วันศุกร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austronesian languages : Bahasa Indonesia
ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เร่ิมต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียมีส่วนใหญ่พูดภาษาอินดดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พุดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่นๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถ่ินของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอกาส
ถาษาอินโดนีเซียเป็นทำเนียบภาษามาตรฐานของภาษามลายูเรียว ซึงแม้จะมชื่อเรียกเช่นนั้นแต่ก็ไม่ใช่ภาษามลายูที่เป็นสำเนียงท้องถ่ินของหมู่เกาะเรียว แต่หมายถึงภาาามลายุคลาสสิกที่าใช้ในราชสำนักของรัฐสุลต่านมะละกา จาเดิมที่มีผู้ใช้กันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ภาษามลายูได้กลายเป็นภาษากลางในบริเวณหมู่เกาะที่เป็นประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบันมาหลายร้อยปี จารึกเกอดูกันบูกิตเป็นหลัก,านที่เก่าที่สุดที่ใช้ภาษามลายูโบราณซึ่งเป็ฯภาษาราชการในสัยจักรวรรดิศรีวิชัย ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นจั้นมา ภษามลายูโบราณได้มีการใช้ในหมู่เกาะอินโดนีเซีย เห็นได้จากจารึกสมัยศรีวิชัยและจารึกอื่นๆ ตามบริเวณชายฝัง เช่นที่เกาะชวา การติดต่อค้าขายโดยชาวพื้นเมืองในเวลานั้นเป็นสื่อกลางในการแพร่กระจายของภาษามลายูโบราณในฐานะภาษาทางการต้า และกลายเป็นภาษากลางที่มีผู้ใช้อย่างแพรหลายในบริวเณหมู่เกาะ
ภาษาอินโดนีเซียได้พัฒนามาสู่สภานะของภาษาราชการเมื่ออินโดนีเซียประกาศเอกราชใน พ.ศ. 2488 โดยเริ่มต้นจากการปฏิญาณซุมปะฮ์เปอมูดาเมื่อ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2471 ภาษาอินโดนีเซียในรูปแบบมาตรฐานจัดเป็นภาษาเดียวกับภาษามาเลเซีย (ภาษามลายูมตรฐานในมาเลเซียและบรูไน) แต่มีความแตกต่างจากภาาามาเลเซียหลายประการเช่นการออกเสียงและคำศัพท์ ความแตกต่างนี้มาจากอิทธพิลของภาษาชวาและภาษาดัตช์ในภาษาอินโดนีเซีย ภาษาอินโดนีเซยยังได้รับอิทธิพลจากภาษามลายูปาซาร์ (ภาษามลายูตลาด) ที่เป็นภาษากลางในบริเวณหมู่เกาะในสมัยอาณานิคม มีากรอ้างว่าภาษามลายูในมาเลเซียใกล้เคียงกับภาษามลายูคลาสสิกมากกว่า แต่ภาษามาเลเว๊ยสมัยใหม่ก็ได้รับอิทธิพลทางด้านรากศัพท์และประโยคจากภาษาอังกฤษด้วย ประเด็นที่ว่าภาษาอินโดนีเซียมีต้นกำเนิดที่แท้จริงจากภาษามลายูระดับสูง(ภาษามลายูราชสำนัก) หรือจากภาษามลายูระดับล่าง (ภาษามลายูตลาด) กันแน่ยังคงเป็นที่ถกเถียงกนอยู่ ภาาามลายูระดับสูงเคยเป็นภาษาที่ใช้ในราชสำนักของรัฐสต่ายะโฮร์ และในเขตบริหารของเนเธอร์แลนด์ในรัฐยะโฮร์ ส่วนภาษามลายูระดับล่างเป็นภาษาที่ใช้กันในสถานที่ซื้อขายและตามท่าเรือในเกลุ่มเกาะอินโดนีเซีย นักภาษาศาสตร์บางกลุ่มกล่าววาภาษามลายุระดับล่างนี้เป็นพื้นฐานของภาษาอินโดนีเซีย
ภาษาอินโดนีเซียมีผุ้พุดเป็นภาษาแม่หรือภาาาที่หนึ่งเพียงส่วนน้อยของประชากรทั้งหมดของอินโดนีเซีย(ส่วนใหญ่อยู่ในเขตเมือง เช่น จาการ์ตา เมดานบาลิก์ปาปัน) แต่มีคนถึง 200 ล้านคนที่ใช้ภาษานี้เป็นภาษาประจภชาติโดยมีระดับความชำนาญตกต่างกันไป ในชาติที่มีภ-าษาพื้นเมืองมากกว่า 300 ภาษาและยังมีกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลายเช่นนี้ ภาษาประจำชาติมีบทบาทสำคัญมากในการสร้้างความเป้นหนึ่งเดียวระหว่างผุ้คนจากเกาะต่างๆ ทั่วประเทศ การใช้ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาประจำชาติพบมากในสื่อหน่วยงานราชการ โรงเรียน มหาวิทยาลัย ที่ทำงาน และในสถานการณ์ที่เป้ฯทางการ ภาษาอินโดนีเซียมาตรฐานและเป็นทางการมักใช้ในการเขียนหนังสือและหนังสือพิมพ์ รวมทั้งการประกาศข่าวทางโทรทัศน์และวิทยุ อย่างไรก็ตาม มีผุ้พุดภาษาอินโดนีเซียเป้ฯภาษาแม่เพียงจำนวนน้อยที่ใช้ภาษาระดับทางการในการสนทนาในชีวิตประจำวัน
ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาราชการในประเทศอินโดนีเซีย ใช้อย่างแพร่หลายทั้งในด้านการศึกษา เอกสารทางราชการเขียนด้วยภาษาอินโดนีเซีย และเป็นภาาาในสื่อในอินโดนีเซีย เชน วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาษานี้ใช้อย่างแพร่หลายทั่วอินโดนีเซีย ในรัฐธรรมนูยของสาธารณรัฐอินโดนีเซียได้ระบุให้ภาษาอินโดนีเซีย ในรัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐอินโดนีเซียมาตรา 15 ซึ่งได้กำหนดสัญลักษณ์ประจำชาติของอินโดนีเซียได้ระบุให้ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาประจำชาติ ภาษานี้เป็นภาษาที่แสดงความเป็นหนึ่งเดียงของกลุ่มชาติพันธ์ุที่แตกต่างกันในอินโดนีเซียและเป็นสื่อกลางในการสื่อสาร
ภาษานี้ได้ประกาศให้เป็นภาษาเดียวของชาติในปฏิญาณซุมปะฮ์เปอมูดาเมือ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2471 โดยกำหนดให้ภาษามีพื้นฐานจากภาษามลายูสำเนียงเรียวแม้ว่านักภาษาศาสตร์จะหล่าว่านี้ไม่ช้สำเนียงท้องถ่ินของเรียวแต่เป็นสำเนียงมะละกาที่ใช้ในราชการสำนักของยะโอร์-เรียว ตั้งแต่ประกาศใน พ.ศ. 2471 และการกำหนดในรัฐธรรมนูญเมื่อ พ.ศ. 2488 ภาษานี้ได้ใช้ในอินโดนีเซียตลอดมา ภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาของกลุ่มชาติพันธ์ุอื่นๆ ในอินโดนีเซีย เช่น ภาษาชวา และภาษาดัตช์ในสมัยอาณานิคม ดังนั้ ภาษาอินโดนีเซียจึงมีคำยืมที่กว้างกว่าเมื่อเทียบกับภาษามลายู ในอีกมุมมองหนึ่ง ภาษาอินโดนีเซียจึงมีสถานะเหมือนเป็นภาษาประดิษฐ์ที่เป้ฯภาษาราชการใน พ.ศ. 2471 เนื่องจากเกิดขึ้นด้วยเหตุผลทางวิชาการมากว่าเกิดขึ้นเองทางธรรมชาติ
การพัฒนาแยกกันระหว่างภาษามาเลเซียในมาเลเซียกับภาษาอนโดนีเซียทำให้มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ซึ่งมีเหตุผลมาจากความละเอียดอ่อนทางการเมืองและประวัติการวางมาตฐานภาษามากว่าจะเป็นเหตุผลทางวัฒนธรรม ในมาเลเซียจะถือว่าภาษาทั้งสองเป็นสำเนียงที่ต่างกันของภาษาเดียวกัน แต่ในอินโดนีเซียมองว่าเป็นภาษาต่างหากจากกัน (แต่ก็มีความเกี่ยวข้องกัน) ทัศนคติเช่นนี้มีผลให้ชาวอินโดนีเซียไม่ค่อยต้องการให้ภาษาของตนไปกลมกลืนกับภาษาของมาเลเซียและบรูไน ในขณะที่ชาวมาเลเซียต้องการแสดงให้เก็นว่าตนเองมีส่วนเกี่ยวข้องในวิวัฒนการของภาษาร่วมกับชาวอินโดนีเซีย กระนั้นในปี พ.ศ. 2515 ก็ได้มีการปรับปรุงระบบการเขียนภาษาอนโดนีเซียโดยเปลี่ยนการสะกดที่อิงแบบภาษาดัตช์มาเป็นแบบที่อิงภาษาอังกฤษอย่างภาษามาเลเซีย
ระบบการเขียน ภาษาอินโดนีเซียเชียนด้วยอักษรละติน การออกเสียงพยัญชนะใกล้เคียงกับภาษาอิตาลี การสะกดอาจสร้างความสับสนบ้างเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงตัวสะกอดเมื่อินโดนีเซียได้รับเอกราช ได้แก่ การเปลี่ยนจาก oe เป็น u เมื่อ พ.ศ. 2490 และการเปลี่ยน tj เป็น c dj เป็น j, nj เป็น sy, ch เป็น kh เมื่อ พ.ศ. 2515 การสะกดแบบเก่าได้อิทธิพลจากภาษาดัตช์ และใช้กับชื่อเฉพาะที่สะกดมาก่อนหน้านั้น เช่นชื่อประธานาธิบดี ซูฮาร์โต สะกดว่า Soehato (oe ในภาษาดัตช์ออกเสียง อู) และยอกยาการ์ตา ปัจจุบันเขียน Yogyakarta แต่บางครั้งเขียนว่า Jogjakarta (j ในภาษาดัตช์ออกเสียง ย)
สัทวิทยา
สระ หน่วยเสียงสะกดเดียวภาษาอินโดนีเซีย ประเภท สระลิ้นยกสูง(ปิด) สระหน้า i, สระกลางลิ้น-, สระหลัง u, สระลิ้นระดับกลาง e, สระกลางลิ้น ə, สระหลัง o , สระลิ้นลดต่ำ สระหน้า-, สระกลางลิ้น a, สระหลัง-,
พยัญชนะ หน่วยเสียงพยัญชนะภาษาอินโดนีเซีย ประกอบด้วย
- เสียงนาสิก m ริมฝีปาก, n ปุ่มเหงือก, ɲ เพดานอ่อน, ŋ เพดานแข็ง
- เสียงกัก เสียงแทรก t͡ʃ d͡ʒ หลังปุ่มเหลือก
- เสียงเสียด เสียงแทรก (f) ริมฝีปากกับฟัน , s (z) ปุ่มเหงือก, (ʃ) หลังปุ่มเหงือก, h เส้นเสียง,
- เสียงเปิด w ริมฝีปาก, j เพดานแข็ง
- เสียงลิ้นสะบัด/เสียงรัว r ปุ่มเหงือก, j เพดานเเข็ง
- เสียงข้างลิ้น l ปุ่มเหงือก
ไวยากรณ์
คำคุณศัพท์ ในภาษาอินโดนีเซียตามหลังคำนาม อาทิ
Ini buku merah นี้ หนังสือ สีแดง ภาษาไทย นีคือหนังสือสีแดง ภาษาอังกฤษ This is a red book.
ปัจจัย ภาษาอินโดนีเซียมีระบปัจจัยที่ซับซ้อน วิะีสร้างคำทำได้หลายแบบ ได้แก่
- ปัจจัย Ber + ajar (สอน) = BeLajar (ลบ 'L') = เรียน
- ปัจจัย Me + ajar + -kan = meNGajarKan (เติม 'NG') = สอน (สกรรมกริยา)
- ปัจจัย Ber + judi (พนัน) = Berjudi (Ber- ไม่เปลี่ยนรูป) = เล่นการพนัน
- ปัจจัย Me + judi + -kan = meNjudikan (เติม 'N') = เสียการพนัน
คำแต่ละคำอาจมีความหมายทางไวยากรณ์ต่างไปขึ้นกับปัจจัยที่ใช้ เช่น me + makan (memakan) หมายถึงกิน (ในความหมายของการย่อยสลาย) ในขณะที่ di + makan (dimakan) หมายถึงถูกกิน ter + makan (termakan) หมายถึงถูกกินโดยทันที่ ปัจจัยที่ต่างกัน 2 คำอาจใช้เปลี่ยนความหมายของคำ เช่น duduk หมายถึง นั่งลง mendududuk หมายถึงให้บางคนนั่งลงหรือวางของบางอย่างลง เป็ฯต้น
ปัจจัยในภาษาอินโดนีเซียที่ยืมมาจากภาษาอื่น เช่น ภาษาสันกฤต ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ เช่น maha-, juru-, pasca-, eka-, anti-,pro-...
เพศทางไวยากรณ์ ภาษาอินโดนีเซียมีการแบ่งเพศของคำน้อย คำจำนวนมากที่อ้างถึงุคคลไม่มีการจำแนกเพศ ตัวอย่าง เช่น adik หมายถึงน้องโดยไม่ระบุเพศ ไม่มีการแยกคำที่หมายถึง "คนรัก" ออกเป็นผู้ชายหรือผู้หญิง ถ้าต้องการระบุเพศคำคุณศัพท์เข้ามา ไม่มีคำที่มีความทหมายตรงกับภาษาอังกฤษ "man"
คำบางคำมีการแบ่งเพศบาง ชเ่น putri หมายถึงลูกสาว และ putra หท่นถุวบูกชาย คำเหล่านี้มักเป็นคำยืมจากภาษาอื่น เช่น ตัวอย่างข้างต้นเป็นคำยือมจากภาษาสันสกฤตผ่านทางภาษาชวาโบราณ ในจาการ์ตา และบางพื้นที่ abang อาจใช้หมายถึงพี่ชาย klakak (พี่ที่สืบสายดลหิตเดียวกัน) หมายถึงพี่สาว
คำประสม ภาษาอินโดนีเซียมีการสร้างคำหใาด้วยการเชื่อมรากศัพท์ตั้งแต่สองคำขึ้นไปเข้าด้วยกัน ตัวอย่างเช่น ruman หมายถึงบ้าน makan หมายถึงกิน รวมกันเป็น ruman makan หมายถึง ภัตตาคาร ส่วนอีกตัวอย่างคือ sepak แปลว่า แตะ bola แปลว่า บอล รวมกันเป็น sepak bola จะหมายถึงการแตะบอล..
ลักษณะนาม ภาษาอินโดนีเซียมีการใช้ลักษณะนามเช่นเดียวกับภาษาอื่นๆ ในเอเชีย เช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาไทย ตัวอย่างคำลักษระนาม เช่น ekor ใช้กับสัตว์ buah ใช้กับนามไม่มีชีวิต lembar ใช้กับกระดาษ เป็นต้น
คำปฏิเสธ ภาษาอินโดนีเซียมีรุปคำปฏิเสธสามคำคือ tidak bukan และ belam
- Tidak บางครั้งลดรุปเหลือ tak ใช้ปฏิเสธคำกริยาและคุณศัพท์ เช่น Saya tidak tahu (ฉันไม่รู้)
- Bukan ใช้ปฏิเสธคำนาม เช่น Itu bukan seekoranjing (นั่นไม่ใช้หมา)
- Belum ใข้ปฏิเสธประโยคหรือวลีที่บางอย่างยังไม่สมบุรณ์ และใช้ตอบปฏิเสธคำถาม เช่น Anda sudan pernah ke Indonesia (Belum?) = คุนเคยอยู่อินโดนีเซียมาก่อน(หรือไม่)..
คำปฏิเสธอีกคำหนึ่งในภาาาอินโดนีเซีย คือ jangan ซึ่งตรงกับคำปฏิเสธ do not ในภาษาอังกฤษ Jangan ใช้ปฏิเสธคำสั่งหรือแสดงการต่อต้านการกระทำ เช่น Jangan tingalkan saya = อย่าทิ้งฉัน
พหูพจน์ การแสดงพหูพจน์ใช้การซ้ำคำ เช่น บุคคลใช้ว่า orang ประชาชนใช้ว่า orang-orang แต่ประชาชน 1,000 คนใช้ว่า seribu orang แต่คำซ้ำบางคำก็ไม่แสดงพหูพจน์เสมอไป เช่น hati หมายถึง หัวใจหรือตับขึ้นกับริบท ในขณะที่ hati-hati หมายถึง ระมัดระวัง ..
