Foot ball Fan club

          แฟนคลับ คือกลุ่มคนที่คลั่งไคลหรืออุทิสตนให้กับบุคคล กลุ่มแนวความคิด หรือในบางครั้งกับสิ่งไม่มีชีวิต (เช่น อาคารที่มีชื่อเสียง) แฟนคลับส่วนใหญ่จะทุ่มเทเวลาและสิ่งของเพื่อสนับสนุน ในบางครั้งจะมีการตั้งแฟนคลับอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินการร่วมกับกลุ่มหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับสิงที่ชื่นชอบโดยตรง แฟนคลับส่วนใหญ่จะเป็นนักแสดง ดารา นักร้อง ทีมฟุตบอบ เป็นต้น..
          ด้านดีของแฟนคลับ คือ ช่วยให้มีเืพ่อมีสังคมใหม่ ที่ข่วยเหลือซึ่งกันและกัน ช่วยในกปลดปล่อยอารมณ์ และช่วยนำไปสู่การทำกิจกรรมดีๆ สร้างสรรค์สังคม เป้ฯการใช้เวลาที่คุ้มค่า ส่วนในด้ารลบ เช่น การจัดสรรเวลาไม่เหมาะสม เสียการเรียน การงาน ใช้จ่ายเกินตัว อาจมีการวมตัวเป็นกลุ่มศัตรู คู่แข่งจำนไปสู่การทะเละวิวาท
         คำว่า "แฟน" (fan) น้้นเรียกกันกว้างๆ ว่าแฟนศึกษา (fan studies) ซึ่่งงานศึกษาใจนลักษณะดังกล่าวจำนวนหนึ่งมีจุดมุ่งหมายที่จะบลตราบาปที่แต่เดิม คำว่า "แฟน" มักจะถูกมองว่าเป็นพวกคลั่งไคล้-ไร้เหตุผล เดิมคำว่า fan มาจากคำว่า fanatic ซึ่งมีรากมาจากภาษาลาตินว่า fanaticus ซึ่งหมายถึงการเป็นส่วนหนึ่งของวัด ผุ้อุทิศตนให้กับวัด หรือสาวก ทำให้คำนี้ถูกตีความไปในแง่ลยว่าเป็นผุ้ที่ถูกชักจูงไปโดยพิธีกรรมอันเกี่ยวกับความมัวเมาลุ่มหลงและความสรัทธาอยางบ้าคลั่ง คำว่า "แฟน" ถึกนำมาใช้ครั้งแรกในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 จากนักข่าวที่กล่าวถึงกลุ่มผุ้คลังไคล้ในทีมกีฬาต่าง ๆ โดยเฉพาะเบสบอลอาชีพ ในช่วงที่มีความเปลี่ยนแปลงจากแฟนที่เคยเป็นผู้ที่มีส่่วนร่วมและมีอิทะิพลกับสโใสรได้กลายเป็นเพียงแค่ผู้ชมที่ถูกมองว่าไม่มีส่วนร่วม
        มีผุ้เสนอว่า "แฟน" เป็นเครื่องสะท้อนการบริโภคและวัฒนธรรมสมัยนิยม ลักาณะประการหนึ่งของแฟนที่สำคัญ คือมิติของการเป็นผุ้บริโภค ในการศึกาามิติทางการบริโภคของแฟนนั้น
        ในปี 1992 มีผุ้พัฒนาการศึกษามนุษย์ในฐานะผุ้ปฏิบัติการตามแนวคิด เรื่อง "การฉกฉวย" แนวคิดนี้เสนอให้มองความสัมพันะ์เชิงอำนาจระหวางผู้เขียน-ผุ้อ่าน ที่อำนาจของผุ้เขียนไม่สามารถควบคุมลักษระและความหมายในการอ่านของผุ้อ่านได้ทั้งหมด แต่การตีความและการทำความเข้าใจต่อตัวบทนั้นได้ให้อำนาจส่วนหนึ่งแก่ผุ้อ่นมาด้วย ซึ่งมีผุ้พัฒนาต่อไปอีกว่า เพียงแค่นี้ยังไม่เพียงพอต่อการศึกษา "แฟน" ผุ้รับสื่อ เพราะอำนาจในการตีความของผุ้อ่านและอำนาจของผู้เขียนนั้น เป็นอำนาจในคนละแบบกัน เขาเสนอว่า ให้มองในลักษณะเดียวกันกับความสัมพันธ์ระหว่าวชาวนา กับเจ้าที่ดิน ซึ่งชาวนามีเครื่องมือต่อรองสำคัญต่อเจ้าที่ดินคือการรวมกลุ่มทำให้มีอำนาจต่อรองมากขึ้นกว่าแค่การตีความ ในแง่นี้แล้วก็คือ การมองถึงศักยภาพมนการตีความของ "แฟน" ที่มีต่อตัวบท และศักยภาพของแฟนในการรวมกลุ่มกัน เป็น "ชุมชนแฟน" มีอำนาจต่อรองกับผู้ผลิต ซึ่งชี้ให้เห็นการบริโภค ที่ชี้ให้เห็นว่่า "การบริโภคสินค้าดั้งเดิม นั้นไม่ใช่จุดสิ้นสุด แต่เป็นจุดเร่ิมต้นในกระบวนการบริโภค" และการใส่ใจพิจารณากระบวนการบริโภคนี้สามารถที่จะทำให้เห็นบทบาทอื่นๆ ของแฟนนอกจากการเป็นผุ้บริโภคเพียงอย่างเดียว รวมไปถึงรูปแบบการบริโภคใหม่ๆ นอกจากตคัวสินค้าดั้งเดิมได้...บางส่วนจาก "แฟนบอลมันมีอะไรมากกว่าดูบอล : ปฏิบัติการสร้างวัฒนธรรมของการมีส่วนร่วมของแฟนสโมสรฟุตบอลไทย. โดย อาจินต์ ทองอยู่คง.
          ต่อไปนี้เป็น 5 อันดับทีมสโมสรยุโรปที่มีแฟนบอลมากที่สุด (พ.ศ.2559)
          อันดับ 5 อาร์เซนอล

