LifeStyle ASEAN (Brunei)

           
บูรไน บ้านเมืองสงบเรียบร้อย เป็นระเบียบ ไม่มีการขายเครื่องดื่อมแอลกอฮอล์ทุกชนิด ประชากรมีรายได้สูงเป็นอันดับสองรองจากสิงคโปร์ เน่องจากเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ำมันเป็นสินค้าหลักมีประชากรเพียง 4 แสนคน ร้อยละ 80 เป็นข้าราชการ ชาวบรุไนมีกำลังซื้อค่อนข้างสูง ในหความสำคัญกับคุณภาพสินค้ามาก นิยมสินค้าแบรนด์เนมหรูหราราคาแพงและสินค้าฟุ่มเฟือยนำเข้าจากต่างประเทศ มีรสนยมทันสมัยและสนใจติดตามวัฒนธรรมตะวันตก  นิยมอาหารที่ผลิตตามหลักการของศาสนาอิสลาม ใส่ใจเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารมาก วัฒนธรรมการบริโภคอาหารคล้ายชาวมาเลเซีย..(http://www.rd.go.th.."ไลท์สไตล์ รสนิยม และวัฒนธรรมของคนประเทศต่างๆ ในอาเซียน")
            บรูไนเป็นประเทศที่นิยมการรับประทานอาหารทอดและใช้เคื่องเทศกับกะทิเป็นหลัก อาหารที่ขึ้นชื่ออาทิ "นาซิ เลอมัก" คือข้าวหุงกับกะทิและใบเตย หรือในประทเศไทยเรียก "ข้าวมัน" นั่นเอง รับประทานกับไก่ทอด หรือแกงกะรี่ไก้ และเครื่องเคียง 4 อย่าง ได้แก่ ปลากะตักทอดกรอบ แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุก และถั่วอบ นาซิ เลอมัก แบบดั้งเดิมจะห่อด้วยใบตองและมักทานเป็นอาหารเช้า แต่ในปัจจะบันิกลายเป็นอาหารยอดนิยมที่ทานได้ทุกมื้อ
               " อุดัง ซามบาล ซีไร เบอซานตาน" เป็นลักษระคล้ายแกงกะหรีกุ้งราดข้าา ควรรับประทานร่วมกับไข่ต้มแตงกว่า และถั่วลิสง.."เรินดังเนื้อ" เป็นแกงเนื้อที่คล้ายพะแนงเนื้อของไทย เครื่องแกงของเรินดังมีสวนผสมของพริกแห้ง หอม กระเทียม ขิง ข่รา ตะไคร้ ลูกผักชี ยี่หร่า ลูกจันทร์ป่น พริกไทยมะหร้าวคั่วและแคนเดิลนัท เป็นอาหารที่สามารถทานได้ทุกมื้อ มักจะเเสิร์ฟพร้อมกับข้าวสวยและรับประทานกัเครื่องเคียงต่างๆ ได้แก่ ใบมันสำปะหลังลวกผักบุ้งลวก เป็นต้น.. "อัมบูยัต" ตัวแป้งจะเหนียวข้นคล้ายข้าวต้มหรือโจ๊ก โดยมีแป้งสาคูเป็นส่วนผสมหลัก และตังวแป้งอัมบูบตไม่มีรชาต ควรรับประ
ทานขณะร้อๆ โดยใช้แท่งไม่ไผ่ 2 ขา ม้วนแป้งรอบๆ แล้วจุ่มในซอสลไม้เปรี้ยว หรือซอสที่ทำจากกะปิ รับประทานคู่กับเครื่องเคียงดีก 2-3 ชนิด เช่น เนื้อห่อใบตองย่าง หรือเนื้อทอด เป็นต้น.."เกอตูปัต" ซึ่งจะเป็นข้าวห่อด้วยใบมะพร้าวสานเป็นรูปตะกร้อ ทรงสี่เหลี่ยม หรือข้าวเหนียวห่อด้วยใบกะพ้อสานเป็นรูปสามเหลี่ยมแล้วนำไปต้ม ดดยชาวบรูไนจะรับประทนอาาหารชนิดี้กับสะเต๊ะ หรืออาหารจำพวกกแกงกะหรี่
                 การรับประทานอาหร ควรฝึกรับประทานด้วยมือเมื่อต้องรับประทานอาหารร่วมกับครอบครัวชาวบรูไน ควรเรียนรุ้การรับประทานอาหารควาร่วมกับชาวบรูไนที่มักมีข้าวเป็นอาหารหลัก และมีน้ำจิ้มปลาเค็ม และผักเป็นเครื่องเคียง ควรเลือกซื้อกาหารที่มีการปรุงตามวิธีฮาลาล เมื่อเชิญชาวบรูไนร่วมรับประทานอาหาร ชาวบรูไนนิยมอาหารฮาลาลที่ผลิตตามหลักการของศาสนาอิสฃลาม การปรุงอาหารของชาวบรุไนที่ใช้ "ส้มจี๊ด" เพื่อเพิ่มความเปรี้ยวในอหารชาวบรูไนไม่นิยมใช้มะนาวในการปรุงอาหาร