สรรพนาม แทนบุรุษที่ 1 พหูพจน์ มีสองคำ คือ kami (ไม่รวมผู้ฟัง) และ kita (รวมผู้ฟัง) สรรพนามบุรุษที่ 1 เอกพจน์ มีสองคำคือ saya และ aku มีความหมายเหมือนกันแต่ saya เป็นทางการมากว่า aku ใช้กับคนสนิทในครอบครัว หรือกับเพื่อน สรรพนามบุรษที่ 2 มีสามคำคือ kamu anda และ kalain anda เป็นคำที่สุภาพที่สุด kalian เป็นรูปพหูพจน์ และไม่เป็นทางการมากนัก นอกจากนี้ ภาษาอินโดนีเซียยังมีคำสรรพนามอื่นๆ อีก ซึ่งขึ้นกับโครงสร้างทางสังคมและอิทธิพลของภาษาถ่ิน คำบางคำถือว่าสุภาพมากและใช้ในบทกวีเท่านั้น
สรรพนามชี้เฉพาะ มีสองคำคือ ini ใช้กับสิ่งที่อยู่ใกล้ผู้พูดและ itu (โน่น) ใช้กับสิ่งที่อยู่ไกลผู้พูด ทั้งสองคำนี้ไม่มีรูปพหูพจน์
การเรียงลำดับคำ รูปแบบพื้นฐานของประโยคเป็น ประธาน-กริยา-กรรม แต่จะใช้รูปถูกกระทำ กรรม-กริย- (ประธาน) ได้ซึ่งถือเป็นประโยคแบบละประธาน คำขยายตามหลังคำที่ถูกขยาย
กริยา ไม่มีการผันตามจำนวนหรือบุคคล ไม่มีเครื่องหมายแสดงกาล แต่แสดงกาลด้วยการเติมคำในประโยค เช่น เมื่อวานนี้หรือคำบ่งกาลอื่นๆ เช่น sudah (พร้อมแล้ว) อย่างไรก็ตาม ภาาาอินโดนีเซียมีระบบปัจจัยของกริยาที่ซับซ้อน เพื่อแบ่งแยกรูปกระทำ-ถุกกระทำ การใช้ปัจจัยเหล่านี้อาจถูกละในละในการสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ
การเน้น ในการพูด การเน้นที่ส่วนของประโยคต่างกันทำให้มีการเรียงลำดับคำต่างกันไปได้ รูุปแบบเหล่านี้พบน้อยในการเขึยน ตัวอย่าง เช่น
saya pergi ke pasar kemarin = ฉันไปตลาดเมือวานนี้ (รูปปกติหรือเน้นประธาน)
Kemarin saya pergi ke pasar = เมื่อว่านนี้ไปตลาด (เน้นที่เมือวาน)
Ke pasar saya pergi, kemarin = ที่ตลาด, ฉันไปเมื่อวานนี้ (เน้นสถานที่ที่ไป)
Pergi ke pasar , saya, kemarin = ไปตลาด, ฉัน, เมื่อวานนี้ (เน้นที่การเดินทาง)
คำศัพท์ ภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษามลายูสมัยใหม่ มีคำยืมจากภาาต่างๆ มากมาย เช่น ภาษาสันสกฤต ภาษาอาหรับ(รวมภาษาเปอร์เซียและภาษาฮิบรู) ภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาจีน และภาษาตระกุลออสโตเซียน
คำที่ยืมมาจากภาาาสันสกฤตได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพุทธและศาสนาฮินดูมัทั้งที่ยืมจากภาาาสันสกฤตโดยตรงและยืมผ่านภาษาชวา คำจากภาษาสันสกฤตส่วนใหญ่เข้ามาเป็นพื้นฐานของศัพท์ภาษาอินโดนีเซียจนไม่รู้สึกว่าเป็นศัพท์ภาษาต่างประเทศ ส่วนคำยืมจากภาษาอาหรับนั้น ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม การแปลคัมภีร์ไบเบิลยุคแรกๆ จะใช้คำจากภาษาอาหรับแทนที่คำเฉพาะที่เป็นภาษาฮีบรู แต่ปัจจุบันเร่ิมหันไปใช้คำจากภาษากรีกหรือคำจากภาษาฮีบรูมากขึ้น ตัวอย่างเช่น คำว่าพระเยซู เดิมใช้ว่า Isa แบบอาหรับ ปัจจุบันใช้ว่า Yesus
คำยืมจากภาษาโปรตุเกสเป็นคำทั่วไป ซึ่งเกี่ยวข้องกับการที่ชาวโปรตุเกสเป็นชาวยุโรปกลุ่มแรกที่เข้ามาถึงหมู่เกาะเครื่องเทศ คำยืมจากภาษาจีน มักเป็นศัพท์เกี่ยวกับการต้าหรือสิ่งของหรือสิ่งของที่มาจากจีน คำยืมจากภาษาดัตช์เป็นผลจากการที่เคยเป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์มาก่อน คำยืมกลุ่มนี้มักมีลำดับพยัญชนะที่ยากต่อการออกเสียง ซึ่งแก้ปัญหาโดยการแทรกเสียงสระเข้าไป เช่น schroef (สครุฟ) จากภาษาดัตช์ เป็น sekrup (เซอกรุป) ในภาษาอินโดนีเซีย
เนื่องจากมีคำยืมใจากหลายภาษาจึงมีคำที่มีความหมายเหมือนกันมาก เช่นคำว่า "หนังสือ" มีถึง 3 คำคือ pustaka จากภาษาสันสกฤต kitab จากภาษาอาหรับ และ buku จากภาษาดัตช์ ความหมายของทั้ง 3 คำนี้ต่างกันเล็กน้อย pustaka ใช้กับหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวโบราณ หรือความรู้ในวงจำกัด ถ้าอยู่ในรูป perpustakaan หมายถึงห้องสมุด kitap ใช้กับหนังสือทางศาสนา เช่น alkitab หมายถึงคัมภีร์ไบเบิล buku ใช้เรียกหนังสือทั่วไปth.wikipedia.org/wiki/ภาษาอินโดนีเซีย
วันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austronesian languages : Tagalog
Kumasta Ako si Phitsanu natutuwa na alamno. ภาษาตากาล็อกเป็นหนึ่งในภษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษ
าอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาอาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาาาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาประจำชาติและภาษาราชการคุ่กับภาษาอักฤษในประเทศฟิลิปปินส ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว่า
ภาษาตากการล็อกมีหน่วยเสียง 21 เสียง เป็นเสียงพยัญชนะ16 เสียง เสียงสระ 5 เสียงก่อนการเข้ามาของชาวสเปน ภาษาตาการล็อกมีเสียงสระเพียง 3 เสียง คือ /a/,/i/,/u/ มีคำยืมจากภาษาสเปนจึงเพ่มสระอีก 2 เสียง คือ /e/ และ /o/ นอกจากนั้นมีสระประสมเพ่ิมอีก 4 เสียงคือ /aI/,/oI/,/aU/ และ/iU/ พยัญชนะในภาษาตากาล็อกไม่มีเสียงลมแทรก มีการเน้นเสียงหนักภายในคำที่ทำให้เสียงสระยาวขึ้นด้วย
ไวยากรณ์ ภาษาตากการล็อกเรียงประดยคแบบกริยาภ-ประธาน-กรรม มีระบบการผันคำกรยาที่ซับซ้อนกว่าคำนาม คำขยายเรียงก่อนหรือหลังคำที่ถูกขยายก็ได้ ซึ่งทั้ง 2 แบบ จะใช้คำเชื่อมต่างกัน
คำว่าตากาล็อกมาจาก taga-ilog โดย taga หมายถึงท้องถ่ินของและ ilog หมายถึงแม่น้ำ รวมแล้งหมายถึงผู้อาศัยอยุ่กับแม่น้ำ ไม่มีตัวอย่างการเขียนของภาษาตาการล็อำ ก่อนการมาถึงของสเปนในพุทธศตงวรรษที่ 21 เหลืออยุ่เลย ประวัติศาสตร์ของภาษาจึงเหลืออยุ่น้อยมาก คาดว่าภาษานี้กำเนิดในฟิลิปปินส์ตอนกลาุงจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนาหรือวิซายาตะวันออก
หลังสือเล่มแรกที่เขียนด้วยภาษาตากกาล็อกคือ Doctina Cristina ใน พ.ศ. 2136 โดยในหนังือเล่มนี้เขึยนด้วยภาษาสเปน และภาษาตากาล็อก 2 รูปแบบคือใช้อักษรละตินและอักษรบายบายิน ในช่วงที่สเปนยึดครองอยุ่ 333 ปี มีไวยากรณ์และพจนานุกรมเขียนโดยบาทหลวงชาวสเปน
ใน พ.ศ. 2480 ได้มีการสร้างภาษาประจำชาติโดยสถาบันแห่งชาติโดยใช้ภาาาตากาล็อกเป็ฯพื้ฐาน ภาษาประจำชาติที่เคยตั้งชื่อว่า wikang pambansa (ภาษาแห่งชาติ)ดดยประธานาธิบดี มานูแอล เอเล, เกซอน เมื่อ พ.ศ. 2482 ได้ถูกเปลี่ยชื่อเป็นภาษาปิลิปีโนใน พ.ศ. 2520 แต่การเปลี่ยนชื่อนี้ไม่ไ้รับการยอมรับจากผุ้ที่ไม่ได้พูดภาษาตากาล็อกโดยเฉพาะผุ้พุดภาษาเซบัวโน
ใน พ.ศ. 2514 เกิดหัวข้อทางด้านภาษาขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ทำให้เปลี่ยนชื่อภาาาประจำชาติจากภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาฟิลิปีโน โดยภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาที่ปสมลักษณะของภาษาตากาล็อกสำเนียงลูซอนกลาง ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน
การจัดจำแนก ภาษาตากกาล็อกเป็นภาษาในกลุ่มฟิลิปปินส์กลาง ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ีความใกล้เคียงกับภาษาในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียอื่นๆ เช่น ภาาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีติ ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และภาษาไปวัน มีความสัมพันธ์กับภาาาที่พุดในบิกอล และวิซายา เช่น ภาษาบิโกล ภาษาฮิลิไกนอน ภาษาวาไร-วาไร และภาษาเซบัวโน ภาษาที่มีอิทธิพบต่อาษาตากาล็อกที่สำคัญได้แก่ ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอาหรับ ภาษาสันสกฤต ภาษามลายูโลราณ และภาษาทมิฆ
การแพร่กระจายทางภูมิศาสสตร์ ส่วนที่เป็นบ้านเกิดของภาษาตากาล็อกหรือ katagalugan ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้ของเกาะลูซอน โดยเฉพาะในอาโรรา บาตายัน บาตังกัส บูลาจัน ลามารียเหนือ กาบิเต ลากูนา เมโทรมะนิลา นูเอบาเอซิฮา เกซอน และริซัล ภษาตากการล็อกใช้พูดเป็นภาษาแม่โดยผุ้ที่อยู่ในเกาะลูบัว มารินดูเก ทางเหนือแบะทางตะวันตกของมินโดโร มีผุ้พูดประมาณ 64.3 ล้านคน ผู้พูดาษาตากาล็อกยังแพร่กระจายไปยงบริเวณอืนๆ ทั่วโลก แตามีการใช้น้อยในการสื่อสารระหว่างชนกลุ่มน้อยในฟิลิปปินส์ มีผู้พูดภาษานี้ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
ระบบการเขียน ภษาตากาล็อกเคยเขียนด้วยอักษรบายบายิน ก่อนการเข้ามาของสเปน ในศตวรรษที่ 16 อักษรนี้ประกอบด้วยสระ 3 ตัวและพยัญชนะ 14 ตัวเมื่อเที่ยบกับตระกูลอักษรพราหมี อักษรนี้มีความคล้ายคลึงกับอักษรกวิโบราณของชวา ซึ่งเชื่อว่า สืบทอดมาจากอักษรบูกิส ในซูลาเวซี ต่อมาอักษรนี้ได้เลิกใช้ไปเพราะนิยมใช้อักษรละติน ที่เข้ามาในช่วงที่เป็นอาณานิคมของเปน อักษรบายบายินถูกกำหนดด้วยยูนิโคด รุ่น 3.2 ในช่วง 1700-1701F ด้วยชื่อ "Tagalog"
ในช่วงศตวรรษที่ 20 ภาษาตากาล็อกเขียนด้วยอักษรละติน โดยใช้ระบบการออกเสียงของภาษาสเปน เมื่อระบบภาษาประจำชาติได้พัฒนาขึ้นโดยใช้พื้นฐานจากภาษาตากกาล็อก โลป เค. ซานโตส ได้พัฒนาตัวอักษรใหม่ประกอบด้วยอักษร 20 ตัว.. เครื่องหมายng และรูปพหูพจน์ mng เป็นตัวย่อ ออกเสียวว่า นัง และมางา ตามลำดับหมายถึง ของ เมื่อ
ภาษาตากาล็อกถูกประกาศให้เป็นภาษาราชการเมื่อโดยสถาบันไบก์นาบาโตเมื่อ พ.ศ. 2440 ใน พ.ศ. 2578 ได้ยกเลิกการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาราชการใหม่ขึ้นมา หลังจากการประชุมของสถาบันภาษาแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทน 7 คน จากส่วนต่างๆ ของฟิลิปปินส์ได้เลือกภาษาตาการล็อกให้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาภาษาประจำชาติ ประธานาธิบดีมานูเอล เกซอนได้ประกาศว่าได้เลือกภาษาตากาล็อกเป็นพื้นฐานของการพัฒนาภาษาประจำชาติ ต่อมา ในพ.ศ. 2482 ประธานาธิบดีมานูเอล เกซอน ได้เปลี่ยนชื่อภาษาประจำชาติ ที่มีพื้นฐานมาจากภาษาตากาล็อกว่า วีกัง ปัมบันซา (ภาษาประจำชาติ) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นภาาาฟิลีปีโน ในปีเดียวกัน
ใน พ.ศ. 2516 ได้ประกาศยกเลิกการใช้ภษาปิลิปิโนเป้นภาาาราชการคู่กับภาษาอังกฤษ และได้พัฒนาภาาาประจำชาติขึ้นใหม่ซึ่งเป็ฯที่รู้จักในชื่อภาษาฟิลิปิโน
ความแตกต่างระหว่างภาษาฟิลิปีโนกับภาษาตากาล็อก คำว่าฟิลิปิโนและตากาล็อกเป็นชื่อของภาษาที่ใหกล้เคยงกัน อาจจะหมายถึงภาษาเดียวกันหรือคนละภาษาก็ได้ภษาฟิลิปีโนเป็นภาษาประจภชาติของฟิลิปปินส์ มีผุ้พูดเป็นภาษาแม่ราว 30% ของประชากร 84 ล้านคน และเป็ฯภาษาที่สองของประชกรอีกราว 80% ส่วนภาษาตากกาล็อกมีสถานะเป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตากาล็อกโดยผู้พุดเป็นภาษาแม่น้อยกว่าภาษาฟิลิปิโน เพราะผุ้ที่ไม่ใช่ชาวตากาล็อกซึ่งอยุ่ห่างออกไปจากเขตของชาวตาการล็อกคือภาคกลางและภาคใต้ของเกาะลูซอน ใช้ภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาแม่แต่เรียกตัวเองว่าเป็นชาวตากาล็อกด้วย โดยทั่วไปผุ้ที่พุดภาษาฟิลิปีโนเป็นภาาาแม่จะไม่มีใครพูดว่าใช้ภาษาตาการล็อกเป็นภาษามี่สอง แต่มักถือว่าเป็นผุ้พุดของทั้งสองภาษา ความแตกต่างที่สำคัญอยู่ที่การเขียนและการแปรผันของคำศัพท์มากกว่า
ภาษาฟิลิปิโนเป็นภาษาราชการในโรงเรียนและใช้ในสื่อต่างๆ แต่มีความสำคัญนอยกว่าภาษาอังกษ รวมทั้งในการเรยนการสอนด้านวิทยาศสาตร์แต่ถือว่าคู่คีกับภาษาอังกฤษในด้านการต้าขายและการติดต่อราชการ ภาษาฟิลิปิโนใช้เป็นภาษากลางทั่วประเทศฟิลิปปินส์โดยเฉพาะการบริการสาธารณะในเขตที่ไม่ใช้ภาษาตาการล็อก
ภาษาตากาล็อกเป็นภาษาที่เก่ากว่า มีศุนย์กลางอยุ่ในเขตของชาวตากาล็อกในเกาะลูซอน ภาษาฟิลิปิโนมีประวัติย้อนหลัง ความแตกต่างเร่ิมชัดเจนเมื่อ พ.ศ. 2515 ก่อนจะเป็นภาาาราชการเมือ พ.ศ. 2530 ภาษาฟิลิปิโนมีอักษร 28 ตัว (รวม "ng" ที่ถือเป็นอักษรเดี่ยวและอักษรมี่มาจากภาษาสเปน n ) และมีระบบของเสียงและคำยืมที่เปิดหว้างสำหรับคำยืมจากภาาาต่างชติและภาษาพื้นเมืองอื่นๆ ภาษาตากาล็อกมีอักษร 20 ตัว และระบบของหน่วยสียงที่ไม่เปิดกว้างสำหรับภาษาอื่นนอกจากภาาาละตินของวาติกัน
เนื่องจากตากาล็อกเป็นชื่อของกลุ่มชนด้วย จึงมีความอ่อนไหวทางการเมืองหากจะกล่าวว่าภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาเดียวกับภาษาตากาล็อกคำว่าฟิลิปีโนเป็นคำที่เป็นกลางโดยมาจากชื่อของประเทศไม่ได้มาจากขื่อชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ภาษาฟิลิปิโนมีบทบาทเป็นภาษากลางในบริเวณที่เคยใช้ภาษาอื่นๆ มาก่อน เช่น ในเกาะมินดาเนาที่เคยใช้ภษาเซบัวโนเป้ฯภาาากลางแฃละเมืองบากุยโอที่เขยใช้ภาษาอีโลกาโนเป็นภาษากลาง เนื่องจากภาษาฟิลิปิโนเป็นภาษาในโรงเรียน การศึกษรจะทำให้ช่องว่างระหว่างภาษาตากาล็อกกับภาษาฟิลิปิโน ห่างไกลกันยิ่งขึ้น...th.wikipedia.org/wiki/ภาษาตากาล็อก
าอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาอาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาาาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาประจำชาติและภาษาราชการคุ่กับภาษาอักฤษในประเทศฟิลิปปินส ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผุ้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว่า
ภาษาตากการล็อกมีหน่วยเสียง 21 เสียง เป็นเสียงพยัญชนะ16 เสียง เสียงสระ 5 เสียงก่อนการเข้ามาของชาวสเปน ภาษาตาการล็อกมีเสียงสระเพียง 3 เสียง คือ /a/,/i/,/u/ มีคำยืมจากภาษาสเปนจึงเพ่มสระอีก 2 เสียง คือ /e/ และ /o/ นอกจากนั้นมีสระประสมเพ่ิมอีก 4 เสียงคือ /aI/,/oI/,/aU/ และ/iU/ พยัญชนะในภาษาตากาล็อกไม่มีเสียงลมแทรก มีการเน้นเสียงหนักภายในคำที่ทำให้เสียงสระยาวขึ้นด้วย
ไวยากรณ์ ภาษาตากการล็อกเรียงประดยคแบบกริยาภ-ประธาน-กรรม มีระบบการผันคำกรยาที่ซับซ้อนกว่าคำนาม คำขยายเรียงก่อนหรือหลังคำที่ถูกขยายก็ได้ ซึ่งทั้ง 2 แบบ จะใช้คำเชื่อมต่างกัน
คำว่าตากาล็อกมาจาก taga-ilog โดย taga หมายถึงท้องถ่ินของและ ilog หมายถึงแม่น้ำ รวมแล้งหมายถึงผู้อาศัยอยุ่กับแม่น้ำ ไม่มีตัวอย่างการเขียนของภาษาตาการล็อำ ก่อนการมาถึงของสเปนในพุทธศตงวรรษที่ 21 เหลืออยุ่เลย ประวัติศาสตร์ของภาษาจึงเหลืออยุ่น้อยมาก คาดว่าภาษานี้กำเนิดในฟิลิปปินส์ตอนกลาุงจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของมินดาเนาหรือวิซายาตะวันออก
