลัยอยุ่เป็นที่สำราฐ บังเอิญฮาเดอส ขึ้บรถทรงเล่นผ่านมาทงนั้น ได้ยินสรวลสรรหารรษาร่างเริงระคลเสียงขับร้องของ เห่านางอัปสรสาวสวรรค์ลอยมา เธอจึงหยุดรถทรง ลงไปเยี่ยมมองทางของสุม ุมพุ่มไม้ ครั้งพบเทวีรุ่นและคราฐทรงโฉมวิลาสวิไลให้นึกรัก จะเอาไปไว้ในยมโฃกจึงก้าวกระชางชิงอุ้มเพอร์เซโฟนีเทวีขึ้นรถไปในทันที
ฮาเดสขับรถเร่งไปจนถึงแม้น้ำ ไซเอนี ซึ่งขวางหน้าอยู่เห็นน้ำในแม่น้ำเกิดป่วนพล่านแผ่ ขยายท่วมท้นตลิ่งสกัดกั้นเธอเอาไว้ จึงชักรถไปทางอื่นใช้มือถือคู่หัตถ์มีง่าม 2 แฉก กระแทกกระทุ้งแผ่นดินให้แยกออก เป็นช่อง แล้วขับรถลงไปยังบาดาล ในขณะเดียวกันนั้น เพอร์เซโฟนีแก้สายรัดองค์ขวางลงในแม่น้ำ ไซเอนี พลง ร้องบอกนากอัปสรประจำแม่น้ำให้เอาไปถวายเจ้าแม่ดิมิเตอร์ ผุ้มารดาด้วย
ฝ่ายดิมีเตอร์ แม่โพสก กลับมาจากทุ่งข้าวโพด ไม่เห็นธิดา เท่ยวเพรียกหาก็ไม่พานพบวีแววอันใด เว้นแ่ ดอกไม่ตกเรียราดกลาดเหลื่อนอยู่ เจ้ามแม่เที่ยวหา กระเซอะกระเซิงไปตามท่ต่างๆ พลางกู่เรียกไปจนเวลาเย็นใให้อาดู โทมนัสนัก ล่วงเข้าราตรีกาลเจ้าแม่ก็ไม่หยุดพักการเสาะหาธิดา จนถึงุ่งอรุรของวันใหม่ แม้กระนั้นเจ้าแม่ก็ไม่ลดละ ความพยายาม คงดั้นด้นเรียกหาธิดาไปตามทางอีก มิไ้ห่วงถึงกภาระหน้าที่ประจำที่เคยปฏิบัติแต่อย่างใด ดอกไม้ท้งปวง จึงเหียวเฉา เพราะขาดฝนชะโฃเลี้ยง ติณชาาติตายเกลี้ยงไม่เหลือเลย พืชพันะ์ธัญญาหารถูกแดดแผดเผาซบเซาหมด ในที่สุดเจ้าแม่ก็สิ้งหวังระทดระทวยหย่อนองค์ลงนั่งพักที่ริมทางใกลนครอิลูสิส ความระทมประกังขึ้นมาสุดที่จะหักห้าม แเจ้าแม่ก็ซบพักตร์ กันแสงให้ตามลำพัง
ในระหว่างที่ยังไม่พบธิดานี้ มีเรื่องแทรกเกี่ยวกับเจ้าแม่ดิมิเตอร์เกิดขึ้นเรื่องหนึ่งสมควรจะเล่าไว้เสียด้วย เพื่อมิให้ผุ้หนึ่งผุ้ใดรู้จัก เจ้าแม่ดิมิเตอร์ได้จำแลงองค์เป็นยายาแก่ ในขณะที่เจ้าแม่นั่งพัก พวกธิดาของเจ้านค อีลูสิสรูว่ายายแก่มานั่่งคร่ำควรญคิดถึงลูก บังเกิดความสังเวชสงสร แลเพื่อที่จะให้ยายหายโศกเศร้านางเหล่านั้นจึงวน ยายแก่เข้าไปในวังให้ดุแลกุมาร ทริปโทลีมัส ผุ้น้ำง ซึ่งยังเป็นทารกแบเบาะอยู่
เจ้าแม่ดิมเิตอร์ยอมรับภาระนี้ พอลูบคลำโอบอุ้มทารก ทารกก็เปล่งปลั่งมนวลขึ้นเป็นที่อัศจรย์แก่เจ้านครและบริษัท บริวารย่งินัก ตกกลางคืนขณะที่เจ้าแม้อยุ่ตาลำพังกับทารก เจ้าแ่คิดใคร่จะให้ารกได้ทิยภาพเป็นอมรตัยบุคคล จึงเอา น้ำต้อยเกสร ดอกไม้ชะโลมทารกพางท่องบทสังวัธยายมต์ แล้ววางทารกลงบนถ่นไฟอนเร่าร้อน เืพ่อให้ไฟลามเลียเผา ผลญธาตุมฤตยู ที่ยังเหลืออยุ่ในกายทารกให้หมดสิ้น
ฝ่ายนางพญาของเจ้านคร ยังไม่ว่างในยากแก่นัก คอยย่องเข้าไปในห้องเพื่อคอยดู ประจบกบตอนเจ้าแม่ดีมิเตอร์ กำลังทำพิธีชุบทารกอยู่อพดี นางตกใจนักหวีดร้องเสียงหลง พลางถลับเข้าฉวยบุตรออกจากไฟ ครั้นเห็นบุตรสุดสวาทไม่เป็นอัตรายแล้ว จึงหันกลับมาจะไล่เบี้ยเอากับยายแก่เสียให้สามสมกับความโกรธแค้น แต่แทนที่จะเห็นยายแก่ หลับเห็น รูปเทวีประกอบด้วยรัศมีเรื่องรองอยุ่ตรงหน้า เจ้าแม่ตรัสพ้อนองพญาโดยสุภาพ ในการที่เข้าไปขัดขวางการพิธีเสีย ทำให้มนต์เสื่อมและชุบทารกอีกไม่ได้ แล้วเจ้าแม่ดีมิเตอร์ก็ออกจากเมืองอีลูสิสเที่ยวหาธิดาต่อไป