                 ชาวบรูไนนิยมอาหารรสค่อนข้างจัด ซึ่งมักประกอบด้วยเครืองเทศเป็นหลักในการปรุง การเดินรับประทานอาหารในที่สาธารณะ ชาวบรูไนถือว่าเป็นเรื่องไร้อารยธรรมรุแรง ประเทศบรูไนเป็นประเทศอิสลาม จึงไม่ควรสั่งอาหารที่ปรุงด้วยหมู่เมื่องร่วมรับประทานอาหารกับชาวบรูไน ไม่ควรรับประทานอาหารต่อหน้าชาวบรูไนในช่วงถือศิลอด และห้ามทุกคนในประเทศห้ามนั่งกินอหารในร้านอาหารในช่วงกลางวัน ในช่วงถือศีลอด แต่ซื้อกลับบ้านได้ และยังห้ามร้านอหาร รวมท้งสถานที่ทำงานทั้งหมดเป็นให้บริการในช่วงวันศุกร์ เวลา 12.00-14.00 น. เพราะเป็นวันสวดมนต์ใหญ่ ชาวมุสิมต้องเข้ามัสยิด ห้ามดื่มแอลกอฮอล์ในที่สาธารณะ ห้ามโฆษณาอหารจำพวกจานด่วน ก่อเวลา 22.00 น. เพื่อป้องกันไม่ใ้เด็กๆ ติดอาหารเหล่านี้และเพื่อส่งเสริมการรับประทานอหารเชิงสุขภาพ
               
เมื่อร่วมโต๊ะกับชาวบูรไน ห้าสั่งอาหรต้องห้ามดังนี้ สัตว์ที่ตายเอง, เลือดสัตว์ ,สุนัข, สัตว์ที่ถูกฆ่าจากจุดประสงค์เพื่อบูชารูปเคารพ, สัตว์ที่เช่อโดยไม่ระบุนามของพระเจ้า, สัตว์ดุร้ายที่ใช้เขี้ยวจับเหยื่อเป็นอาหาร เช่น เสือ สิงโต , สัตว์ปีกที่ใช้กรงเล็บจับเหยื่อ เช่น เรเร้ง เหยี่ยว ไม่ควรปฏิเสธเมื่อมีผุ้ยื่นอาหารให้ เพราะถือเป็นการเสียมารยาทมาก หากต้องการปฏิเสธอาหารจานนั้นจริง ๆต้องใช้มือขวาและแตะที่จานอย่างสุภาพ เมื่อต้องการเชิญชาวบรูไนรับประทานอาหาร ควรของให้ชาวบรูไนเป็นผู้เลือกร้านอาหาร เพื่อเป็นการเลี่ยงปัญหาอาหารที่เป็นข้อห้ามของชาวมุสลิม
                ปันจักสีลัต เปนคำที่มาจากภาษาอินโดนีเซีนมาจากคำว่าปันจัก หมายถึง การป้องกันตนเงอ และคำว่า สีลัต หมายถึงศิลปะ รวมความแล้วหมายถึงศิลปะการป้องกันตนเอง กีฬาประเภทนี้เดิมเป็นศลปะการต่อสู้ของคนเชื้อสายมาลายู ใน ภาีพื้นเอเชียอาคเนย์ ได้แก่ มาเลเซียน ดินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน และพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย คือ ปัตตานี ยะลา สต
ูล นราธิวาส และสงขลา เรียกว่า "สิละ" "ดีกา" หรือ "บือดีกา" เป็นศิลปะการต่อสู้ด้วยมือเปล่าเท้าเปล่า เน้นให้เห็นลีลา การเคลื่อนไหวที่สวยงาม มีบางท่านหล่าว่า สิลามีรากคำว่า สิลา ภาษาสันสกฤต
                 ทั้งนี้เพราะดินแดนของมลายูในอดีตเคยเป็นดินแดนอาณาจักรศรีวิชัย ที่มีวัฒนนะรรมอินเดียเข้ามามีบทบาทที่สำคัญ จึงมีคำ สันสกฤตปรากฎอยู่มาก ประวัติวความเป็นมาของปันจักสีลัตนั้น มีตำนานเล่าต่อกันมาหลายตำนาน ซึงมีส่วนตรงกันและแตกต่างกันบาง บางตำนานว่า การต่อสู้แบบสิละมีมาตั้งแต่ 400 ปีมาแล้วดดยกำเนินที่เกาะสุมตรา ต่อมาผุ้สอนได้ดัดแปลงแก้ไขให้เข้ากับยุคสมัย ตำนานว่า สมัยหนึ่งสามสหายเชื้อสายสุมาตรา เชื่อ บูฮันนุดดินซัมซุดดิน และฮามินนุดดิน เดินทางจาก มินังกาบัง ฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตรา สำนักวิทยายุทธนั้นอยู่ใกล้สระน้ำใหญ่ น้ำในสระไหลมาจากหนาผาสุงชัน ริมสระมีต้นบอมอร์ ออกดอกสีม่วงสดกลมกลืนกับสีนกกินปลา ึ่งถลาร่อนเล่นน้ำเนื่องนิตย์ วันหนึ่ง ฮามินนุดดินไปตักน้ำที่สระแห่งนั้น เขาสังเกตเห็นว่าแรงน้ำตกทำให้น้ำในสระเป็นระลอกคลื่น หมุนเวียน และที่น่าทึ่งคือ ดอก บอมมอร์ช่อหนึ่ง ซึ่งหล่นจากต้น ถูกน้ำพัดตกลงกลางสระแล้วจึงถอยย้อนกลับไปใกล้
ตลิ่งลอยไปลอยมา เช่นนี้ประหนึ่งว่่ามีชีวิต จิตใจ ฮามินนุดดิน เพิ่มความพิศวงถึงกับวางกระบอกไม่ไผ่ซึ่งบรรจุน้ำแล้วจ้องมองดอกไม้ในสระเป็นเวลานาน จากนั้นชายหนุ่มรับคว้าดอกไม้ช่อนั้นกลับมา เขาไปนำลีลาการลอยของดอกบอมอร์มาประยุกต์สอนการร่ายรำให้แก่เพื่อนทั้งสอง และช่วยกันคิดวิธีเคลื่อนไหวโดยอาศัยแขนขา เพื่ป้องกันฝ่ายปรปักษ์ วิชาสิละ จึงเกิดขึ้นด้วยประการนี้..(www.nuks.nu.ac.th/.. ปันจักสีลัด..กีฬาประจำชาติ ของบนรูไนดารุสซาลาม)
                บรูไนเป็นประเทศมุสลิม จัดระเบียบสังคมตามข้อบัญญัติของศาสนาอย่างเคร่งครัด วิถีการดำเนินชีวิตของประชากรจึงเป็นไปตามหลักศาสนาดอสลาม ด้านความเป็นอยุนั้นสะดวกสบาย เนื่องจากเป็นประเทศที่ร่ำรวย รัฐมีเงินดูแลประชากรในเรื่องปัจจัยพื้นฐานเป็นอย่างดี คนบรูไนสวนใหญ่จึงไม่มีปัฐหาทางเศรษฐกิจมากนัก และส่วนใหญ่มีรถส่วนตัวใข้
                การแต่งการของชาวบรูไน ผู้ชาย สวนเสื้อแขนยาว คอปิด กระดุมผ่าหน้าถึงหน้าอก สวนหมวกหรือมีผ้าพันศีรษะ กางเกงขายาว โดยให้สีเสื้อและกางเกงเป็นสีเดียวกัน มีผ้าพันรอบเอว เป็นผ้ายกดิ้นหรือผ้าพ้น โดยนุ่งพับมาด้านหน้าทั้งสองพับ ผู้หญิง สวนเสื้อแขนยาว อกเสื้อผ่าหน้า ความยาวของตัวเสื้อคลุมสะโพกลงไป สวมผ้าคลุมศรีษะอย่างสตรีชาวมุสลิมทัวไป กระโปรงยาวมิดชิด เครื่องประดับก็จะมีมงกุฏเพื่เพิมความสวยงานอีกได้
                 สำหรับชุดของผู้ชายเรียกว่า Baju Melayu และชุดของผุ้หยิ.เรียกว่า Baju Kurung คล้ายกับชุดประจำชาติของประเทศมาเลเซีย ผุ้หญิ่งบรูไนจะแต่างกายด้วยเสื้อผ้าที่มีสีสีนสดใสดดยมากมักจะเป็นเสื้อผ้าที่คลุมร่างกายตั้งแต่ศรีษะจรดเท้า ส่วนผุ้ชายจะแต่งกายด้วยเสื้อแขนยาว ตัวเสื้อยาวถึงเข่านุ่งกางเกงขายาวแล้วนุ่งโสร่ง..(www.nuks.nu.ac.th/.. การแต่งการประจำชาติ บรูไน)
                 สังคมบรุไน มีลักษระพื้นฐานที่ยึดหลักครอบครัวประชาชนมีความเป็นอยุ่อย่างสงบเรียบง่าย  ศาสนาอิสลามมีบทบามากในการกำหนดพฤติกรรมทางสังคม ปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จัดระเบียบสังคมตามข้อบัญญัติของศาสนามุสลิมและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด วัฒนธรรมบรุไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียนและอินโดนีเซียมา จึงมีประเพณี ภาษา และการแต่างกายที่คล้ายคลึงกัน

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)