หลังสือเล่มแรกที่เขียนด้วยภาษาตากกาล็อกคือ Doctina Cristina ใน พ.ศ. 2136 โดยในหนังือเล่มนี้เขึยนด้วยภาษาสเปน และภาษาตากาล็อก 2 รูปแบบคือใช้อักษรละตินและอักษรบายบายิน ในช่วงที่สเปนยึดครองอยุ่ 333 ปี มีไวยากรณ์และพจนานุกรมเขียนโดยบาทหลวงชาวสเปน
ใน พ.ศ. 2480 ได้มีการสร้างภาษาประจำชาติโดยสถาบันแห่งชาติโดยใช้ภาาาตากาล็อกเป็ฯพื้ฐาน ภาษาประจำชาติที่เคยตั้งชื่อว่า wikang pambansa (ภาษาแห่งชาติ)ดดยประธานาธิบดี มานูแอล เอเล, เกซอน เมื่อ พ.ศ. 2482 ได้ถูกเปลี่ยชื่อเป็นภาษาปิลิปีโนใน พ.ศ. 2520 แต่การเปลี่ยนชื่อนี้ไม่ไ้รับการยอมรับจากผุ้ที่ไม่ได้พูดภาษาตากาล็อกโดยเฉพาะผุ้พุดภาษาเซบัวโน
ใน พ.ศ. 2514 เกิดหัวข้อทางด้านภาษาขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ทำให้เปลี่ยนชื่อภาาาประจำชาติจากภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาฟิลิปีโน โดยภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาที่ปสมลักษณะของภาษาตากาล็อกสำเนียงลูซอนกลาง ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน
การจัดจำแนก ภาษาตากกาล็อกเป็นภาษาในกลุ่มฟิลิปปินส์กลาง ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ีความใกล้เคียงกับภาษาในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียอื่นๆ เช่น ภาาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีติ ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และภาษาไปวัน มีความสัมพันธ์กับภาาาที่พุดในบิกอล และวิซายา เช่น ภาษาบิโกล ภาษาฮิลิไกนอน ภาษาวาไร-วาไร และภาษาเซบัวโน ภาษาที่มีอิทธิพบต่อาษาตากาล็อกที่สำคัญได้แก่ ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอาหรับ ภาษาสันสกฤต ภาษามลายูโลราณ และภาษาทมิฆ
การแพร่กระจายทางภูมิศาสสตร์ ส่วนที่เป็นบ้านเกิดของภาษาตากาล็อกหรือ katagalugan ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้ของเกาะลูซอน โดยเฉพาะในอาโรรา บาตายัน บาตังกัส บูลาจัน ลามารียเหนือ กาบิเต ลากูนา เมโทรมะนิลา นูเอบาเอซิฮา เกซอน และริซัล ภษาตากการล็อกใช้พูดเป็นภาษาแม่โดยผุ้ที่อยู่ในเกาะลูบัว มารินดูเก ทางเหนือแบะทางตะวันตกของมินโดโร มีผุ้พูดประมาณ 64.3 ล้านคน ผู้พูดาษาตากาล็อกยังแพร่กระจายไปยงบริเวณอืนๆ ทั่วโลก แตามีการใช้น้อยในการสื่อสารระหว่างชนกลุ่มน้อยในฟิลิปปินส์ มีผู้พูดภาษานี้ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
ระบบการเขียน ภษาตากาล็อกเคยเขียนด้วยอักษรบายบายิน ก่อนการเข้ามาของสเปน ในศตวรรษที่ 16 อักษรนี้ประกอบด้วยสระ 3 ตัวและพยัญชนะ 14 ตัวเมื่อเที่ยบกับตระกูลอักษรพราหมี อักษรนี้มีความคล้ายคลึงกับอักษรกวิโบราณของชวา ซึ่งเชื่อว่า สืบทอดมาจากอักษรบูกิส ในซูลาเวซี ต่อมาอักษรนี้ได้เลิกใช้ไปเพราะนิยมใช้อักษรละติน ที่เข้ามาในช่วงที่เป็นอาณานิคมของเปน อักษรบายบายินถูกกำหนดด้วยยูนิโคด รุ่น 3.2 ในช่วง 1700-1701F ด้วยชื่อ "Tagalog"
ในช่วงศตวรรษที่ 20 ภาษาตากาล็อกเขียนด้วยอักษรละติน โดยใช้ระบบการออกเสียงของภาษาสเปน เมื่อระบบภาษาประจำชาติได้พัฒนาขึ้นโดยใช้พื้นฐานจากภาษาตากกาล็อก โลป เค. ซานโตส ได้พัฒนาตัวอักษรใหม่ประกอบด้วยอักษร 20 ตัว.. เครื่องหมายng และรูปพหูพจน์ mng เป็นตัวย่อ ออกเสียวว่า นัง และมางา ตามลำดับหมายถึง ของ เมื่อ
ใน พ.ศ. 2516 ได้ประกาศยกเลิกการใช้ภษาปิลิปิโนเป้นภาาาราชการคู่กับภาษาอังกฤษ และได้พัฒนาภาาาประจำชาติขึ้นใหม่ซึ่งเป็ฯที่รู้จักในชื่อภาษาฟิลิปิโน
ความแตกต่างระหว่างภาษาฟิลิปีโนกับภาษาตากาล็อก คำว่าฟิลิปิโนและตากาล็อกเป็นชื่อของภาษาที่ใหกล้เคยงกัน อาจจะหมายถึงภาษาเดียวกันหรือคนละภาษาก็ได้ภษาฟิลิปีโนเป็นภาษาประจภชาติของฟิลิปปินส์ มีผุ้พูดเป็นภาษาแม่ราว 30% ของประชากร 84 ล้านคน และเป็ฯภาษาที่สองของประชกรอีกราว 80% ส่วนภาษาตากกาล็อกมีสถานะเป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตากาล็อกโดยผู้พุดเป็นภาษาแม่น้อยกว่าภาษาฟิลิปิโน เพราะผุ้ที่ไม่ใช่ชาวตากาล็อกซึ่งอยุ่ห่างออกไปจากเขตของชาวตาการล็อกคือภาคกลางและภาคใต้ของเกาะลูซอน ใช้ภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาแม่แต่เรียกตัวเองว่าเป็นชาวตากาล็อกด้วย โดยทั่วไปผุ้ที่พุดภาษาฟิลิปีโนเป็นภาาาแม่จะไม่มีใครพูดว่าใช้ภาษาตาการล็อกเป็นภาษามี่สอง แต่มักถือว่าเป็นผุ้พุดของทั้งสองภาษา ความแตกต่างที่สำคัญอยู่ที่การเขียนและการแปรผันของคำศัพท์มากกว่า
ภาษาฟิลิปิโนเป็นภาษาราชการในโรงเรียนและใช้ในสื่อต่างๆ แต่มีความสำคัญนอยกว่าภาษาอังกษ รวมทั้งในการเรยนการสอนด้านวิทยาศสาตร์แต่ถือว่าคู่คีกับภาษาอังกฤษในด้านการต้าขายและการติดต่อราชการ ภาษาฟิลิปิโนใช้เป็นภาษากลางทั่วประเทศฟิลิปปินส์โดยเฉพาะการบริการสาธารณะในเขตที่ไม่ใช้ภาษาตาการล็อก
ภาษาตากาล็อกเป็นภาษาที่เก่ากว่า มีศุนย์กลางอยุ่ในเขตของชาวตากาล็อกในเกาะลูซอน ภาษาฟิลิปิโนมีประวัติย้อนหลัง ความแตกต่างเร่ิมชัดเจนเมื่อ พ.ศ. 2515 ก่อนจะเป็นภาาาราชการเมือ พ.ศ. 2530 ภาษาฟิลิปิโนมีอักษร 28 ตัว (รวม "ng" ที่ถือเป็นอักษรเดี่ยวและอักษรมี่มาจากภาษาสเปน n ) และมีระบบของเสียงและคำยืมที่เปิดหว้างสำหรับคำยืมจากภาาาต่างชติและภาษาพื้นเมืองอื่นๆ ภาษาตากาล็อกมีอักษร 20 ตัว และระบบของหน่วยสียงที่ไม่เปิดกว้างสำหรับภาษาอื่นนอกจากภาาาละตินของวาติกัน
เนื่องจากตากาล็อกเป็นชื่อของกลุ่มชนด้วย จึงมีความอ่อนไหวทางการเมืองหากจะกล่าวว่าภาษาฟิลิปีโนเป็นภาษาเดียวกับภาษาตากาล็อกคำว่าฟิลิปีโนเป็นคำที่เป็นกลางโดยมาจากชื่อของประเทศไม่ได้มาจากขื่อชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ภาษาฟิลิปิโนมีบทบาทเป็นภาษากลางในบริเวณที่เคยใช้ภาษาอื่นๆ มาก่อน เช่น ในเกาะมินดาเนาที่เคยใช้ภษาเซบัวโนเป้ฯภาาากลางแฃละเมืองบากุยโอที่เขยใช้ภาษาอีโลกาโนเป็นภาษากลาง เนื่องจากภาษาฟิลิปิโนเป็นภาษาในโรงเรียน การศึกษรจะทำให้ช่องว่างระหว่างภาษาตากาล็อกกับภาษาฟิลิปิโน ห่างไกลกันยิ่งขึ้น...th.wikipedia.org/wiki/ภาษาตากาล็อก
วันพุธที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austronesian languages : Sunda (Basa Sunda)
ซุนดาหมายถึง บริเวณภาคใต้ของประเทศไทย ลงไปถึงมาเลเซีย อินโดนีเซีย เกาะบอร์เนียว เกาะสุมาตรา เกาะชวา เกาะบาหลี เกาะซูลาเวซี เกาะลอมบอก เกาะซุมบาวา เกาะฟลอเรส เกาะซุมบา เกาะติมอร์
ชาวซุนดา คือกลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่งในประเทศอินโดนีเซียอาศัยอู่ในพื้นที่ทางตะวันตกของเกาะชวา มีจำนวนประมาณ 31 ล้านคนชาวซุนดาใช้ภาษาหลักคือภาษาซุนดาและนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ เดิมนั้นชาวซุนดามักจะอาศัยอยู่หนาแน่นในจังหวัดชวาตะวันตกฐ บันเดิน และจากการ์ตา รวมทั้งพื้นที่ทางตะวันตกของจังหวัดชวากลาง สำหรับชวากลางและ ชวาตะวันออกนั้น เป็นถ่ิ่นฐานเดิมอขชงชาว ชวา ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดในอินโดนีเซีย
วัฒนธรรมของชาวซุนดานั้นส่วนใหญ่ยืมมาจากวัฒนธรรมชวา แต่มีความแตกต่างออกไปเนื่องจากการนับถือศาสนาอิสลาม และมีลำดับชั้นทางสังคมที่แข้.แกร่งน้อยกว่ามากth.wikipedia.org/wiki/ชาวซุนดา
ภาษาซุนดา เป็นภาษาที่ใช้พุดในหมู่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียน ในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกูลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน สระเดียวมี 7 เสียงคือ a e' i o u e eu พยัญชนะได้แก่ p b t d k c j h ng ny m n s w l r y พยัญชนะอื่นที่ปรากฎในคำยืมจากภาษาอินโดนีเซียน ออกเสียงดังนี้ f ออกเสียงเป็น p v ออกเสียงเป็น p sy ออก เสียงเป็น s sh ออกเสียงเป็น s z ออกเสียงเป็น j kh ออกเสียงเป็น h th.wikipedia.org/wiki/ภาษาซุนดา
หมู่เกาะซุนดา คือหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซีย ประกอบด้วยหมุ่เกาะซุนดาใหญ่ ประกอบด้วย เกาะบอร์เนียว เกาะชวา เกาะสุมาตรา เกาะซูลาเวซี หมู่เกาะซุนดาน้อย ประกอบด้วย บาหลี หมู่เกาะลอมบอก หมู่เกาะซุมบาวา หมู่เกาะฟลอเรส หมู่เกาะซุมบา หมู่เกาะติมอร์ ปัจจุบันอาณาบริเวณของหมุ่เกาะนี้ถูกแบ่งออกเป็นพื้นที่ของประเทศบรูไน ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย และมเซียth.wikipedia.org/wiki/หมู่เกาะซุนดา
ไหล่ทวีปซุนดา เป็นแลนด์ลริดจ์ต่อกับซาฮุลตรงช่องแคบวอลเลซที่บรรพบุรุษคนอเบอริจิ้นใช้ข้ามอพยพไปอยู่บนทวีปออสเตรเลียเนื่องจากเคยเป็นแผนดิน ทำให้ หลักฐานการตั้งหลักแหล่งจมอยุ่ใต้น้ำ เพราะคาบสมุทรมาลายาที่เราเห็น แท้จริงคือเขตสันภูเขา และอ่าวไทยไม่ลึกนัก นัดเดินเรือน้ำลึกลำบาก ชีวมวลทั้งหลายจมน้ำแลโดนบีบอัดเป็นปิโตเลียม โดยจะเห็นได้จาก ถ้าเวียดนามและพม่ามีปิโตรเลียม ทะเลระหว่างญี่ป่นุ-จีน-เกาหลีก็มีปิโตเลียม ปรเทศไทยเราก็มีเช่นกันhttp://konthaigupandin.blogspot.com
เขตชีวภาพซุนดาแล้นด์ เป็นชื่อเรียกการแบ่งเขตภูมิศาสตร์ทางชีวภาพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเรียกบริเวณตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศไทยลงไปถึงมาเลเซีย, อินโดนีเซีย, เกาะบอร์เนียว, เหาะสุมาตร, เกาะชวาและเกาะบาหลี
โดยสภาพอากาศของซุนดาแลนด์นั้น มีความชื้นสูง ในบางพื้นที่ฝนอาจตกติดต่อกันหลายวันจนะเป็นสัปดาห์ ความแตกต่างของแต่ละฤดูกาลมีไม่มากนัก พรรณพืชที่ขึ้นนั้นโดยมากเ็นพืชที่ไม่ต้องใช้แสงอาทิตย์ในการเติบโต ลักษณะป่าเป็นป่าดิบชื้นมีต้นไใ้ขนาดใหญ่ขึ้นหนาแน่น สัตว์ป่าที่อยุ่อาศัย มักเป็นสัตว์ที่หากินตามพื้นหรือสามารถอาศัยหากินได้บนต้นไม่สูง th.wikipedia.org/wiki/ซุนดาแลนด์
ชนกลุ่มน้อยที่มีจำนวนน้อยที่สุดในอินโดนีเซีย "บาดุย" รวมทั้งหมดแล้วอาจไม่เกิน หนึ่งพันคน เรื่องราวของพวกเขามีคนรู้น้อยมาก รวมทั้งนักวิชาการที่พยายามเข้าไปศึกษามาเกือบ 200 ปีแล้ว ก็แทบจะหาข้อมูลอะไรเกี่ยวกับพวกเขาได้ยาก เพราะบาดุยปิดตัวเอง ไม่อยากคบหาสมาคมกับใครเพราะเกรงว่าจะทำให้ตัวต้อง "แปดเปื้อน" ด้วยสิ่งที่เรียกว่าอารยธรรมในปัจจุบัน
ชาติพันธ์กลุ่มนี้ตั้งภูมิลำเนาอยุ่ในซุนดา ไม่ไกลจากเทือกเขาต่างๆ แถบเมืองโบกอร์นัก คือบนทิวเขาบาดุย ซึงมีแม่น้ำชื่อเดียวกันในหุบ ชื่อของชนเผ่าจึงมาจากชื่อสถานที่ซึ่งพวกเขาเห็นว่าเป้นคำที่ออกจะเหยียดๆ เพราะพวกเขาเรียกตัวเองว่าคน "ราวาจัน" จะว่าชื่อนี้เป็นชื่อที่สูงส่งก็ไม่เชิงที่เดียว เพราะป็นชื่อของปมุ่บ้านที่เขาอาศยอยุ่เท่านั้นเอง บาดุยเป็นชื่อภูเขา คงทำให้รู้สึกว่าตัวเป็นชาวป่าชาวเขา ในขณะที่อย่างน้อยราวาจันก็เป็นชื่อบ้าน ฟังดูะป็นชาวบ้านกว่าเท่านั้นเอง
พวกเขาเป็นใครมาจากไหนแน่ ไม่มีใครรู้ชัด แต่มีตำนานที่เล่ากันมาในปมุ่พวกเขาเองว่ เมื่อตอนเมอืงทางตอนเหนือของซุนดาเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ผุ้ปกครองมุสลิมขยายอำนาจเข้าไปส่วนในของเกาะชวา อาณาจักรฮินดู-พุทธของซุนดาขณะนั้นคือปะจาจะรัน ถูกมุสลิมโจมตีแตกสลาย ประชาชนและผู้ปกครองถูกบังคับให้เปลี่ยนศาสนา คนกลุ่มหนึ่งไม่ยอมเปลี่ยนจึงต้องหลบหนีไปอยุ่ตามป่าเขา เลือกทำเลได้ที่ภูเขาบาดุยนี้ อันเป็นที่ห่างไกลแต่อุดาสมบูรณ์ และอยุ่กันมาดดยไม่ถูกรบกวนจนถึงทุกวันนี้...
นักวิชาการสามารถพิสุจน์ตำนานนี้ได้เพียงว่า พวกบาดุยน่าจะเป็นชาวซุนดาอย่างไม่ต้องสงสัย เพราะภาษาของเขาเป็นภาษาซุนดาเก่าแน่ ส่วนเรื่องการหนีมุสลิมนันไม่ทราบว่าจริงหรือไม่ แต่จนถึงทุกวันนี้พวกเขาก็เป็นชาวพื้นเมืองจำนวนน้อยนิดบนเกาะชวา ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลาม
ศาสนาที่พวกเขานับถือคือศาสนาที่อาจเรียกกว้างๆ ว่า ศาสนาพื้นเมือง แต่ในขณะเดียวกันก็มีร่องรอยว่าผสมปนเปด้วยศาสนาจากภายนอกคือฮินดูและพุทธด้วยแน่ แม้แต่ศาสนาอิสลามเองก็อาจมีอิทธิพลในความเชื่อของเขาด้วย เพราะเขาเรียกพระเจ้าสูงสุดของเขาว่า Batara Badui Dalam แปลวว่า บาดุยส่วนใน ประกอบด้วยหมุ่บ้านสามหมุ่บ้าน แต่ละหมุ่บ้านมีหัวหน้าเรียกว่า ปุอุน ซึ่วมีบริวารคอยช่วยเหลือในการปกครองดูแลลูกบ้าน ชาวย้านเชื่อว่าปูอุนแต่ละคนล้วนสืบเชื่อสายมาจากาบาตาราตุงกั ฉะนั้น จึงมีอิทธิฤทธิ์บางอย่าง เช่น เรียกฝนหรือหยุดฝนได้ ตลอดจนมีญาณทิพย์อาจล่วงรุ้อะไรต่อมิอะไรได้หมด ทั้งความรุ้ทางวิทยาศาสตร์ซึ่วฝรั่งเพ่ิงมารู้ในภายหัง และใครล่วงละเมิดข้อห้ามต่างๆ ของชนเผ่า
ในสามาหมู้บ้านของบาดุยส่วนในนี้ จะมีครัวเรือนรวมกันเกิน 40 ครัวเรือนไม่ได้ เพราะฉะนั้น หากมีครัวเรือนเพ่ิมขึ้น บาดุยก็จะตัดสินว่าครัวเรือนใดจะต้องย้ายออกไป
การเพาะปลูกไม่มีการทดน้ำ ซ่ำยังค่อยข้าต่อต้านการทดน้ำด้วย เพราะเชื่อว่าปูอนมีอิทธิฤทธิ์เรียกวฝนหรือห้ามฝนได้ จึงไม่จำเป็นต้องมีการชลประทาน บาดุยมองการชลประทานว่าผิดธรรมชาติ และไม่ยอมให้นายอำเภอในเขตใกล้เคยงพัฒนาชลประทาน หากต้องมาละเมิดน้ำส่วยที่ผ่านหมู่บ้าของบาดุย การเลี้ยงสัตว์เป็นการละเมิดข้อห้ามของบาดุย มีสัตว์เล้ยงอยุ่เพียงสุนัข เป็นและไก่ เท่านั้น และด้วยเหตุดัง จึงไม่ค่อยได้ใช้เครืองมือในกาเรพาะปลูก และคงแทบไม่ได้เตรียมดิน เพราะจะใช้แม้แต่จอบก็ถือว่าละเมิดข้อห้ามเหมือนกัน
เมื่อดูจากข้อกำหนดมิให้สมหาู่บ้านในบาดุยส่วนในมีมากกว่า 40 ครัวเรือน บวกกับข้อห้ามต่างๆ แล้วก็พอจะเห็นได้ว่า ชีวิตของเขาคงอยู่กันอย่าง "พอเพียง" จริงๆ คืออาศัยทรัพยากรจากธรรมชาติดดยตรงเป็นส่วนใหญ่ และด้วยเหตุดังนี้นจึงไม่สามารถรองรับคนได้เกิน 40 ครัวเรือน เพราะต้องจำกัดคนให้พอดีกับทรัพยากรที่มีอยุ่...
ข้อห้ามในชีวิตของบาดุนั้นมีหลายอย่าง จะแตะต้องเงินตราไม่ได้เป็นอันขาด ไม่รับของขวัญจากใครไม่ขึ้นพาหนะใดๆ ทั้งสิ้น ห้ามดื่มเหล้าและสูบบุหรี่อย่างเด็ดขาด ไม่มองผู้หญิงด้วยตัฯหา ไม่นอนบนสิ่งใดนอกจากเสื่อซึ่งต้องลาดบนพื้นดินเท่านั้น ไม่กินอาหารเย็นก่อนค่ำ ไม่นุ่งผ้าสีดื่อนใดจอกจากขาว น้ำเงิน และดำ นอกจากข้อห้ามในการดำเนินชีวิตแล้ว ยังมีข้อห้ามหรือศีลในศาสนาซึ่งคล้ายฟ กับศีลในพุทธศาสนา เช่น ห้ามฆ่า ห้ามขโมย ห้ามผิดลูกเมีย และห้าใช้ความรุนแรง เป็นต้น
ข้อห้ามสำคัญอีกอย่างของบดุย คือห้ามการอ่านเขียนหนังสือ เพราะเชื่อว่าการศึกษาที่ต้องอ่านเขียนได้ย่อมนำความเสื่อมาให้ การศึกษาที่ประเสริฐต้องเรยนรุ้จากะรรมชาติและวัฒนธรรมที่ตกทอดมากจากบรรพบุรุษ..