วันหนึ่งเจ้าแม่ดีมิเตอร์พเนจรเลียบฝังแม่น้ำอยู พลันได้ประสบวัตถุแวววาวส่ิงหนึ่งอยู่แทบบาท เจ้าหม่จำ้ได้ ทันที่ว่าเป็นวาลรัดองค์ของธิดา คือสายรัดงค์ที่เพอร์เซโฟนี ท้ิงฝากนางอัปสรแ่่งแม่น้ำไซเอนีไว้ เมื่อตอนรถทรงของฮาเดส จะลงสูบาดาล เจ้าแมได้ของสิ่งนี้ยินดียิ่งนัก แสดงว่าธิดาอยู่ใกล้ที่นั้น จึงรีบดำเนินไปจนถึงน้ำพุแก้วแห่งหนึ่ง รุ้สึกเมื่อยล้า จึงลงพักทอดองค์ตามสบาย พอู้สกเคล้ิมจะหลับบ เสียงน้ำพุก็ฟ่องเฟื่องยิ่งขึ้นเหมือนเสียงพูดพึมพำ ใที่สุดเจ้าแม้ก็นับความได้ว่า เป็นความบอกปะวัติของตนในเจ้าสดับฟัง และต้องการจะแจ้งข่าวของิดาเจ้าแม่ว่าเป็นประการใด น้ำพุเล่าประวัติ ของตนเองว่ เดิมตนเป็นสางอัปสรชื่อว่า แอรธุสะ บริวารของเทวี อาร์เดมิส วันหนึ่งลง อาบน้ำในแม่น้ำ แอฟิอัส เทพหประจำน่านน้ำนั้นหลงรั แตนางไม่ไยดีด้วยจึงหนีไป ส่วนเทพนั้นก็ ติดตามไม่ลดละ นางหนีเตลิดข้ามแขาไปตลอดแว่นแคว้น ซ้ำฝ่านแดนบาดาลไปตลอดอาณาเขตของฮาเดส ได้เห็น เพอร์เซโฟนีประทับบัลลัก์อาสน์อยุ่ในที่ราชินีแห่งยมโลก ครั้งกลับขึ้นมาอ่อนแรงเห็นไม่พ้เทพแอลฟีอัสนางเสียงบุญ อะิษฐานยึดเอาเจ้าแม่ของนางเป็นที่พึ่ง เทวีเดียนาจึงโปรดบันดาลให้นางกลายเป็นน้ำพุอยุ่ ณ ที่นี้น
เมื่อได้รู้ถึงที่อยุ่ของธิดาดังนี้แล้ว เจ้าแม่ดีมิเตอร์จึงรีบไปอ้อนวอนเทพปริณายกให้ช่วย ซุส อนุโลมตามคำวอนของ โดยมเงื่อนไขว่า ถ้าเพอร์เซโฟนีไม่ได้เสพเสวยสิ่งใดในระหว่างที่อยุ่บาดาล จะให้ฮาเดสส่งเพอร์เซโฟนีขึนมาอยุ่กับมารดา แล้วมีเทวบัญชาให้ เฮร์มีสลงไปสื่อสารแก่ฮาเดสในยมโลก เจ้าแดนบาดาลจำต้งอยอมโอนอ่นจะส่งเพอร์เซโฟนี้คือสู่ เจ้าแม่ดิมิเตอร์ แต่นขณะนั้นภูตครองความมือเรียกว่า แอสกัลละฟัส ร้องประกาศขึ้นว่า ราชินีแห่ง ยมโลกได้เสวยเมล็ดทับทิมแล้ว 6 เมล็ด ในที่สุดจึงตกลงกันเป็นยุติว่า ในปีหนึ่งๆ ให้เพอร์เซโฟนีเทวีอยู่กับฮาเดสในยมโลก 6 เดือน สำหรับทับทิมที่เสวยเมล็ดละเดือน และให้กลับขึึ้นมาอยุ่กับมารดาบนพิภพอีก 6 เดือน สลับกันอยู่ทุกปีไป ด้วยเหตุนี้เมือ่เพอร์เซโฟนีเทวีอยู่กับมารดา ดลกจึงอยุ่ในระยะกาลของวสันตฤดู พืชพนะธัญญาหารนานาชนิดผลิดอก ออกผล และเมื่อเพอร์เซโฟนีเทวีลงไปอยุ่ในบาดาล โลกก็ตกอยู่ในระยะกาลของเหมันตฤดู พืชผลท้งปวงร่วงหล่นซบเซา อันเป็นความเชื้อของชาวกรีก และโรมันโลราณ ตามเรื่องที่เล่ามาฉะนี้
มีเร่องเล่าต่อมาว่า เจ้าแม่ดีมิเตอร์พบธิดาแล้ว ก็กลับไปยังเมืองอีลูสิสอีก เพราะว่าเจ้า ครองนครกับางพญาปลุกวิหารภวายเจ้าแมไว้ที่นั้น เพื่อให้มนุษย์รู้จักการทำไร่ -ถนา เจ้าแม่ได้ังสอน ทริปโทลีมัน ซึ่งเติบโตเจริญวัยเป็นผุ้ใหญ่แล้ว ใหู้้จักใช้ไถ จอบ และเคียว สังสอนชาวนาสืบๆ กันาจตราบเท่าบันนี้...https://sites.google.com/site/chattarikajomfoo/xarythrrm-krik-
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น