           ยอดผุ้ติดตามสื่อออนไลน์ 41.5 ล้าน (facebook&twitter)
           ยอดผุ้ชมผ่านทีวี ประมาณ 29 ล้านต่อฤดูกาล (นับเฉพาะในอังกฤษเท่านั้น)
           ยอดขายเสื้อบอล ขายได้ 850,000 ตัว ในปี 2015
           สปอนเซอร์ Puma 30 ล้านปอนด์ต่อปี Fly Emirates 30 ล้านปอนด์ต่อปี (รวมถึงสิทธิตั้งชือสนาม)
            อาร์เซนอลเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพภายใต้การคุมทีมของเวนเกอร์ และพวกเขาเหมือนจะได้แชมป์มาตลอด 10 ปี แต่พวกเขาก็ไม่สามารถทำได้ ยอดผู้ติดตามในโลกออนไลน์ของอาร์เซนอล นับได้ได้ประมาณ 42 ล้านซึ่งเป็นจำนวนที่ดีมาก พวกเขาเป็นรองแต่แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดเท่านั้น

            อันดับ 4 เชลซี

                   ยอดผู้ติดตามสือออนไลน์ 50 ล้าน (เฟสบุคและทวิตเตอร์)
                   ยอดขายเสื้อ 900,000 ตัวในปี 2015
                   สปอนเซอร์ อาดิดาส 30 ล้านปอนด์ต่อปี โยโกฮาม่า ทีรส 40 ล้านปอนด์ต่อปี และยังมีสปอนเซอร์จากรัสเซียและเอเชียอีกมากมาย
                   ใน 10-12 ปีมานี้ นับตั้งแต่โรมัน อับราโมวิช ได้เข้ามาซื้อเชลซี ทีมของเขาก็ได้เติบโตเป็นทีมยักษ์ใหญ่ของอังกฤษตั้งแต่ปี 2004 เชลซีได้คว้าแชมป์พรีเมียร์ ลีก 3 ครั้ง รวมถึงถ้วยแชมป์เปียนส์ลีก ยูโรป้า ลีก และถ้วยในประเทศอีกด้วย ความนิยมของพวกเขาก็เพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ
               