ความพยายามที่จะอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ และเผ้าระวังรักษาจิจใจตนเองด้วยการทำสมาธิและถือศีลเคร่งครัด ทำความลำบากใจแก่รัฐบาลอินโดนีเซียพอสมควร อดีตประธานาธิบดีซูฮาร์โตเคยของพบปูอุนทั้งสามโดยเดินทงมาเจรจากันในบาดุยส่วนนอก ปรธานาธิบดีเสนอดครงการพัฒนามากมายหลายอย่างแต่ชาวบาดุยขออยุ่อย่างเดิม ซูฮาร์โตต้องกลับไปโดยไม่สามารถเปิดดินแดนบาดุยให้แก่การพัฒนาตามดรงการของรัฐได้ ซูฮาร์โตปล่อยให้บาดุยดำเนินชีวิตตามอุดคติของเขาืบมาจนทุกวันนี้..http://serichon.org/board/index.php?topic=42278.0;wap2
ชาวซุนดา คือกลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่งในประเทศอินโดนีเซียอาศัยอู่ในพื้นที่ทางตะวันตกของเกาะชวา มีจำนวนประมาณ 31 ล้านคนชาวซุนดาใช้ภาษาหลักคือภาษาซุนดาและนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ เดิมนั้นชาวซุนดามักจะอาศัยอยู่หนาแน่นในจังหวัดชวาตะวันตกฐ บันเดิน และจากการ์ตา รวมทั้งพื้นที่ทางตะวันตกของจังหวัดชวากลาง สำหรับชวากลางและ ชวาตะวันออกนั้น เป็นถ่ิ่นฐานเดิมอขชงชาว ชวา ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดในอินโดนีเซีย
วัฒนธรรมของชาวซุนดานั้นส่วนใหญ่ยืมมาจากวัฒนธรรมชวา แต่มีความแตกต่างออกไปเนื่องจากการนับถือศาสนาอิสลาม และมีลำดับชั้นทางสังคมที่แข้.แกร่งน้อยกว่ามากth.wikipedia.org/wiki/ชาวซุนดา
ภาษาซุนดา เป็นภาษาที่ใช้พุดในหมู่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียน ในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกูลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน สระเดียวมี 7 เสียงคือ a e' i o u e eu พยัญชนะได้แก่ p b t d k c j h ng ny m n s w l r y พยัญชนะอื่นที่ปรากฎในคำยืมจากภาษาอินโดนีเซียน ออกเสียงดังนี้ f ออกเสียงเป็น p v ออกเสียงเป็น p sy ออก เสียงเป็น s sh ออกเสียงเป็น s z ออกเสียงเป็น j kh ออกเสียงเป็น h th.wikipedia.org/wiki/ภาษาซุนดา
หมู่เกาะซุนดา คือหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซีย ประกอบด้วยหมุ่เกาะซุนดาใหญ่ ประกอบด้วย เกาะบอร์เนียว เกาะชวา เกาะสุมาตรา เกาะซูลาเวซี หมู่เกาะซุนดาน้อย ประกอบด้วย บาหลี หมู่เกาะลอมบอก หมู่เกาะซุมบาวา หมู่เกาะฟลอเรส หมู่เกาะซุมบา หมู่เกาะติมอร์ ปัจจุบันอาณาบริเวณของหมุ่เกาะนี้ถูกแบ่งออกเป็นพื้นที่ของประเทศบรูไน ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย และมเซียth.wikipedia.org/wiki/หมู่เกาะซุนดา
ไหล่ทวีปซุนดา เป็นแลนด์ลริดจ์ต่อกับซาฮุลตรงช่องแคบวอลเลซที่บรรพบุรุษคนอเบอริจิ้นใช้ข้ามอพยพไปอยู่บนทวีปออสเตรเลียเนื่องจากเคยเป็นแผนดิน ทำให้ หลักฐานการตั้งหลักแหล่งจมอยุ่ใต้น้ำ เพราะคาบสมุทรมาลายาที่เราเห็น แท้จริงคือเขตสันภูเขา และอ่าวไทยไม่ลึกนัก นัดเดินเรือน้ำลึกลำบาก ชีวมวลทั้งหลายจมน้ำแลโดนบีบอัดเป็นปิโตเลียม โดยจะเห็นได้จาก ถ้าเวียดนามและพม่ามีปิโตรเลียม ทะเลระหว่างญี่ป่นุ-จีน-เกาหลีก็มีปิโตเลียม ปรเทศไทยเราก็มีเช่นกันhttp://konthaigupandin.blogspot.com
เขตชีวภาพซุนดาแล้นด์ เป็นชื่อเรียกการแบ่งเขตภูมิศาสตร์ทางชีวภาพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเรียกบริเวณตั้งแต่ภาคใต้ของประเทศไทยลงไปถึงมาเลเซีย, อินโดนีเซีย, เกาะบอร์เนียว, เหาะสุมาตร, เกาะชวาและเกาะบาหลี
โดยสภาพอากาศของซุนดาแลนด์นั้น มีความชื้นสูง ในบางพื้นที่ฝนอาจตกติดต่อกันหลายวันจนะเป็นสัปดาห์ ความแตกต่างของแต่ละฤดูกาลมีไม่มากนัก พรรณพืชที่ขึ้นนั้นโดยมากเ็นพืชที่ไม่ต้องใช้แสงอาทิตย์ในการเติบโต ลักษณะป่าเป็นป่าดิบชื้นมีต้นไใ้ขนาดใหญ่ขึ้นหนาแน่น สัตว์ป่าที่อยุ่อาศัย มักเป็นสัตว์ที่หากินตามพื้นหรือสามารถอาศัยหากินได้บนต้นไม่สูง th.wikipedia.org/wiki/ซุนดาแลนด์
ชนกลุ่มน้อยที่มีจำนวนน้อยที่สุดในอินโดนีเซีย "บาดุย" รวมทั้งหมดแล้วอาจไม่เกิน หนึ่งพันคน เรื่องราวของพวกเขามีคนรู้น้อยมาก รวมทั้งนักวิชาการที่พยายามเข้าไปศึกษามาเกือบ 200 ปีแล้ว ก็แทบจะหาข้อมูลอะไรเกี่ยวกับพวกเขาได้ยาก เพราะบาดุยปิดตัวเอง ไม่อยากคบหาสมาคมกับใครเพราะเกรงว่าจะทำให้ตัวต้อง "แปดเปื้อน" ด้วยสิ่งที่เรียกว่าอารยธรรมในปัจจุบัน
ชาติพันธ์กลุ่มนี้ตั้งภูมิลำเนาอยุ่ในซุนดา ไม่ไกลจากเทือกเขาต่างๆ แถบเมืองโบกอร์นัก คือบนทิวเขาบาดุย ซึงมีแม่น้ำชื่อเดียวกันในหุบ ชื่อของชนเผ่าจึงมาจากชื่อสถานที่ซึ่งพวกเขาเห็นว่าเป้นคำที่ออกจะเหยียดๆ เพราะพวกเขาเรียกตัวเองว่าคน "ราวาจัน" จะว่าชื่อนี้เป็นชื่อที่สูงส่งก็ไม่เชิงที่เดียว เพราะป็นชื่อของปมุ่บ้านที่เขาอาศยอยุ่เท่านั้นเอง บาดุยเป็นชื่อภูเขา คงทำให้รู้สึกว่าตัวเป็นชาวป่าชาวเขา ในขณะที่อย่างน้อยราวาจันก็เป็นชื่อบ้าน ฟังดูะป็นชาวบ้านกว่าเท่านั้นเอง
พวกเขาเป็นใครมาจากไหนแน่ ไม่มีใครรู้ชัด แต่มีตำนานที่เล่ากันมาในปมุ่พวกเขาเองว่ เมื่อตอนเมอืงทางตอนเหนือของซุนดาเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ผุ้ปกครองมุสลิมขยายอำนาจเข้าไปส่วนในของเกาะชวา อาณาจักรฮินดู-พุทธของซุนดาขณะนั้นคือปะจาจะรัน ถูกมุสลิมโจมตีแตกสลาย ประชาชนและผู้ปกครองถูกบังคับให้เปลี่ยนศาสนา คนกลุ่มหนึ่งไม่ยอมเปลี่ยนจึงต้องหลบหนีไปอยุ่ตามป่าเขา เลือกทำเลได้ที่ภูเขาบาดุยนี้ อันเป็นที่ห่างไกลแต่อุดาสมบูรณ์ และอยุ่กันมาดดยไม่ถูกรบกวนจนถึงทุกวันนี้...
นักวิชาการสามารถพิสุจน์ตำนานนี้ได้เพียงว่า พวกบาดุยน่าจะเป็นชาวซุนดาอย่างไม่ต้องสงสัย เพราะภาษาของเขาเป็นภาษาซุนดาเก่าแน่ ส่วนเรื่องการหนีมุสลิมนันไม่ทราบว่าจริงหรือไม่ แต่จนถึงทุกวันนี้พวกเขาก็เป็นชาวพื้นเมืองจำนวนน้อยนิดบนเกาะชวา ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลาม
ศาสนาที่พวกเขานับถือคือศาสนาที่อาจเรียกกว้างๆ ว่า ศาสนาพื้นเมือง แต่ในขณะเดียวกันก็มีร่องรอยว่าผสมปนเปด้วยศาสนาจากภายนอกคือฮินดูและพุทธด้วยแน่ แม้แต่ศาสนาอิสลามเองก็อาจมีอิทธิพลในความเชื่อของเขาด้วย เพราะเขาเรียกพระเจ้าสูงสุดของเขาว่า Batara Badui Dalam แปลวว่า บาดุยส่วนใน ประกอบด้วยหมุ่บ้านสามหมุ่บ้าน แต่ละหมุ่บ้านมีหัวหน้าเรียกว่า ปุอุน ซึ่วมีบริวารคอยช่วยเหลือในการปกครองดูแลลูกบ้าน ชาวย้านเชื่อว่าปูอุนแต่ละคนล้วนสืบเชื่อสายมาจากาบาตาราตุงกั ฉะนั้น จึงมีอิทธิฤทธิ์บางอย่าง เช่น เรียกฝนหรือหยุดฝนได้ ตลอดจนมีญาณทิพย์อาจล่วงรุ้อะไรต่อมิอะไรได้หมด ทั้งความรุ้ทางวิทยาศาสตร์ซึ่วฝรั่งเพ่ิงมารู้ในภายหัง และใครล่วงละเมิดข้อห้ามต่างๆ ของชนเผ่า
ในสามาหมู้บ้านของบาดุยส่วนในนี้ จะมีครัวเรือนรวมกันเกิน 40 ครัวเรือนไม่ได้ เพราะฉะนั้น หากมีครัวเรือนเพ่ิมขึ้น บาดุยก็จะตัดสินว่าครัวเรือนใดจะต้องย้ายออกไป
การเพาะปลูกไม่มีการทดน้ำ ซ่ำยังค่อยข้าต่อต้านการทดน้ำด้วย เพราะเชื่อว่าปูอนมีอิทธิฤทธิ์เรียกวฝนหรือห้ามฝนได้ จึงไม่จำเป็นต้องมีการชลประทาน บาดุยมองการชลประทานว่าผิดธรรมชาติ และไม่ยอมให้นายอำเภอในเขตใกล้เคยงพัฒนาชลประทาน หากต้องมาละเมิดน้ำส่วยที่ผ่านหมู่บ้าของบาดุย การเลี้ยงสัตว์เป็นการละเมิดข้อห้ามของบาดุย มีสัตว์เล้ยงอยุ่เพียงสุนัข เป็นและไก่ เท่านั้น และด้วยเหตุดัง จึงไม่ค่อยได้ใช้เครืองมือในกาเรพาะปลูก และคงแทบไม่ได้เตรียมดิน เพราะจะใช้แม้แต่จอบก็ถือว่าละเมิดข้อห้ามเหมือนกัน
เมื่อดูจากข้อกำหนดมิให้สมหาู่บ้านในบาดุยส่วนในมีมากกว่า 40 ครัวเรือน บวกกับข้อห้ามต่างๆ แล้วก็พอจะเห็นได้ว่า ชีวิตของเขาคงอยู่กันอย่าง "พอเพียง" จริงๆ คืออาศัยทรัพยากรจากธรรมชาติดดยตรงเป็นส่วนใหญ่ และด้วยเหตุดังนี้นจึงไม่สามารถรองรับคนได้เกิน 40 ครัวเรือน เพราะต้องจำกัดคนให้พอดีกับทรัพยากรที่มีอยุ่...
ข้อห้ามในชีวิตของบาดุนั้นมีหลายอย่าง จะแตะต้องเงินตราไม่ได้เป็นอันขาด ไม่รับของขวัญจากใครไม่ขึ้นพาหนะใดๆ ทั้งสิ้น ห้ามดื่มเหล้าและสูบบุหรี่อย่างเด็ดขาด ไม่มองผู้หญิงด้วยตัฯหา ไม่นอนบนสิ่งใดนอกจากเสื่อซึ่งต้องลาดบนพื้นดินเท่านั้น ไม่กินอาหารเย็นก่อนค่ำ ไม่นุ่งผ้าสีดื่อนใดจอกจากขาว น้ำเงิน และดำ นอกจากข้อห้ามในการดำเนินชีวิตแล้ว ยังมีข้อห้ามหรือศีลในศาสนาซึ่งคล้ายฟ กับศีลในพุทธศาสนา เช่น ห้ามฆ่า ห้ามขโมย ห้ามผิดลูกเมีย และห้าใช้ความรุนแรง เป็นต้น
ข้อห้ามสำคัญอีกอย่างของบดุย คือห้ามการอ่านเขียนหนังสือ เพราะเชื่อว่าการศึกษาที่ต้องอ่านเขียนได้ย่อมนำความเสื่อมาให้ การศึกษาที่ประเสริฐต้องเรยนรุ้จากะรรมชาติและวัฒนธรรมที่ตกทอดมากจากบรรพบุรุษ..
ความพยายามที่จะอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ และเผ้าระวังรักษาจิจใจตนเองด้วยการทำสมาธิและถือศีลเคร่งครัด ทำความลำบากใจแก่รัฐบาลอินโดนีเซียพอสมควร อดีตประธานาธิบดีซูฮาร์โตเคยของพบปูอุนทั้งสามโดยเดินทงมาเจรจากันในบาดุยส่วนนอก ปรธานาธิบดีเสนอดครงการพัฒนามากมายหลายอย่างแต่ชาวบาดุยขออยุ่อย่างเดิม ซูฮาร์โตต้องกลับไปโดยไม่สามารถเปิดดินแดนบาดุยให้แก่การพัฒนาตามดรงการของรัฐได้ ซูฮาร์โตปล่อยให้บาดุยดำเนินชีวิตตามอุดคติของเขาืบมาจนทุกวันนี้..http://serichon.org/board/index.php?topic=42278.0;wap2
วันอังคารที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austronesian languages : Basa Jawa
การกำหนดลักษรณะทั่วไปของตะกุลภาาาออสโตนีเซียนทำได้ยากเพราะเป็นตระกูลที่กว้างมาก และมีความหลากหลาย โดยทั่วไปแบ่งได้เป็นสามกลุ่มย่อยคือ
- ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประดยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้นของกริยา
- ภาษาแบบอินโดนีเซีย
- ภาษาแบบหลังดินโดนีเซีย
ภาษาในตระกูลนี้มีผุ้พูดมากกว่า 4 ล้านคน ได้แก่
ภาษาชวา คือภาษาพูดของผุ้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75 ล้านคน ภาษาชวาอยุ่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนจึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียนและภาษามลายู ผุ้พูดภาษาชวาพุดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่นๆ มีชุมชนผุ้พุดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์ และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาำม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลยูได้
ภาษาชวาอยุ่ในกลุ่มย่อยซุนดาของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก มีลักษระทางภาษาศาสตร์กล้เคียงกับภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภาษามาดูรา ภาษาบาหลี และภาษากลุ่มุมาตราและบอร์เนียวอื่ๆน รวมทั้งภาษามาลากาซีและภาษาฟิลิปิโน ภาาาชวาใช้พุดในบริเวณชวากลางและชวาตะวันออกและชายฝั่งทางเหนือขปงชวาตะวันตก ภาษาชวาได้ใช้เป็นภาษาเขียนควบคู่ไปด้วย เป้นภาษาในศาลที่ปาเล็มบัง สุมาตราใต้จนกระทั่งถูกดัตช์ยึดครองเมื่อพุทธศตวรรษที่ 23
ภาษาชวาจัดว่าเป้นภาษาคลาสสิกภาษาหนึ่งของโลก มีวรรณคดีมานานถึง 12 ศตวรรษ นักวิชาการแบ่งภาษาชวาออกเป็นสี่ยุคด้วยกันคือภาษาชวาโบราณ เร่ิมจากพุทธศตวรรษที่ 14 ภาษาชวายุคกลางเริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 18 ภาษาชวายุคใหม่เริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 21 และภาษาชวาปัจจุบันเริ่มในพุทธศตวรรษที่ 25 ภาษาชวาเขียนด้วยออักษรชวาที่พัฒนามาจากอักษรพราหม่ อักษรอาหรับ-ชวาที่เป็นอักษรอาหรับดัดแปลงสำหรับภาษาชวา และอักษรละติน
แม้ว่าจะไม่มีสถานะเป็นภาษาราชการ ภาาาชวาถือวาเป็นภาาาในตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนที่มีผุ้พุดเป็นภาาาแม่มาอกประมาณ 80 ล้านคนอย่างน้อย 45% ของประชากรทั้งหมดในอินโดนีเซียเป็นผุ้พุดภาษาชวาหรืออยุ่ในบริเวณที่ใช้ภาษาชวาเป็นภาษาหลัก และมีอิทธิพลอย่างมากต่อภาษาอินโดนีเซียที่เป้ฯสำเรียงหนึ่งของภาษามลายู ภาษาชวามีสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ ชวากลาง ชวาตะวันออก และชวาตะวันตก
Ngoko เป็นการพูดอย่างไม่เป็นทางการระหวางเพื่อปละฐาติสนิทและใช้ดดยคนที่ีฐานะสุงกว่าเมื่อพุดกับคนที่มีฐานะต่ำกว่า เช่นผุ้ใหญ่ใช้กับเด็
Madya เป็นรูปแบบกลางๆ ระหว่าง Ngoko กับ Krama สำหรับในสถานะที่ไม่ต้องการทั้งความเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
Krama เป็นแบบที่สภาพและเป็นทางการ ใช้กับคนที่อยุ่ในถานะเดียวกัน เป็นรูปแบบที่ใช้พุดในที่สาธารณะ การประกาสต่างๆ ใช้ดดยคนที่มีฐานะต่ำกว่าเมือพูดกับคนที่มีฐานะสูงกว่า เช่น เด็พูดกับผู้ใหญ่
สภานะในสังคมที่มีผลต่อรูปแบบของภาษาชวากำหนดดดยอายุหรือตำแหน่งในสังคม การเลือกใช้ภาษาระดับใดนั้นต้องอาศัยความรอบรู้ในวัฒนะรรมชวาและเป้นสิ่งท่ยากสำหรับการเรียนภาษาชวาของชาวต่างชาติ
สำเนียงของภาษาชวาแบ่งได้เป็นามกลุ่มตามบริวเณย่อยที่มีผุ้พุดภาษาเหล่านี้อาเศัยอยุ่ คือ ภาษาชวากลาง ภาษาชวาตะวนออก และภาษาชวาตะวันตก ความแตกต่างระหว่างสำเนียงอยุ่ที่การออกเสียงและคำศัพท์
ภาษาชวากลางเปนสำเนียงที่ใช้พุดในสุกรการ์ตา และยอร์กยาการ์ตา ถือเป็นเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษานี้ มีผุ้พุดกระจายตั้งแต่เหนือถึงใต้ของจังหวัดชวากลาง
ภาษาชวาตะวันตกใช้พูดทางตะวันตกอขงจังหวัดชวากลางและตลอดทั้งจังหงังาตะวันตก โดดยเฉพาะชายฝั่งทางตอนเหนือ ได้รับอิทธิพลจากภาษาซุนดา และยังมีศัพท์เก่าๆ อยู่มาก
ภาษาชวาตะวันออกเริ่มใช้พุจาฝั่งตะวันออกของกาลี บรันตัส เกอร์โตโซโนไปจนถึงบาญังกี ครอบคลุมบริเวณส่วนใหญ่ของ จ. ชวาตะวันออก รวมเกาะมาดูราด้ว สำเรียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษามาดูรา สำเนียงตะวันออกสุดได้รับอิทธิพลจากภาษาบาหลี
การออกเสียง ชาวชวาส่วนใหญ่ยกเว้นในชวาตะวันตก ยอมรับการออกเสียง a เป็น/ออ/เช่น apa ในภาษาชวาตะวันตกออกเสียงเป็นอาปา ส่วนภาษาชวากลางและภาษาชวาตะวันออก ออกเสียงเป็นออปอ เมื่อมีหน่วยเสียงที่มีดครงสร้างเป็นสระ-พยัญชนะ-สระ โดยสระทั้งสองเสียงเป็นเสียงเดียวกัน ภาษาชวากลางลดเสียงสระตัวท้าย i เป็น e และ u เป็น o ภาษาชวาตะวันออกลดทั้งสองเสียงส่วนภาษาชวาตะวันตกคงเสียงเดิมไว้ เช่น cilik ภาษาชวากลางเป็น จิเละ ภาษาชวาตะวันออกเป็น เจะเละ ภาษาชวาตะวันตกเป็น จิลิก
ภาษาชวาโบราณ หลักฐานการเขียนในเกาะชวาย้อหลังไปได้ถึงยุคของจารึกภาษาสันสกฤต จารึกตรุมเนคระ ใน พ.ศ. 993 ส่วนการเขียนด้วยภาษาชวาที่เก่าที่สุดคือจารึกสุกภูมิซึ่งระบุวันที่ 25 มินคม พ.ศ. 1346 จารึกนี้พบที่เกอดีรีในชวาตะวันออกและเป็นสำเนาของจารึกต้นฉบับที่น่าจะมีอายุ 120 ปีก่อนหน้านั้น แต่หลักฐานเหลือเพียงจารึกที่เป้นสำเนาเท่านั้น เนื้อหากล่างถึงการสร้างเขื่อนใกล้กับแม่น้ำสรินยังในปัจจุบัน จารึกนี้เปนจารึกรุ่นสุดท้ายที่ใช้อักษรปลลงะ จารึกรุ่นต่อมาเริ่มใช้อักษรชวา
ในพุทธศตวรรษที่ 13-14 เป็นยุคที่เร่ิมมีวรรณคดีพื้นบ้านในภาษาชวา เช่น สัง ฮยัง กะมาฮะยานีกัน ที่ได้รับมาจากพุทธศาสนา และกากาวัน รามายานา ที่มาจากรามายณะฉบับภาษาสันสกฤต แม้วาภาษาชวาจะใช้เป็นภาาาเขียนที่หลังภาาามลายุ แต่วรรณคดีภาษาชวายังได้รับการสืบทอดจนถึงปัจจุบัน เช่นวรรณคดีที่ได้รับมาจากรามายณะและมหาภารตะยังได้รับการศึกษาจนถึงทุกวันนี้
การแพร่กระจายของวัฒนธรรมชวารวมทั้งอักษรชวาและภาาาชวาเร่ิมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1836 ซึ่งเกิดขากการขยายตัวไปทางตะวันออกของราชอาณาจักรมัชปาหิตซึ่งเป็นอาณาจักรที่นับถือศาสนาพราหมณ์และศสนาพุทธ ไปสู่เกาะมาดูรและเกาบาหลี ภาษาชวาแพร่ไปถึงเกาะบลาหลีเมื่อ พ.ศ. 1906 และมีอิทธิพลอย่างชึกซึ้ง ดดยภาาชวาเข้ามาแทนที่ภาษาบาหลีในฐานะภาาาทางการปกครองและวรรณคดี ชาวบาหลีรักษาวรรณคดีเก่าที่เป็นภาาาชวาไว้มา และไม่มีกรใช้ภาษาบาหลีเป็นภาษาเขียนจนถึงพุทธศตวรรษที่ 24
ในยุคของราชอาณาจักรมัชปาหิจ ได้เกิดภาษาใหม่ขึ้นคือภาษาชวายุคกลางที่อยุ่ระหว่งภาษาชวาโบราณและภาาาชวาสมัยใหม่ จริงๆ แล้ว ภาษาชวายุคกลางมีความคล้ายคลึงกับภาาาชวาสมัยใหม่จนผุ้พูดภาาชวาสมัยใหม่ที่ศึกษาวรรณคดี สามารถเข้าใจได้ ราชอาณาจักรมัชปาหิจเสื่อมลงเนื่องจากการรุกรานของต่างชาติและอิทธิพลของศาสนาอิสลาม และการคุกคามของสุลต่านแห่งเดมัที่อยู่ทางชายฝั่งด้านเหนือของเกาะชวา ราชอาณาจักรมัชปาหิติ้นอำนาจลงเมื่อ พ.ศ. 2021
ภาษาชวาใหม่ ภาษาชวาสมัยใหม่เร่ิมปรากฎเมื่อพุทธศตวรรษที่ 21 พร้อมๆ กับการเข้ามามีอิทฑิพลของศาสนาอิสลาม และการเดิกรัฐสุลต่านมะตะรัม รัฐนี้เป็นรัฐอิสลามที่สืบทอดวัฒนธรรมดั้งเดมจากยุคราชอาณาจักรมัชปาหิตวัฒนธรรมชวาแพร่หลายไปทางตะวันตก เมื่อรัฐมะตะรัมพยายามแพร่อิทธิพลไปยังบริเวณของผุ้พูดภาษาซุนดาทางตะวันตกของเกาะชวาทำให้ภาษาชวากลายเป็นภาษาหลักในบริเวณนั้น เช่นเดียวกับภาษาบาหลี ไม่มีกรใช้ภาษาซุนดาเป็นภาาาเขียนจนถึงพุทธศตวรรษที่ 24 และได้รับอิทธิพลจากภาษาชวามาก คำศัพท์ 40 % ในภาษาซุนดาได้มาจากภาษาชวา
แม้จะเป็นจักรวรรดิอิสลาม และราชอาณาจักรมะตะรัมก็ยังรักษาหน่วยเดิมที่มาจากวัฒนธรรมเก่าไว้และพยายามรวมเข้ากับศาสนาใหม่ จึงเป็นเหตุผลที่ยังคงมีการใช้อักษรชวาอยุ่ ในขณะที่อักษรดั้งเดิมของภาษามลายูเลิกใช้ไปตั้งแต่เล่ยนมานับถือศาสนอิสลาม โดยหันไปใช้อักษรที่มาจากอัษรอาหรับแทน ในยุคที่ศาสนาอิสลามกลังรุ่งเรืองราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เกิดภาชวาใหม่ขึ้น ทีเอกสารทางศาสนาอิสลามฉบับแรกๆ ที่เขียนด้วยภาษาชวาใหม่ ซึ่งทีคำศัพท์และสำนวนที่ยืมมาจากภาษาอาหรับมาก ต่อมาเมือได้รับอิทธิพลจากภาษาดัตซ์และภาษาอินโดนีเซีย ทำให้ภาษาชวาพยายามปรับรูปแบบให้ง่ายขึ้น และมีคำยืมจากต่างชาติมากขึ้น
ภาษาชวาสมัยใหม่ นักวิชาการบางคนแยกภาษาชวาที่ใช้พูด ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 ว่าเป็นภาษาชวาสมัยใหม่ แต่ก็ยังคงถือว่เป็นภาษาเดียวกับภาษาชวาใหม่
อักษรชวาแต่เดิมภาษาชวาเขียนด้วยอักษรพืนเมืองคือกอักษรชวา ต่อมาจึงเชียนด้วยอักษรอาหรับและอักษรโรมัน อักษร f q v x และ z ใช้เฉพาะคำยืมมาจากภาาาอาหรับและภาษาในยุโรปเท่านั้น
ภาษาชวาเป็นภาาาที่ใช้พูดทั่วอินโดนีเซีย ประเทศเพื่อบ้านในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ เนเธอร์แลนด์ สุริมาเน นิวคาเลโดเนีย และประเทสอื่นๆ ชุมชนที่ใหญ่ที่สุดของผู้พูดภาาานี้อยู่ในชวา 6 จังหวัดและจัหวัดลัมปุง บนเกาะสุมารตรา จากข้อมุลพ.ศ. 2523 ชาวอินโดนีเซียน 43% ใช้ภาษาชวาในชีิวตประจำวัน โดยมีผุ้พูดภาษาชวาได้ดีมากว่า 60 ล้นคน ในแต่ละจังหวัดของอินโดนีเซียนมีผุ้พุดภาาาชวาได้ดีอย่างย้อน 1 %
ในชวาตะวันออก มีผู้พูดภาษาชวาในชัิวิตประจำวัน ๅ74.5% ภาษามาดูรา 23% และภาษาอนโดนีเซีย 2.2% ในจังหวัดลัมปุง มีผุ้พดูภาษาชวาในชีวิตประจำวัน 62.4% ภาษาลัมปุง 16.4% ภาษาซุนดา 10.5% และภาษาอินโดนีเซีย 9.4% ส่วนในจาการ์ตา มีจำนวนผุ้พูดภาษาชวาเพ่ิมสูงขึ้นถึง 10 เท่า ในเวลา 25 ปี แต่ในอาเจะห์กฃลับลดจำนวนลง ในบันเต็น ชวาตะวันตก ผุ้สืบทอดมาจากรัฐสุลต่านมะตะรัมในชวากลาง ยังใช้รูปแบบโบราณของภาษาชวา มผุ้พุดภาษาซุนดาและภาษาอินโดนีเซียตามแนวชายแดนติดกับจาการ์ตา
จังหวัดชวาตะวันออกยังเป็นบ้านเกิดของผุ้พุดภาษามาดุรา แต่ชาวมาดูรา แต่ชาวมาดุร่าส่วนใหญพูดภาาาชวาได้ด้วย ตั้งแต่พุทะศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมามีการเขียนภาษามาดุราด้วยอักษรชวา ในลัมปุง มีชนพื้นเมืองที่พูดภาษาลัมปุงเพียง 15% ที่เหลือเป็นผู้อพยพมาจากส่วนอื่นๆ ของอินโดนีเซย ซึ่งผู้อพยพเข้ามาส่วนใหญ่เป็นผุ้พูดภาษาชวา ในสุรินาเมซึ่งเป็นอดีตอาณานิคมของดัตช์ ในอเมริการใจ้ มีผุ้ที่เป็นลูกหลายของชาวชวาและยังพุดภาษาอยุ่ราว เ้จ็ดหมืนห้าพันคน
ภาษาชวาในปัจจุบัน ไม่ใช่ภาษาประจำชาติ โดยมีสถานะเป็นแค่ภาาาประจำถิ่นในจังหวัดที่มีชาวชวาอยุ่เป็นจำนวนมาก มีการสอนภาษาชวาในโรงเรียน และมีการใช้ในสื่อต่างๆ ไม่มีหนังสือพิมพ์รายวันเป็นภาษาชวาแต่มีนิตยสารภาษาชวา ตั้งแร่ พ.ศ. 2546 สถานีโทรทัศน์ท้องถ่ินของชวาตะวันออกออกอากาศเป็นภาษาชวาด้วยสำเรียงชวากลางและภาษามาดุรด้วย ในพ.ศ. 2548 มีการออกนิตยสารภาษาชวา ในจาการ์ตาth.wikipedia.org/wiki/ภาษาชวา
- ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประดยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้นของกริยา
- ภาษาแบบอินโดนีเซีย
- ภาษาแบบหลังดินโดนีเซีย
ภาษาในตระกูลนี้มีผุ้พูดมากกว่า 4 ล้านคน ได้แก่
ภาษาชวา คือภาษาพูดของผุ้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75 ล้านคน ภาษาชวาอยุ่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนจึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียนและภาษามลายู ผุ้พูดภาษาชวาพุดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่นๆ มีชุมชนผุ้พุดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์ และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาำม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลยูได้
ภาษาชวาอยุ่ในกลุ่มย่อยซุนดาของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก มีลักษระทางภาษาศาสตร์กล้เคียงกับภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภาษามาดูรา ภาษาบาหลี และภาษากลุ่มุมาตราและบอร์เนียวอื่ๆน รวมทั้งภาษามาลากาซีและภาษาฟิลิปิโน ภาาาชวาใช้พุดในบริเวณชวากลางและชวาตะวันออกและชายฝั่งทางเหนือขปงชวาตะวันตก ภาษาชวาได้ใช้เป็นภาษาเขียนควบคู่ไปด้วย เป้นภาษาในศาลที่ปาเล็มบัง สุมาตราใต้จนกระทั่งถูกดัตช์ยึดครองเมื่อพุทธศตวรรษที่ 23
ภาษาชวาจัดว่าเป้นภาษาคลาสสิกภาษาหนึ่งของโลก มีวรรณคดีมานานถึง 12 ศตวรรษ นักวิชาการแบ่งภาษาชวาออกเป็นสี่ยุคด้วยกันคือภาษาชวาโบราณ เร่ิมจากพุทธศตวรรษที่ 14 ภาษาชวายุคกลางเริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 18 ภาษาชวายุคใหม่เริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 21 และภาษาชวาปัจจุบันเริ่มในพุทธศตวรรษที่ 25 ภาษาชวาเขียนด้วยออักษรชวาที่พัฒนามาจากอักษรพราหม่ อักษรอาหรับ-ชวาที่เป็นอักษรอาหรับดัดแปลงสำหรับภาษาชวา และอักษรละติน
แม้ว่าจะไม่มีสถานะเป็นภาษาราชการ ภาาาชวาถือวาเป็นภาาาในตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนที่มีผุ้พุดเป็นภาาาแม่มาอกประมาณ 80 ล้านคนอย่างน้อย 45% ของประชากรทั้งหมดในอินโดนีเซียเป็นผุ้พุดภาษาชวาหรืออยุ่ในบริเวณที่ใช้ภาษาชวาเป็นภาษาหลัก และมีอิทธิพลอย่างมากต่อภาษาอินโดนีเซียที่เป้ฯสำเรียงหนึ่งของภาษามลายู ภาษาชวามีสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ ชวากลาง ชวาตะวันออก และชวาตะวันตก
Ngoko เป็นการพูดอย่างไม่เป็นทางการระหวางเพื่อปละฐาติสนิทและใช้ดดยคนที่ีฐานะสุงกว่าเมื่อพุดกับคนที่มีฐานะต่ำกว่า เช่นผุ้ใหญ่ใช้กับเด็
Madya เป็นรูปแบบกลางๆ ระหว่าง Ngoko กับ Krama สำหรับในสถานะที่ไม่ต้องการทั้งความเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
Krama เป็นแบบที่สภาพและเป็นทางการ ใช้กับคนที่อยุ่ในถานะเดียวกัน เป็นรูปแบบที่ใช้พุดในที่สาธารณะ การประกาสต่างๆ ใช้ดดยคนที่มีฐานะต่ำกว่าเมือพูดกับคนที่มีฐานะสูงกว่า เช่น เด็พูดกับผู้ใหญ่
สภานะในสังคมที่มีผลต่อรูปแบบของภาษาชวากำหนดดดยอายุหรือตำแหน่งในสังคม การเลือกใช้ภาษาระดับใดนั้นต้องอาศัยความรอบรู้ในวัฒนะรรมชวาและเป้นสิ่งท่ยากสำหรับการเรียนภาษาชวาของชาวต่างชาติ
สำเนียงของภาษาชวาแบ่งได้เป็นามกลุ่มตามบริวเณย่อยที่มีผุ้พุดภาษาเหล่านี้อาเศัยอยุ่ คือ ภาษาชวากลาง ภาษาชวาตะวนออก และภาษาชวาตะวันตก ความแตกต่างระหว่างสำเนียงอยุ่ที่การออกเสียงและคำศัพท์
ภาษาชวากลางเปนสำเนียงที่ใช้พุดในสุกรการ์ตา และยอร์กยาการ์ตา ถือเป็นเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษานี้ มีผุ้พุดกระจายตั้งแต่เหนือถึงใต้ของจังหวัดชวากลาง
ภาษาชวาตะวันตกใช้พูดทางตะวันตกอขงจังหวัดชวากลางและตลอดทั้งจังหงังาตะวันตก โดดยเฉพาะชายฝั่งทางตอนเหนือ ได้รับอิทธิพลจากภาษาซุนดา และยังมีศัพท์เก่าๆ อยู่มาก
ภาษาชวาตะวันออกเริ่มใช้พุจาฝั่งตะวันออกของกาลี บรันตัส เกอร์โตโซโนไปจนถึงบาญังกี ครอบคลุมบริเวณส่วนใหญ่ของ จ. ชวาตะวันออก รวมเกาะมาดูราด้ว สำเรียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษามาดูรา สำเนียงตะวันออกสุดได้รับอิทธิพลจากภาษาบาหลี
การออกเสียง ชาวชวาส่วนใหญ่ยกเว้นในชวาตะวันตก ยอมรับการออกเสียง a เป็น/ออ/เช่น apa ในภาษาชวาตะวันตกออกเสียงเป็นอาปา ส่วนภาษาชวากลางและภาษาชวาตะวันออก ออกเสียงเป็นออปอ เมื่อมีหน่วยเสียงที่มีดครงสร้างเป็นสระ-พยัญชนะ-สระ โดยสระทั้งสองเสียงเป็นเสียงเดียวกัน ภาษาชวากลางลดเสียงสระตัวท้าย i เป็น e และ u เป็น o ภาษาชวาตะวันออกลดทั้งสองเสียงส่วนภาษาชวาตะวันตกคงเสียงเดิมไว้ เช่น cilik ภาษาชวากลางเป็น จิเละ ภาษาชวาตะวันออกเป็น เจะเละ ภาษาชวาตะวันตกเป็น จิลิก
ภาษาชวาโบราณ หลักฐานการเขียนในเกาะชวาย้อหลังไปได้ถึงยุคของจารึกภาษาสันสกฤต จารึกตรุมเนคระ ใน พ.ศ. 993 ส่วนการเขียนด้วยภาษาชวาที่เก่าที่สุดคือจารึกสุกภูมิซึ่งระบุวันที่ 25 มินคม พ.ศ. 1346 จารึกนี้พบที่เกอดีรีในชวาตะวันออกและเป็นสำเนาของจารึกต้นฉบับที่น่าจะมีอายุ 120 ปีก่อนหน้านั้น แต่หลักฐานเหลือเพียงจารึกที่เป้นสำเนาเท่านั้น เนื้อหากล่างถึงการสร้างเขื่อนใกล้กับแม่น้ำสรินยังในปัจจุบัน จารึกนี้เปนจารึกรุ่นสุดท้ายที่ใช้อักษรปลลงะ จารึกรุ่นต่อมาเริ่มใช้อักษรชวา
ในพุทธศตวรรษที่ 13-14 เป็นยุคที่เร่ิมมีวรรณคดีพื้นบ้านในภาษาชวา เช่น สัง ฮยัง กะมาฮะยานีกัน ที่ได้รับมาจากพุทธศาสนา และกากาวัน รามายานา ที่มาจากรามายณะฉบับภาษาสันสกฤต แม้วาภาษาชวาจะใช้เป็นภาาาเขียนที่หลังภาาามลายุ แต่วรรณคดีภาษาชวายังได้รับการสืบทอดจนถึงปัจจุบัน เช่นวรรณคดีที่ได้รับมาจากรามายณะและมหาภารตะยังได้รับการศึกษาจนถึงทุกวันนี้
ในยุคของราชอาณาจักรมัชปาหิจ ได้เกิดภาษาใหม่ขึ้นคือภาษาชวายุคกลางที่อยุ่ระหว่งภาษาชวาโบราณและภาาาชวาสมัยใหม่ จริงๆ แล้ว ภาษาชวายุคกลางมีความคล้ายคลึงกับภาาาชวาสมัยใหม่จนผุ้พูดภาาชวาสมัยใหม่ที่ศึกษาวรรณคดี สามารถเข้าใจได้ ราชอาณาจักรมัชปาหิจเสื่อมลงเนื่องจากการรุกรานของต่างชาติและอิทธิพลของศาสนาอิสลาม และการคุกคามของสุลต่านแห่งเดมัที่อยู่ทางชายฝั่งด้านเหนือของเกาะชวา ราชอาณาจักรมัชปาหิติ้นอำนาจลงเมื่อ พ.ศ. 2021
ภาษาชวาใหม่ ภาษาชวาสมัยใหม่เร่ิมปรากฎเมื่อพุทธศตวรรษที่ 21 พร้อมๆ กับการเข้ามามีอิทฑิพลของศาสนาอิสลาม และการเดิกรัฐสุลต่านมะตะรัม รัฐนี้เป็นรัฐอิสลามที่สืบทอดวัฒนธรรมดั้งเดมจากยุคราชอาณาจักรมัชปาหิตวัฒนธรรมชวาแพร่หลายไปทางตะวันตก เมื่อรัฐมะตะรัมพยายามแพร่อิทธิพลไปยังบริเวณของผุ้พูดภาษาซุนดาทางตะวันตกของเกาะชวาทำให้ภาษาชวากลายเป็นภาษาหลักในบริเวณนั้น เช่นเดียวกับภาษาบาหลี ไม่มีกรใช้ภาษาซุนดาเป็นภาาาเขียนจนถึงพุทธศตวรรษที่ 24 และได้รับอิทธิพลจากภาษาชวามาก คำศัพท์ 40 % ในภาษาซุนดาได้มาจากภาษาชวา
แม้จะเป็นจักรวรรดิอิสลาม และราชอาณาจักรมะตะรัมก็ยังรักษาหน่วยเดิมที่มาจากวัฒนธรรมเก่าไว้และพยายามรวมเข้ากับศาสนาใหม่ จึงเป็นเหตุผลที่ยังคงมีการใช้อักษรชวาอยุ่ ในขณะที่อักษรดั้งเดิมของภาษามลายูเลิกใช้ไปตั้งแต่เล่ยนมานับถือศาสนอิสลาม โดยหันไปใช้อักษรที่มาจากอัษรอาหรับแทน ในยุคที่ศาสนาอิสลามกลังรุ่งเรืองราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เกิดภาชวาใหม่ขึ้น ทีเอกสารทางศาสนาอิสลามฉบับแรกๆ ที่เขียนด้วยภาษาชวาใหม่ ซึ่งทีคำศัพท์และสำนวนที่ยืมมาจากภาษาอาหรับมาก ต่อมาเมือได้รับอิทธิพลจากภาษาดัตซ์และภาษาอินโดนีเซีย ทำให้ภาษาชวาพยายามปรับรูปแบบให้ง่ายขึ้น และมีคำยืมจากต่างชาติมากขึ้น
ภาษาชวาสมัยใหม่ นักวิชาการบางคนแยกภาษาชวาที่ใช้พูด ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 ว่าเป็นภาษาชวาสมัยใหม่ แต่ก็ยังคงถือว่เป็นภาษาเดียวกับภาษาชวาใหม่
อักษรชวาแต่เดิมภาษาชวาเขียนด้วยอักษรพืนเมืองคือกอักษรชวา ต่อมาจึงเชียนด้วยอักษรอาหรับและอักษรโรมัน อักษร f q v x และ z ใช้เฉพาะคำยืมมาจากภาาาอาหรับและภาษาในยุโรปเท่านั้น