                  อันดับ 3 เอฟซี บาร์เซโลน่า

                      ผู้ติดตามสื่อออนไลน์ 100 ล้าน (เฟสบุคและทวิตเตอร์)
                      ยอดผู้ชม่ผ่านที่วี บาร์เซโลน่ามีช่องทีวีเป็นของตนเอง ซึ่งถ่ายทอดทั่วโลก
                      ยอดขายเสื้อบอล ประมาณ 1 ล้านตัวในปี 2015
                      สปอนเซอร์ ไนกี้ 28 ล้านปอนด์ต่อปี ควอต้า แอร์ไลน์ 27 ล้านปอนด์ต่อปี และสปอนเซอร์อื่นๆ อีกมากมาย บาร์เซโลน่าเป็นสโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดใน 10 ปีที่ผ่านมา คว้าแชมป์ีลีกมา 3 ครั้งและครองตำแหน่งเต็งใน ลาลีก้า ลีก มาตลอด ในปีที่ผ่านมาเขาสามารถคว้าแขมป์ถ้วยแชมป์ เปียนส์ลีก, ลาลีก้า สเปน และโคป้า เอ เลย์ มาครองได้ รวมถึงยูฟ่า ซูเปอร์คัฟ ด้วย
                      บาเซโลน่าเป็นที่มีที่ยอดตามในดลออกนไลน์ที่มากกว่า 100 ล้านคน แมทช์แข่งขันเรอัลมาดริค ปะทะ บาร์เซโลน่า 8 ครั้ง ได้ติดอันดบ 10 อันดับแมทซ์ที่มีผุ้ชมเยอะที่สุดในประวัติศาสตร์ แต่ยอดขายเสื้อนั้นน้อยกว่า แมดริค และแมนยู
             
          อันดับ 2 เรอัล มาดริค

           ยอดผุ้ติดตามสือออนไลน์ 100 ล้านคน (เฟสบุคและทวิตเตอร์)
           ยอดผู้ชมผ่านทีวี มีช่องเป็นของตัวเอง
           ยอดขายเสื้อ ประมาณ 1 ล้านตัวต่อปี
           สปอนเซอร์ อาดิดาส 34 ล้านปอนด์ ต่อปี ฟลาย อีมิเลส 20 ล้านปอนด์ต่อปี และสปอนเซอร์อื่นๆ อีกมากมาย เรอัล มาดริคเป็นทีมที่รวมมาก เนื่องด้วยความสำเร็จของพวกเขาเองที่คว้าแชมป์มาแล้ว 63 รางวัล รวมถึง 10 แชมป์ยุโรปและเป็นแชมป์ลีกมากที่สุด เรอัล มาตริดกลายเป็นทีมรวยที่สุดแทนที่แมนเชสเตอร์ยู่ไนเต็ด
       
           อันดับ 1 แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด

              ยอดผู้ติดตามสื่ออนไลน์ 75 ล้านคน
              ผุ้ชมผ่านทีวี 52%ของยอดผู้ชมพรีเมียร์ ลีกทัี่วโลก
              ยอดขายเสื้อ ประมาณ 1.2-1.6 ล้านตัวต่อปี (ในรอบ 5 ปี)
              สปอนเซอร์ อาดิดาส 75 ล้านปอนด์ต่อปี, เชฟโรเลต 53 ล้านปอนด์ต่อปี และสปอนเซอร์อีกมากมายทั่วดลกแม้ว่าเรอัล มาดริด และบาร์เซโลน่าเร่ิมเบียดแมนยูฯ มาใกล้เรื่อยๆ แล้ว แต่แมยูยังคงครองโลกของฟุตบอลสโมสรอยู่ แน่นอนว่าเป็นเพียงตัวเลขคร่าวๆ แต่ถ้าเป็นตัวเลขอย่างเป็นทางการ พวกเขามีแฟนคลับมากกว่า เรอัล มาดริคกับบาณ์เซโลน่่าถึงสองเท่า
https://pepperrr.net/th/articles/473

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)