ภาษาชวาเป็นภาาาที่ใช้พูดทั่วอินโดนีเซีย ประเทศเพื่อบ้านในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ เนเธอร์แลนด์ สุริมาเน นิวคาเลโดเนีย และประเทสอื่นๆ ชุมชนที่ใหญ่ที่สุดของผู้พูดภาาานี้อยู่ในชวา 6 จังหวัดและจัหวัดลัมปุง บนเกาะสุมารตรา จากข้อมุลพ.ศ. 2523 ชาวอินโดนีเซียน 43% ใช้ภาษาชวาในชีิวตประจำวัน โดยมีผุ้พูดภาษาชวาได้ดีมากว่า 60 ล้นคน ในแต่ละจังหวัดของอินโดนีเซียนมีผุ้พุดภาาาชวาได้ดีอย่างย้อน 1 %
ในชวาตะวันออก มีผู้พูดภาษาชวาในชัิวิตประจำวัน ๅ74.5% ภาษามาดูรา 23% และภาษาอนโดนีเซีย 2.2% ในจังหวัดลัมปุง มีผุ้พดูภาษาชวาในชีวิตประจำวัน 62.4% ภาษาลัมปุง 16.4% ภาษาซุนดา 10.5% และภาษาอินโดนีเซีย 9.4% ส่วนในจาการ์ตา มีจำนวนผุ้พูดภาษาชวาเพ่ิมสูงขึ้นถึง 10 เท่า ในเวลา 25 ปี แต่ในอาเจะห์กฃลับลดจำนวนลง ในบันเต็น ชวาตะวันตก ผุ้สืบทอดมาจากรัฐสุลต่านมะตะรัมในชวากลาง ยังใช้รูปแบบโบราณของภาษาชวา มผุ้พุดภาษาซุนดาและภาษาอินโดนีเซียตามแนวชายแดนติดกับจาการ์ตา
จังหวัดชวาตะวันออกยังเป็นบ้านเกิดของผุ้พุดภาษามาดุรา แต่ชาวมาดูรา แต่ชาวมาดุร่าส่วนใหญพูดภาาาชวาได้ด้วย ตั้งแต่พุทะศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมามีการเขียนภาษามาดุราด้วยอักษรชวา ในลัมปุง มีชนพื้นเมืองที่พูดภาษาลัมปุงเพียง 15% ที่เหลือเป็นผู้อพยพมาจากส่วนอื่นๆ ของอินโดนีเซย ซึ่งผู้อพยพเข้ามาส่วนใหญ่เป็นผุ้พูดภาษาชวา ในสุรินาเมซึ่งเป็นอดีตอาณานิคมของดัตช์ ในอเมริการใจ้ มีผุ้ที่เป็นลูกหลายของชาวชวาและยังพุดภาษาอยุ่ราว เ้จ็ดหมืนห้าพันคน
ภาษาชวาในปัจจุบัน ไม่ใช่ภาษาประจำชาติ โดยมีสถานะเป็นแค่ภาาาประจำถิ่นในจังหวัดที่มีชาวชวาอยุ่เป็นจำนวนมาก มีการสอนภาษาชวาในโรงเรียน และมีการใช้ในสื่อต่างๆ ไม่มีหนังสือพิมพ์รายวันเป็นภาษาชวาแต่มีนิตยสารภาษาชวา ตั้งแร่ พ.ศ. 2546 สถานีโทรทัศน์ท้องถ่ินของชวาตะวันออกออกอากาศเป็นภาษาชวาด้วยสำเรียงชวากลางและภาษามาดุรด้วย ในพ.ศ. 2548 มีการออกนิตยสารภาษาชวา ในจาการ์ตาth.wikipedia.org/wiki/ภาษาชวา
วันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2560
World of Austronesian languages
มาลายู หรือ บาฮาซา มลายู เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสดตรนีเซียน ซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า 1 หมื่นปี และเขื่อว่าผู้คนที่พุดภาษานี้ได้เคลื่อนย้ายจากแผ่นดินใหญ่จีนเข้าสู่เกาะไต้หวัน และจตากเกาะไต้หวันสู่เกาะลูซอนฟิลิปปินส์เมื่อประมาณ 5,000-5,200 ปี ก่อน จากนั้นได้ขยายตัวไปสุเกาะบอร์เนียว (บรูไน มาเลเซียตะวันออก และกาลิมันตันของอินโดนีเซีย) หมู่เกาะอินโดนีเซียน และคาบสมุทรามลายู(มาเลเซียและไทย) บางส่วนได้ข้าสุ่ภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น เวียดนาม ลาว เขมร (กลายเป็นพวกจามและข่าพวกต่างๆ ) จำนวนไม่น้อยได้เคลื่อนย้ายไปสู่หมู่เกาะใหญ่น้อยในมหาสมุทรปซิฟิกไปจนถึงฮาวาย และทางใต้ไปถึงนิวซีแลนด์ และทางตะวันตกไปถึงเกาะมาดากัสการ์ (ปัจจุบันประเทศสาธารณรัฐมาดากัสการ์ป นอกชายฝั่งประเทศโมซัมบิก อาฟริการตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมามีการค้นพบภาาาไต-กะได ซึ่งภาษาไทยจัดอยุ่ในกลุ่มนี้ โดย ดร. พอล เค. เบเนดิกต์ ชาวอเมริกัน ซึ่งทุ่าเทศึกษาด้านภาษาศาสตร์เชิงประวัติ เขายังได้ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับภาษา "ออสโตรไท" เมื่อ ค.ศ. 1942 แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาษาออสโตรนีเซียนกับภาษาไต-กะได บนเกาะไหหลำ(ประเทศจีนป ว่ามีความสัมพันธ์กันโดยสายเลือด เขาได้แยกภาษาไต-กะได(รวมภาษาไทย) ออกจากตระกุลภาษาจีน-ทิเบต ต่อมาโลร็องต์ ซาการ์ ได้ศึกษาภาษาในตระกุลจีน-ทิเบต และออสโตรนีเซียนอย่างลึกซึัง ในช่วงทศวรรษที่ 1990 ซาการ์ได้ตั้งทฤษฎีตระกุลภาษาจีน-ออสโตรนีเซียน โดยดึงภาษาจีน(รวมภาษาไต-กระได) เข้ามาร่วมกับภาษาตระกูลออสโตนีเซียนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ดร. พอล เค เบเนดิคท์ ได้ศึกษาภาาาในกลุ่มไต-กะได เขาเชื่อว่า ภษาไต-กะไดมีความสัมพันธ์กับภาษาออสโตรนีเซียนอย่างใกล้ชิดเขาได้เสนอทฤษฎีภาษาอสโตร-ไท ในหนังสือชื่อ ซึ่งจักพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Hraf-Tai ในหนังสือชื่อออสโตร-ไทย-แลงเกวจ แอนด์ คุลเทอร์, วิท อะ กอสซารี้ ออฟ รูท ซึ่งจัดพิมพ์ในปี 1975 ทำให้สะเทือนไปทั่ววงการภาาาศาสตร์ เนื่องจากก่อนหน้านี้ ภาษาไทยหรือภาษาไต-กะได จัดอยุ่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่เขาจัดภาษาไทยหรือภาษาไท-กะได ให้อยุ่ในตระกูลภาาาออสโตนีเซียน หรือที่เดิม เรียกว่ ตระกุลภาษามาลาโย-โพลีนีเซียน การจัดภาษาไทยหรือภาษาไต-กะได อันเป็นภาาาที่มีเสียงวรรณยุกต์ มาอยุ่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งเป็นตระกุลภาษาที่ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ ทำให้ทฤษำีของเบเนดิกต์ในระยะแรกไม่ค่อยมีคนเชื่อถือนัก แม้ว่าเขาจะเพียรอธิบายว่า เสียงวรรณยุกต์ในภาาาไทยหรือไต-กะได เป็นผลจากากรสัมผัสกับภาษาจีนอย่างหนักน่วงมานับพันปี ทำให้ภาาาไทยหรือภาษาไต-กะได เกิดมีเสียงวรรณยุกต์ตามไปด้วย เฉกเช่นเดียวกับที่ภาษาเขมร(ในบางท้องที่) ซึ่งเป็นภาษาที่ไม่มีเสียงวรรฯยุกต์ เร่ิมทีเสียงวรรณยุกต์จากการได้สัมผัสกับภาาาเวียดนาม ซึ่งเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ หรือแม้แตจ่ภาาาเวียดนามเอง ซึ่งจดอยู่ในตระกุลภาาาออสโตรเอเ๙ียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร ซึ่งไม่มีเสียงวรรณยุกต์ แต่ภาาาเวียดนามกลับมีเสียงวรรณยุกต์ ดังนี้เป็นต้น
จากทฤษฎี ออสโตร-ไท ตามความเข้าสนใจของเบเนดิคต์ ภาษาไทยจึงจัดอยู่ในตระกุลภาษาเดียวกับภาษามลายู มาเลเซีย ภาษามลายูอินโดนีเซียน ภาษามลายูบรูไน ภาาามลายูสิงคโปร์ ภาษาตาการล็อก (ภาษาฟิลิปปิโน) ภาษาจาม (ในประเทศเวียดนามและกัมพูชาป ภาษามากาซี (บนเกาะมาดากัสการ์) ภาษาชวา ภาษาบาหลี ภาษาซุนดา ฯลฯ ในปี ค.ศ. 2015 ( พ.ศ. 2558) อาจขจะมีนักภาษา
ศาสตร์นประเทศประชาคมอาเซียนหันมาสนใจศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษาต่างๆฟ ในประชาคมอาเซียนมากขึ้น เชื่อว่าผลงานของนักวิชาการเหล่านี้จะช่วยไขความกระจ่างในเรื่องนี้ ทำให้ความเข้าใจระหว่างกันระหว่างคนไทยกับมลายุ อาจจะดีขึ้นมากกว่านี้ย้อนยุคภาษามลายุ ภาษามลายุ จัดอยุ่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ในกลุ่มภาษานูซันตารา ซึ่งมีภาษาต่างๆ ประมาณ 200-300 ภาษา ทั้งที่ยังใช้งาน ที่สูญหาย และกำลังจะสูญหายไปในไม่ช้า เฉพาะภาษานูซันตาราสาขาตะวันตก ก็มีภาาาสำคัญๆ อาทิเช่น ภาษามาลากาซี (พูดกันในประเทศมาดากัสการ์ ทวีปอาฟริกา) ภาษาอาเจะห์ (พูดกันทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งในทัสนะนักภาษาปัจจบัน มีความเชื่อมโยงกับภาษาจามมากเป็นพิเศษ) ภาาามลายู (ภาษาประจำชาติของประเทศมาเลเซีย, สิงคโปร์, บรูไน, และอินโดนีเซีย) ภาษาชวา ซุนดา บาหลี ดายัก (พูดกันในประทศอินโดนีเซีย) ภาษาตากาล็อก (ภาษาประจำชาติของประเทศฟิลิปปินส์) และภาษาบิสายะ (พูดกันในปรเทศฟิลิปปินส์) ฯลฯ
ภาษามลายุซึ่งกลายเป็นภาษาประจำชาติของประเทศมาเลเซีย, บรุไน สาะารณรัฐอินโดนีเซียน และหนึ่งในภาษาประจำชาติของประเทศสิงคโปร์ปัจจุบัน รวมกันแล้ว มีผุ้พูดภาษานี้เกือบ 300 ล้านคน ถึงแม้จะเรียกชื่อแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ อาทิ ภาษามลายุมาเลเซีย ภาษมลายูอินโดนีเซีย ภาษมลายู (บรูไนและสิงคโปร์รียก Bahasa Melayu เฉยๆ) ในจังหวัดทางภาคใต้ตอนล่างโดยเฉาะในจังหวัดปัตตานี้ ยะลา นราธิวาส สงขลาและสตูล ซึ่งมีผุ้พูดภาษานี้ในชีวิตประจำวัน เรียกภาษาที่พุดนี้ว่า ภาษามลายู หรือภาษายาวี
ภาษามลายูจึงนับว่าเป็นภาษาสำคัญที่สุดภาษาหนึ่งในปราคมอาเซียน ดดยภาาามลายุกลางที่ใช้สื่อสารสนปัจจุบันนี้ มีวิวัฒนาการมาจากภาษามลายุถ่ินยะโฮร์-เรียว ซึ่งใช้เป็นภาษากลางในภูมิภาคนี้มาตั้งแต่โบราณกาล และมีัหลักฐานว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ภาษานี้ยังเป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสารกับชาติตะวันตก ทั้งในฐานะภาษาพูดและภาษาเขียน(โดยใช้ภาาามลายูอักษรยาวี) ทั้งในระดับประชาชนพลเมืองและระดับราชสำนักของกรุงศรีอยุธยาเอง หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี แม้ว่าคำว่า "มลายู" จะเป้ฯที่รู้จักมาตั้งแต่ ค.ศ. 1 จากบันทึกของพ่อค้า นักเดินเรือและนักภูมิ-ดาราศาสตร์ชาวกรีก-อียิปต์ เช่น )โตเลมี แต่หลักฐานที่ยันทึกคำว่ามลายู ที่มีอายุให้หลังลงมาเพ่ิงปรากฎในปี ค.ศ. 644 หรือเมื่อกว่า พันสามร้อยปีล่วงมา โดยปรากฎเป็นเอกสารหลักฐานของจีนที่พันทึกถึงราชทุตจากมลายูไปยังราชสำนักจีน อย่างไรก็ตาม หลักฐานที่ยัทึกการใช้ภาษามลายุปรากฎครั้งแรกในศิลาจารึกเกอดุกันบูกิต เมื่อ ค.ศ. 683 หรือในอีก 39 ปีต่อมา ในช่วงนี้ได้มีการค้นพบศิลาจารึกที่ใช้ภาษามลายุรวมทังหมด 4 หลัก
- ศิลาจารึกภูเขาเกอดุกัน จารึกเมือ ค.ศ. 683 พบที่ปาเล็มบัง จ.สุมาตราใต้
- ศิลาจารึกตาลัง ตุโว จารึกเมือง ค.ศ. 684 พบที่ปาเล็มบัง จ.สุมาตราใต้
- ศิลาจารึกโกตา กาปูร จารึกเมือ ค.ศ. 686 พบที่เกาะบังกา จ.เกอปูเลาวัน บังกา เอบลีตุง อินโดนีเซีย
- ศิลาจารึกการัง บราฮี จารึกเมือ ค.ศ.686 พบที่ปาเล็มบัง จ.สุมาตราใต้ อินโดนีเซีย ศิลาจารึกซึ่งมีอายุระหว่าง 1,326-1,329 ปีก่อนเป็ฯศิลาจารึกภาษามลายูโบารณ โดยใช้อักษรปัลลาวะ ของอินเดียใต้ ถือว่าเป็นหลักฐานชิ้นแรกๆ ของภาษามลายูที่บันทุกเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมหาราชองค์ใดองค์หนึ่งแห่งมหาอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งรุ่งเรืองอยู่ในระหว่างศตวรรษ?ี่ 7-13 มีศูนย์กลางอยุ่ที่ปาเล็มบัง (อินโดนีเซีย) ลักาสุกะ (ปัตตานีโบราณ) และไชยา สุราษฎร์ธานี (ประเทศไทย) ตามลำดับ อาณาจักรศรีวิชัยเป็นอาณาจักรทีททรงอิทธิพลทางด้านการต้า ภษาและวัฒนธรรมครอบคลุมืนที่ที่กว้างขวางไม่ใช้นอย อาจกล่าวได้ว่า อาณาจักรศรีวิชัยคือภาพแรกสุดของ ประชาคมอาเซียน ในห้วยสหัสวรรษที่แล้วก็ว่าได้ สัญลักษณ์ประชาคมอาเซียน 2015 1-2 ของชาวออสโตรนีเซียนครอบคลุมเอเชีย-แปซิผิกเกือบทั้งหมด 1-3 อาณาจักรศรีวิชัย ประชาคมอาเซียนยุคเร่ิมแรก http://www.phayuha.com/
ดร. พอล เค เบเนดิคท์ ได้ศึกษาภาาาในกลุ่มไต-กะได เขาเชื่อว่า ภษาไต-กะไดมีความสัมพันธ์กับภาษาออสโตรนีเซียนอย่างใกล้ชิดเขาได้เสนอทฤษฎีภาษาอสโตร-ไท ในหนังสือชื่อ ซึ่งจักพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Hraf-Tai ในหนังสือชื่อออสโตร-ไทย-แลงเกวจ แอนด์ คุลเทอร์, วิท อะ กอสซารี้ ออฟ รูท ซึ่งจัดพิมพ์ในปี 1975 ทำให้สะเทือนไปทั่ววงการภาาาศาสตร์ เนื่องจากก่อนหน้านี้ ภาษาไทยหรือภาษาไต-กะได จัดอยุ่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่เขาจัดภาษาไทยหรือภาษาไท-กะได ให้อยุ่ในตระกูลภาาาออสโตนีเซียน หรือที่เดิม เรียกว่ ตระกุลภาษามาลาโย-โพลีนีเซียน การจัดภาษาไทยหรือภาษาไต-กะได อันเป็นภาาาที่มีเสียงวรรณยุกต์ มาอยุ่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งเป็นตระกุลภาษาที่ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ ทำให้ทฤษำีของเบเนดิกต์ในระยะแรกไม่ค่อยมีคนเชื่อถือนัก แม้ว่าเขาจะเพียรอธิบายว่า เสียงวรรณยุกต์ในภาาาไทยหรือไต-กะได เป็นผลจากากรสัมผัสกับภาษาจีนอย่างหนักน่วงมานับพันปี ทำให้ภาาาไทยหรือภาษาไต-กะได เกิดมีเสียงวรรณยุกต์ตามไปด้วย เฉกเช่นเดียวกับที่ภาษาเขมร(ในบางท้องที่) ซึ่งเป็นภาษาที่ไม่มีเสียงวรรฯยุกต์ เร่ิมทีเสียงวรรณยุกต์จากการได้สัมผัสกับภาาาเวียดนาม ซึ่งเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ หรือแม้แตจ่ภาาาเวียดนามเอง ซึ่งจดอยู่ในตระกุลภาาาออสโตรเอเ๙ียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร ซึ่งไม่มีเสียงวรรณยุกต์ แต่ภาาาเวียดนามกลับมีเสียงวรรณยุกต์ ดังนี้เป็นต้น
จากทฤษฎี ออสโตร-ไท ตามความเข้าสนใจของเบเนดิคต์ ภาษาไทยจึงจัดอยู่ในตระกุลภาษาเดียวกับภาษามลายู มาเลเซีย ภาษามลายูอินโดนีเซียน ภาษามลายูบรูไน ภาาามลายูสิงคโปร์ ภาษาตาการล็อก (ภาษาฟิลิปปิโน) ภาษาจาม (ในประเทศเวียดนามและกัมพูชาป ภาษามากาซี (บนเกาะมาดากัสการ์) ภาษาชวา ภาษาบาหลี ภาษาซุนดา ฯลฯ ในปี ค.ศ. 2015 ( พ.ศ. 2558) อาจขจะมีนักภาษา
ศาสตร์นประเทศประชาคมอาเซียนหันมาสนใจศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษาต่างๆฟ ในประชาคมอาเซียนมากขึ้น เชื่อว่าผลงานของนักวิชาการเหล่านี้จะช่วยไขความกระจ่างในเรื่องนี้ ทำให้ความเข้าใจระหว่างกันระหว่างคนไทยกับมลายุ อาจจะดีขึ้นมากกว่านี้ย้อนยุคภาษามลายุ ภาษามลายุ จัดอยุ่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ในกลุ่มภาษานูซันตารา ซึ่งมีภาษาต่างๆ ประมาณ 200-300 ภาษา ทั้งที่ยังใช้งาน ที่สูญหาย และกำลังจะสูญหายไปในไม่ช้า เฉพาะภาษานูซันตาราสาขาตะวันตก ก็มีภาาาสำคัญๆ อาทิเช่น ภาษามาลากาซี (พูดกันในประเทศมาดากัสการ์ ทวีปอาฟริกา) ภาษาอาเจะห์ (พูดกันทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งในทัสนะนักภาษาปัจจบัน มีความเชื่อมโยงกับภาษาจามมากเป็นพิเศษ) ภาาามลายู (ภาษาประจำชาติของประเทศมาเลเซีย, สิงคโปร์, บรูไน, และอินโดนีเซีย) ภาษาชวา ซุนดา บาหลี ดายัก (พูดกันในประทศอินโดนีเซีย) ภาษาตากาล็อก (ภาษาประจำชาติของประเทศฟิลิปปินส์) และภาษาบิสายะ (พูดกันในปรเทศฟิลิปปินส์) ฯลฯ
ภาษามลายุซึ่งกลายเป็นภาษาประจำชาติของประเทศมาเลเซีย, บรุไน สาะารณรัฐอินโดนีเซียน และหนึ่งในภาษาประจำชาติของประเทศสิงคโปร์ปัจจุบัน รวมกันแล้ว มีผุ้พูดภาษานี้เกือบ 300 ล้านคน ถึงแม้จะเรียกชื่อแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ อาทิ ภาษามลายุมาเลเซีย ภาษมลายูอินโดนีเซีย ภาษมลายู (บรูไนและสิงคโปร์รียก Bahasa Melayu เฉยๆ) ในจังหวัดทางภาคใต้ตอนล่างโดยเฉาะในจังหวัดปัตตานี้ ยะลา นราธิวาส สงขลาและสตูล ซึ่งมีผุ้พูดภาษานี้ในชีวิตประจำวัน เรียกภาษาที่พุดนี้ว่า ภาษามลายู หรือภาษายาวี
ภาษามลายูจึงนับว่าเป็นภาษาสำคัญที่สุดภาษาหนึ่งในปราคมอาเซียน ดดยภาาามลายุกลางที่ใช้สื่อสารสนปัจจุบันนี้ มีวิวัฒนาการมาจากภาษามลายุถ่ินยะโฮร์-เรียว ซึ่งใช้เป็นภาษากลางในภูมิภาคนี้มาตั้งแต่โบราณกาล และมีัหลักฐานว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ภาษานี้ยังเป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสารกับชาติตะวันตก ทั้งในฐานะภาษาพูดและภาษาเขียน(โดยใช้ภาาามลายูอักษรยาวี) ทั้งในระดับประชาชนพลเมืองและระดับราชสำนักของกรุงศรีอยุธยาเอง หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี แม้ว่าคำว่า "มลายู" จะเป้ฯที่รู้จักมาตั้งแต่ ค.ศ. 1 จากบันทึกของพ่อค้า นักเดินเรือและนักภูมิ-ดาราศาสตร์ชาวกรีก-อียิปต์ เช่น )โตเลมี แต่หลักฐานที่ยันทึกคำว่ามลายู ที่มีอายุให้หลังลงมาเพ่ิงปรากฎในปี ค.ศ. 644 หรือเมื่อกว่า พันสามร้อยปีล่วงมา โดยปรากฎเป็นเอกสารหลักฐานของจีนที่พันทึกถึงราชทุตจากมลายูไปยังราชสำนักจีน อย่างไรก็ตาม หลักฐานที่ยัทึกการใช้ภาษามลายุปรากฎครั้งแรกในศิลาจารึกเกอดุกันบูกิต เมื่อ ค.ศ. 683 หรือในอีก 39 ปีต่อมา ในช่วงนี้ได้มีการค้นพบศิลาจารึกที่ใช้ภาษามลายุรวมทังหมด 4 หลัก
- ศิลาจารึกภูเขาเกอดุกัน จารึกเมือ ค.ศ. 683 พบที่ปาเล็มบัง จ.สุมาตราใต้
- ศิลาจารึกตาลัง ตุโว จารึกเมือง ค.ศ. 684 พบที่ปาเล็มบัง จ.สุมาตราใต้
- ศิลาจารึกโกตา กาปูร จารึกเมือ ค.ศ. 686 พบที่เกาะบังกา จ.เกอปูเลาวัน บังกา เอบลีตุง อินโดนีเซีย
- ศิลาจารึกการัง บราฮี จารึกเมือ ค.ศ.686 พบที่ปาเล็มบัง จ.สุมาตราใต้ อินโดนีเซีย ศิลาจารึกซึ่งมีอายุระหว่าง 1,326-1,329 ปีก่อนเป็ฯศิลาจารึกภาษามลายูโบารณ โดยใช้อักษรปัลลาวะ ของอินเดียใต้ ถือว่าเป็นหลักฐานชิ้นแรกๆ ของภาษามลายูที่บันทุกเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมหาราชองค์ใดองค์หนึ่งแห่งมหาอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งรุ่งเรืองอยู่ในระหว่างศตวรรษ?ี่ 7-13 มีศูนย์กลางอยุ่ที่ปาเล็มบัง (อินโดนีเซีย) ลักาสุกะ (ปัตตานีโบราณ) และไชยา สุราษฎร์ธานี (ประเทศไทย) ตามลำดับ อาณาจักรศรีวิชัยเป็นอาณาจักรทีททรงอิทธิพลทางด้านการต้า ภษาและวัฒนธรรมครอบคลุมืนที่ที่กว้างขวางไม่ใช้นอย อาจกล่าวได้ว่า อาณาจักรศรีวิชัยคือภาพแรกสุดของ ประชาคมอาเซียน ในห้วยสหัสวรรษที่แล้วก็ว่าได้ สัญลักษณ์ประชาคมอาเซียน 2015 1-2 ของชาวออสโตรนีเซียนครอบคลุมเอเชีย-แปซิผิกเกือบทั้งหมด 1-3 อาณาจักรศรีวิชัย ประชาคมอาเซียนยุคเร่ิมแรก http://www.phayuha.com/
วันอาทิตย์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austronesian languages ิืFamily II
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออก เป็นสาขาของกลุ่มภาษาย่อยมาลาโย-โพลิเนเซียศูนย์กลาง ประกอบด้วยภาษาในกลุ่ม 700 ภาษา ประกอบด้วย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลิเนเซยกลาง ซึ่งจำแนกออกเป็น กลุ่มภาษาบีมา-ซุมบา, กลุ่มภาษาติมอร์-ฟลอเรส, กลุ่มภาษาดามัรตะวันตก, ภาษาบาบัร, กลุ่มภาษามาลูกูตะวันออกเฉียงใต้, ภาษาเตอร์-กูร์, ภาษาอารู, ภาษาเคโกวีโอ, กลุ่มภาษาบอมเบอไรเหนือ, กลุ่มภาษามูลูกลาง.. กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันออก จำแนกออกเป็น กลุ่มภาษาฮัลมาเฮอราใต้-นิวกินีตะวันตก, ภลุ่มภาษามหาสมุทร
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง หรือกลุ่มภาษานิวเคลียร์มาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งคาดว่ามีแกล่งกำเนิดอยุ่ที่เกาะซุลาเวซี แยกเป็น 2 สาขา คือ กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี หรือกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตอนใน ซึ่งรวมภาษาในเกาะซุลาเวซีและหมู่เกาะซุนดาใหญ่ และภาษานอกบริเวณนี้เช่น ภาษาชามอร์โรและภาษาปาเลา, กลุ่มภาษามาลาโย-ฑพบีเนเซียตะวันออกตอนกลาง เป็ฯภาษาที่ใช้พุดทางตะวันออกคือบริเวณเกาะซุนดาน้อย เกาะอัลมาเฮอรา หมู่เกาะโมลุกกะ นิวกีนีและหมุ่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป็นภาาาที่จัดอยุ่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี มีสมาขิก 25 ภาษาแพร่กระจายในเขตสุทารตราตอนกลางรวมทังภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซีย, ภาษามีนังกาเบาในสุมาตรากลาง, ภาษาอาเจะฮ์ในอาเจะฮ์, ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา, ภาษามอเก็นในประเทศไทยและภาษาอีบันในบอร์เนียวเหนือ
กลุ่มภาษาอักลัน ประกอบด้วยสมาชิกสองภาษาคือภาษาอักลันและภาษาอีบาไฮซึ่งใช้พุดในจังหวัดอักลัน เกาะปาไน ประเทศฟิลิปปินส์ อยุ่นกลุ่มภาษาวิซายันตะวันตก เป็นภาาาหลักของจังหวัดอักลัน รวมทั้งสองภาษามีผุ้พุดเป็นภาษาแม่ 400,000 คน
กลุ่มภาษาอาเจะฮ์-จาม เป็นกลุ่มของภาษาที่ใกล้เคียงกันซึ่งใช้พุดในบริเวณผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยภาษาอาเจะฮ์และกลุ่มภาษจาม การแยกจากกันระหว่างสองกลุ่มนี้เกิดขึ้นนามมากแล้ว จากฐานข้อมูลคำศัพท์พื้นฐานของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน พบความเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มภาษาอาเจะฮ์-จามและภาษามอเกลนราว 70%
กลุ่มภาษาตองงิก เป็นกลุ่มภาษาย่อยในกลุ่มภาษามาลาโย-พอลินีเซียน ประกอบไปด้วย 2 ภาษา คือภาษานีวเวและภาษาตองงาและอาจจะมีภาษานีอูอาโฟโออูเป็นภาษาที่สามในกลุ่มนี้
ภาษาลาหลี เป็นภาษาท้องถ่ินของเกาะบาหลีรประเทศอินโดนีเซีย ใช้พูดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาบอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน คิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาซาซัก และภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับชั้นภายในภาษา ระบบการเขียนสองแบบ คืออักษรบาหลีและอักษรละติน
กลุ่มภาษาวิชายัน เป็นกล่มภาษาในฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภาษาฟิลิปปินสกลาง กลุ่มภาษานี้ส่วนใหย๋ใช้พูดในบริเวณวิซายา แต่ก็มีผุ้ใช้ในบริเวณบิกอ(โดยเฉพาะซอร์ซอกอนและมัสบาเต) หมุ่เกาะทางใต้ของลูซอน ทงเหนือลแะทางตะวันตกของมินดาเนา และในจังหวัดซูลู ที่อยุ่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมินดาเนา ผู้อยุ่ในเมโทรมะนิลาบางส่วนพูดภาษาในกลุ่มนี้ด้วย
สมาชิกของภาษาในกลุ่มนี้มีมากกว่า 30 ภาษา ภาาที่มีผุ้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดคือภาษาเซบัวโนมี 20 ล้านคน ในบริเวณวิซายากลาง ทางตะวันตกและทางเหนือของมินดาเนา อีก 2 ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รุ้จักกันดีคือภาษาฮิลิไกนอน มีผู้พูด 7 ล้านคนในวิซายาตะวันตก และภาษาวาไร-วาไร มีผุ้พูด 3 ล้านคนในวิชายาตะวันออก
ระบบการเรียกชื่อ ผุ้พุกลุ่มภาษาวิซายันเป็นภาษาทั้งภาษาเซบัวโน ภาษาฮิลิไกนอน และภาษาวาไร-วาไรจะเรยกภาาาของตนว่าบีซายา แม้ว่าภาษาที่ต่างกันเหล่านี้จะฟังกันไม่เข้าใจก็ตาม สำหรับผู้พูดกลุ่มภาษานี้นอกวิซายาจะไม่ใบ้คำว่าบีซายาอ้างถึงภาษาเซบัวโน ในขณะที่ชาวเตาซุกที่เป็นมุสลิม คำว่าวิซายาหมายถึงชาวฟิลิปปินส์ที่นับถือศาสนาคริสต์th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาวิซายัน
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง หรือกลุ่มภาษานิวเคลียร์มาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นสาขาของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนซึ่งคาดว่ามีแกล่งกำเนิดอยุ่ที่เกาะซุลาเวซี แยกเป็น 2 สาขา คือ กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี หรือกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตอนใน ซึ่งรวมภาษาในเกาะซุลาเวซีและหมู่เกาะซุนดาใหญ่ และภาษานอกบริเวณนี้เช่น ภาษาชามอร์โรและภาษาปาเลา, กลุ่มภาษามาลาโย-ฑพบีเนเซียตะวันออกตอนกลาง เป็ฯภาษาที่ใช้พุดทางตะวันออกคือบริเวณเกาะซุนดาน้อย เกาะอัลมาเฮอรา หมู่เกาะโมลุกกะ นิวกีนีและหมุ่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
กลุ่มภาษามาเลย์อิก เป็นภาาาที่จัดอยุ่ในกลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี มีสมาขิก 25 ภาษาแพร่กระจายในเขตสุทารตราตอนกลางรวมทังภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซีย, ภาษามีนังกาเบาในสุมาตรากลาง, ภาษาอาเจะฮ์ในอาเจะฮ์, ภาษาจามในเวียดนามและกัมพูชา, ภาษามอเก็นในประเทศไทยและภาษาอีบันในบอร์เนียวเหนือ
กลุ่มภาษาอักลัน ประกอบด้วยสมาชิกสองภาษาคือภาษาอักลันและภาษาอีบาไฮซึ่งใช้พุดในจังหวัดอักลัน เกาะปาไน ประเทศฟิลิปปินส์ อยุ่นกลุ่มภาษาวิซายันตะวันตก เป็นภาาาหลักของจังหวัดอักลัน รวมทั้งสองภาษามีผุ้พุดเป็นภาษาแม่ 400,000 คน
กลุ่มภาษาอาเจะฮ์-จาม เป็นกลุ่มของภาษาที่ใกล้เคียงกันซึ่งใช้พุดในบริเวณผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยภาษาอาเจะฮ์และกลุ่มภาษจาม การแยกจากกันระหว่างสองกลุ่มนี้เกิดขึ้นนามมากแล้ว จากฐานข้อมูลคำศัพท์พื้นฐานของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน พบความเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มภาษาอาเจะฮ์-จามและภาษามอเกลนราว 70%
กลุ่มภาษาตองงิก เป็นกลุ่มภาษาย่อยในกลุ่มภาษามาลาโย-พอลินีเซียน ประกอบไปด้วย 2 ภาษา คือภาษานีวเวและภาษาตองงาและอาจจะมีภาษานีอูอาโฟโออูเป็นภาษาที่สามในกลุ่มนี้
ภาษาลาหลี เป็นภาษาท้องถ่ินของเกาะบาหลีรประเทศอินโดนีเซีย ใช้พูดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาบอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน คิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาซาซัก และภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับชั้นภายในภาษา ระบบการเขียนสองแบบ คืออักษรบาหลีและอักษรละติน
กลุ่มภาษาวิชายัน เป็นกล่มภาษาในฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภาษาฟิลิปปินสกลาง กลุ่มภาษานี้ส่วนใหย๋ใช้พูดในบริเวณวิซายา แต่ก็มีผุ้ใช้ในบริเวณบิกอ(โดยเฉพาะซอร์ซอกอนและมัสบาเต) หมุ่เกาะทางใต้ของลูซอน ทงเหนือลแะทางตะวันตกของมินดาเนา และในจังหวัดซูลู ที่อยุ่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมินดาเนา ผู้อยุ่ในเมโทรมะนิลาบางส่วนพูดภาษาในกลุ่มนี้ด้วย
สมาชิกของภาษาในกลุ่มนี้มีมากกว่า 30 ภาษา ภาาที่มีผุ้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดคือภาษาเซบัวโนมี 20 ล้านคน ในบริเวณวิซายากลาง ทางตะวันตกและทางเหนือของมินดาเนา อีก 2 ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รุ้จักกันดีคือภาษาฮิลิไกนอน มีผู้พูด 7 ล้านคนในวิซายาตะวันตก และภาษาวาไร-วาไร มีผุ้พูด 3 ล้านคนในวิชายาตะวันออก
ระบบการเรียกชื่อ ผุ้พุกลุ่มภาษาวิซายันเป็นภาษาทั้งภาษาเซบัวโน ภาษาฮิลิไกนอน และภาษาวาไร-วาไรจะเรยกภาาาของตนว่าบีซายา แม้ว่าภาษาที่ต่างกันเหล่านี้จะฟังกันไม่เข้าใจก็ตาม สำหรับผู้พูดกลุ่มภาษานี้นอกวิซายาจะไม่ใบ้คำว่าบีซายาอ้างถึงภาษาเซบัวโน ในขณะที่ชาวเตาซุกที่เป็นมุสลิม คำว่าวิซายาหมายถึงชาวฟิลิปปินส์ที่นับถือศาสนาคริสต์th.wikipedia.org/wiki/กลุ่มภาษาวิซายัน
วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austronesian languages Family
ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผุ้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด- ยูโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิก คือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้
กล่มภาษาหมู่เกาะฟอร์โมซา เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพุดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาษา เป็นภาษาตายแล้ว 10 ภาษาที่เหลืออีก 4-5 ภาาาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสี่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย
ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีค
วามสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป็นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขาของตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนีเซีย ราว 1,200 ภาษาที่พบนอกเกาะไต้หวัน แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรัีบรายละเอียดทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่วมกันว่าตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน และมีการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์มนุษย์ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานนี้
ปัจจุบัน กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดกำลังถูกแทนที่ด้วยภาาาจันกลางหลัีงจากที่รัฐบาลชองสาธารณรัฐจีนเร่ิมจัดการศึกษาให้ชาวพื้นเมืองในไต้หวัน
การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทัวไปทำได้ยาก และมัีกมีข้อโต้แย้งเสมอ ซึ่้งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน โดยทั่วไปมีการจัดแบงดังนี้
ภาษาที่ยังมีชีวิตอยู่ ได้แก่ กลุ่มภาษาอตายัล ( ภาษาอตายัล, ภาษาซีติกหรือภาษาตรูกู, ภาษาบูนัน) กลุ่มภาษาอามิส( ภาษาอามิส, ภาษาอามิสสนาเตารัน, ภาษากาวาลัน, ภาษาไปวัน, ภาษาปาเซะห์, ภาษาไซซิยัต, ภาษาปูยูมา, ภาษารูไก, ภาษาเตา, ภาษาเทา) กลุ่มภาษาเซา (ภาษาเซา, ภาษาซาอารัว, ภาษากานากานาบู)
กลุ่มภาษาเซา (ภาษาบาบูซะห์, ภาษาบาซาย, ภาษาเกอตางาลัน, ภาษาเกอตางาลัน, มากาเตา, ภาษามากัตเตา, ปาโปรา, ภาษาโปโปรา, ภาษาซีรายา, ภาษาตริวัน, ภาษาเตากัส)
กลุ่มภาษาจาม เป็นกลุ่มภาษาจำนวน 10 ภาษาซึ่งใช้พุดในกัมพุชา เวียดนามและเกาไหหลำ อยุ่ในกลุ่มภาษามาเลย์อิก ตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน ภาษาจารายและภาษาจาม (ทั้งตะวันตกและตะวันออก) เป็นภาษาที่มีผุ้พูดมากที่สุด ภาษาทซัตเป็นภาษาที่มีผุ้พูดน้อยที่สุด การแบ่งย่อยในกลุ่มนี้ได้แก่ กลุ่มจามเหนือ ภาษาทซัต กลุ่มจามใต้ แบ่งเป็นกลุ่มจามชายฝั่ง ( ภาษาจาม, ภาษาจรู, ภาษารอกลาย, ภาษาจักเกีย) กลุ่มจามที่ราบสูง(ภาษาฮาโรย, ภาษาจาราย, ภาษาราเด)
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซูลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเวา โดยทั่วไป กลุ่มาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกลุ่มตอนนอก(บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภุมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้อลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษา รวมทั้งภาษาในเหาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาาฮาซัน และกลุ่มภาาาโมนโคนโคว-โคโรนตาดล) ไม่ไดอยุ่ในกลุ่มซุนดา- ซูลาเวซีแต่อยู่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ ภาษที่จัดอยู่ในกลุ่มได้แก่ กลุ่มภาษาโตมีนี, กลุ่มภาษาซาลวน, กลุ่มภาษาไกลี, กลุ่มภาษาซูลาเวซี, กลุ่มภาษาบังกู-โตกาลี,กลุ่มภาษาโวตู-โวลิโอ, กลุ่มภาษามุนา-บูโตน, ภาษากาโย, กลุ่มภาษาสุมาตรา, กลุ่มภาษามาเลย์อิก, กลุ่มภาษาลัมปูติก, ภาษาซุนดา(ในชวาตะวันตก), ภาษาชวา, ภาษามาดูรา, กลุ่มภาษาลาหลี-ซาซัก, ซุมบาวา, ภาษาปาเลาและภาาาชามอร์โรในหมู่กาะมาเรียนรวมทั้งเกาะกวม
กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนมีรวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียว คาบสมุทรทงเหนือของเกาะซูลาเวซีและเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก(บอร์เนียว-ฟิลปปินส์)และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้ถือเป็นการแบ่งตามภุมิศาสตร์
ภาษาในกลุ่มนี้มีจำนวนมาก แบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ มากมาย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างกันยังไม่แน่นอน
กลุ่มฟิลิปปินส์เหนือ
กลุ่มภาษาบาชิอิก มี 4 ภาษาระหวางเกาะลูซอนกับเกาะฟอร์โมซา รวมทั้งภาษาอีวาตันในฟิลิปปินส์ และภาษายามิในไต้หวัน, กลุ่มภาษาลูซอนเหนือ ได้แก่ ภาษาอีโลกาโน, กลุ่มภาษาอร์ดิลเยราเหนือ มี15 ภาษาในกอร์ดิลเยราและชายฝั่งตะวันออกขอวลูซอน รวมภาษาอีบานักและภาษาอักตา, กลุ่มภาาากอร์ดิลเยรากลาง-ใต้ มี 25 ภาษาในเขตภูเขาของลูซอนเหนือ รวมทั้งภาษาปางาซินันและภาษาอีโกโรต, ภาษาอาร์ตาในบริเวณปางาซินัน,ฅ กลุ่มภาษาลูซอนกลาง มี 5 ภาษาใกล้ภูเขาไฟปีนาตูโล รวมทั้งภาษาปัมปางัน, กลุ่มภาษาซัมบาลัิก รวมภาาาซัมบัลและภาษาโบลิเนา, กลุ่มภาษามินโดโรเหนือ หรือมังยันเหนือมี 3 ภาษา
กลุ่มภาษาวิซายัสและลูซอนใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามังยันใต้ มี 3 ภาษาในเขตมินโดโร รวมทั้งภาษาบูฮิดและภาษาฮานูโนโอ, กลุ่มภาษากาลาเมียน มี 2 ภาษาระหว่างมินโดโรกับปาลาวัน รวมทั้งภาษาตักบันวา, กลุ่มภาษาปลาลาวาโน มี 5 ภาษาในเกาะปาลาวาโนส, กลุ่มภาาาฟิลิปปินส์กลาง ได้แก่ ภาษาตากาล็อกหรือภาษาฟิลิปิโน,กลุ่มภาาาบิกอล มี 3 ภาษาในลูซอนใต้ เรียกรวมกันว่าบิกอล,กลุ่มภาษาวิชายัน มี 20 ภาษาในและรอบๆ ทะเลวิซายันรวมทั้งมินดาเนาเหนือ ภาษาหลักได้แก่ ภาาาเซบัวโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาษาวาราย-วาราย ภาษากินารายอา ภาษาเตาซุก ภาษามามันวา ทางเหนือของมินดาเนา กลุ่มภาษามันซากัน มี 8 ภาษาในบริเวณดาเวารวมมั้งภาษาดาวาเวนโย
กลุ่มมินดาเนา กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์ใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามาโนโบ มี 15 ภาษาในมินดาเนากลาง รวมภาษาตาซาดาย, กลุ่มภาษามาโนโบ มี 15 ภาษาในมินดาเนากลาง รวมภาษาตาซาดาย, กลุ่มภาษาดาเนามี 3 ภาษาในมินดาเนาตะวันออก รวมทั้งภาาามากินดาเนา และภาษามาราเนา, กลุ่มภาษาซูบานุน มี 5 ภาษาในคาบสมุทรทงตะวันตกของมินดาเนา, กลุ่มภาษามินดาเนาใต้ มี 5 ภาษาทางชายฝั่งตอนใต้รวมทังภาษาตโบลี, กลุ่มภาษาซามา-บาเจา มี 10 ภาษาในเกาะซุลูและบีลีรัน
กลุ่มบอร์เนียว กลุ่มภาาบารีดต มี 12 ภาษาในบอร์เนียวใต้ และมาดากัสการ์รวมทั้งภาษารายู ดยัค และภาษามาลากาซี, กลุ่มภาษากายัน มี 18 ภาษาในบอรเ์เกนียวกล่าง รวมทั้งภาษากายัน, ภาษาเปนันฅ กลุ่มภาษากายัน, ภาษาเปนัน, กลุ่มภาษดยัคบก มี 12 ภาษาในบอร์เนียวตะวันตก เช่น ภาษาลารา, กลุ่มภาษาเมลาเนา-กาจัง แบ่งเป็นภาษาเมลาเนา กับภาษากาจัง, กลุ่มภาาาเบอราวัน-บารัมดต, กลุ่มนันตุลูล กลุ่มภาษาไดยัก เป็นภาาาในบริเวณชายแดนของรัฐซาบะฮ์กับกาลิมัตัน แบ่งเป็น กลุ่มภาษาเกลาบิติก มี 5 ภาษา รวมทั้งภาษาเกลาบิต, กลุ่มภาษามูรุติก มี 12 ภาษารวมทั้งภาษาโตโกล มูรุต, กลุ่มภาาาเกนยะห์ มี 11 ภาษาในบอร์เนียวกลาง เรียกเกนยะห์, กลุ่มภาษารีจัง - เวเจา, กลุ่มภาาาซาบะฮ์ แบ่งเป็น กลุ่มภาษาดูซูนิก มี 19 ภาษา รวมทังภาษากาดาซัน-ดูซุน, ภาษาอีดาอัน, กลุ่มภาษาไปตานิก มี 5 ภาษา รวมทั้งภาษาตัมบาเนา
กลุ่มภาษาซูลาเวซีเหนือ กลุ่มภาษาซัมกีริกมี 4 ภาษา ในทางเหนือสุด รวมทั้งกลุ่มภาษาบนติก, กลุ่มภาษามีนามาซัน มี 5 ภาษาเรียกภาษามีนาอาซาฅ กฃุ่มภาาาดมนโกนโดว-โกรอนตาโล มี 9 ภาษา ในโก-รนตาโรและจังหวัดซูลาเวซีเหนือ รวมภาษาโบลาอัง โมโกนโดว
กลุ่มภาษาบาตานิก เป็นกลุ่มของภาาาในกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน มี 3 กลุ่มคือ ภาษาอีวาตัน ภาษาบาบูยัน และภาษาอิตบายัต ใช้พุดในบาตานและหมุ่เกาะบลาตาเนส ซึ่งเป็นหมุ่เกาะทางตอนเหนือของฟิลิปปินส์ อยุ่ระหว่งไต้หวันกับเกาะลูซอน อีกกลุ่มหนึ่งคือ ภาษายามิ ใช้พูดบนเกาะกล้วยไม้ใกล้กับไต้หวัน
กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลาง เป็นภาาาที่ใช้พุดในฟิลิปปินส์ กระจายทั่วไปในเกาลูซอนตอนใต้ หมุ่เกาะลูซอนตอนใต้ หมู่เกาะวิซายัส เกาะมินดาเนา และหมุ่เกาะซูลู ดัวอยางภาษาในกลุ่มนี้ได้แก่ ภาาาตากาล็อก ภาษาเซบัวโน ภาษาฮิลิไกนอน ภาษาบิโกล ภาษาวาไร-วาไร ภาษากินาโรอา ภาษาเตาซุกและอื่นๆ
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาาาตระกุลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมุ่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชย ภาาามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย
ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหูพจน์ การออกเสียงเป็นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อยส่วนมากมีห้าเสียง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียถูแบ่งเป็นกลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง-ตะวันออกการแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบงดดยใช้ลักษระทงภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจุบันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง กลุ่มในเรียกวา กลุ่มภาาาอบร์เนียว - ฟิลิปปินส์ กลุ่มนอกเรียกว่ากลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง เป็นสาขาของภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน มีผุ้พุดในหู่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลยันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกุ ประเทสอินโดนีเซีย และประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาาาบีมาที่แรพ่กระจายในจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตก และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวา และกลุ่มภาษาซูลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลักๆ ของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวา เกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ ภาาามัวฆาไร ของเกาะฟลอเรสตะวันตกและภาาาเตตุมที่เป็นภาษาประจำชาติของติมอร์-เลสเตร
การจำแนกแบ่งกลุ่มภาาานีมีหลักฐานอ่อน โดยเแพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษระร่วมของภาษาในเขตภูมิศาตร์เดียวกัน นักภาาาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออก ที่ต่างจากกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีนีเซียตะวันออก ภาษาจำนวนมากางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคยงโดยเฉพาะเกาซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกูลออสโตรนีเซียนมา และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่th.wikipedia.org/wiki/หมวดหมู่:ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
กล่มภาษาหมู่เกาะฟอร์โมซา เป็นภาษาของชาวพื้นเมืองในไต้หวันซึ่งมีจำนวน 2% ของประชากรบนเกาะไต้หวัน แต่มีจำนวนน้อยกว่านั้นที่ยังพุดภาษาดั้งเดิมของตน จากภาษาพื้นเมืองทั้งหมด 26 ภาษา เป็นภาษาตายแล้ว 10 ภาษาที่เหลืออีก 4-5 ภาาาเป็นภาษาที่ใกล้ตาย ที่เหลือจัดเป็นภาษาที่เสี่ยงที่จะกลายเป็นภาษาตาย
ภาษาพื้นเมืองของไต้หวันมีค
วามสำคัญมากในทางภาษาศาสตร์ เพราะไต้หวันคล้ายจะเป็นจุดกำเนิดของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนทั้งหมด กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซามี 9 สาขาจากทั้งหมด 10 สาขาของตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน โดยอีกสาขาหนึ่งคือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนีเซีย ราว 1,200 ภาษาที่พบนอกเกาะไต้หวัน แม้ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ยอมรัีบรายละเอียดทั้งหมด แต่ก็ยอมรับร่วมกันว่าตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนมีจุดกำเนิดในไต้หวัน และมีการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์มนุษย์ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานนี้
ปัจจุบัน กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดกำลังถูกแทนที่ด้วยภาาาจันกลางหลัีงจากที่รัฐบาลชองสาธารณรัฐจีนเร่ิมจัดการศึกษาให้ชาวพื้นเมืองในไต้หวัน
การกำหนดขอบเขตของภาษาและสำเนียงโดยทัวไปทำได้ยาก และมัีกมีข้อโต้แย้งเสมอ ซึ่้งพบได้เช่นกันในการศึกษาภาษาในกลุ่มนี้ โดยเฉพาะภาษาของเผ่าที่คล้ายกัน โดยทั่วไปมีการจัดแบงดังนี้
ภาษาที่ยังมีชีวิตอยู่ ได้แก่ กลุ่มภาษาอตายัล ( ภาษาอตายัล, ภาษาซีติกหรือภาษาตรูกู, ภาษาบูนัน) กลุ่มภาษาอามิส( ภาษาอามิส, ภาษาอามิสสนาเตารัน, ภาษากาวาลัน, ภาษาไปวัน, ภาษาปาเซะห์, ภาษาไซซิยัต, ภาษาปูยูมา, ภาษารูไก, ภาษาเตา, ภาษาเทา) กลุ่มภาษาเซา (ภาษาเซา, ภาษาซาอารัว, ภาษากานากานาบู)
กลุ่มภาษาเซา (ภาษาบาบูซะห์, ภาษาบาซาย, ภาษาเกอตางาลัน, ภาษาเกอตางาลัน, มากาเตา, ภาษามากัตเตา, ปาโปรา, ภาษาโปโปรา, ภาษาซีรายา, ภาษาตริวัน, ภาษาเตากัส)
กลุ่มภาษาจาม เป็นกลุ่มภาษาจำนวน 10 ภาษาซึ่งใช้พุดในกัมพุชา เวียดนามและเกาไหหลำ อยุ่ในกลุ่มภาษามาเลย์อิก ตระกูลภาาาออสโตรนีเซียน ภาษาจารายและภาษาจาม (ทั้งตะวันตกและตะวันออก) เป็นภาษาที่มีผุ้พูดมากที่สุด ภาษาทซัตเป็นภาษาที่มีผุ้พูดน้อยที่สุด การแบ่งย่อยในกลุ่มนี้ได้แก่ กลุ่มจามเหนือ ภาษาทซัต กลุ่มจามใต้ แบ่งเป็นกลุ่มจามชายฝั่ง ( ภาษาจาม, ภาษาจรู, ภาษารอกลาย, ภาษาจักเกีย) กลุ่มจามที่ราบสูง(ภาษาฮาโรย, ภาษาจาราย, ภาษาราเด)
กลุ่มภาษาซุนดา-ซูลาเวซี เป็นสาขาของกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ได้แก่ภาษาที่ใช้พูดในเกาะซูลาเวซี และเกาะซุนดาใหญ่ เช่นเดียวกับในชามอโรและปาเวา โดยทั่วไป กลุ่มาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตอนใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) และกลุ่มตอนนอก(บอร์เนียว-ฟิลิปปินส์) ซึ่งการแบ่งนี้ใช้หลักทางภุมิศาสตร์เป็นเกณฑ์
ภาษาในกลุ่มซุนดา-ซูลาเวซีแบ่งเป็นกลุ่มตามความใกล้ชิดได้อลายกลุ่มแต่ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มยังไม่ชัดเจน ภาษาในเกาะซูลาเวซีเหนือ 20 ภาษา รวมทั้งภาษาในเหาะทางเหนือ (กลุ่มภาษาซังฆีริก เช่น ภาษาบันติก กลุ่มภาษามีนาาฮาซัน และกลุ่มภาาาโมนโคนโคว-โคโรนตาดล) ไม่ไดอยุ่ในกลุ่มซุนดา- ซูลาเวซีแต่อยู่ในกลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ ภาษที่จัดอยู่ในกลุ่มได้แก่ กลุ่มภาษาโตมีนี, กลุ่มภาษาซาลวน, กลุ่มภาษาไกลี, กลุ่มภาษาซูลาเวซี, กลุ่มภาษาบังกู-โตกาลี,กลุ่มภาษาโวตู-โวลิโอ, กลุ่มภาษามุนา-บูโตน, ภาษากาโย, กลุ่มภาษาสุมาตรา, กลุ่มภาษามาเลย์อิก, กลุ่มภาษาลัมปูติก, ภาษาซุนดา(ในชวาตะวันตก), ภาษาชวา, ภาษามาดูรา, กลุ่มภาษาลาหลี-ซาซัก, ซุมบาวา, ภาษาปาเลาและภาาาชามอร์โรในหมู่กาะมาเรียนรวมทั้งเกาะกวม
กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์ หรือกลุ่มภาษาเอสเปโรนีเซีย หรือกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกนอก เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนมีรวมภาษาของฟิลิปปินส์ เกาะบอร์เนียว คาบสมุทรทงเหนือของเกาะซูลาเวซีและเกาะมาดากัสการ์ ภายในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตกแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มนอก(บอร์เนียว-ฟิลปปินส์)และกลุ่มใน (ซุนดา-ซูลาเวซี) การแบ่งแบบนี้ถือเป็นการแบ่งตามภุมิศาสตร์
ภาษาในกลุ่มนี้มีจำนวนมาก แบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ มากมาย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างกันยังไม่แน่นอน
กลุ่มฟิลิปปินส์เหนือ
กลุ่มภาษาบาชิอิก มี 4 ภาษาระหวางเกาะลูซอนกับเกาะฟอร์โมซา รวมทั้งภาษาอีวาตันในฟิลิปปินส์ และภาษายามิในไต้หวัน, กลุ่มภาษาลูซอนเหนือ ได้แก่ ภาษาอีโลกาโน, กลุ่มภาษาอร์ดิลเยราเหนือ มี15 ภาษาในกอร์ดิลเยราและชายฝั่งตะวันออกขอวลูซอน รวมภาษาอีบานักและภาษาอักตา, กลุ่มภาาากอร์ดิลเยรากลาง-ใต้ มี 25 ภาษาในเขตภูเขาของลูซอนเหนือ รวมทั้งภาษาปางาซินันและภาษาอีโกโรต, ภาษาอาร์ตาในบริเวณปางาซินัน,ฅ กลุ่มภาษาลูซอนกลาง มี 5 ภาษาใกล้ภูเขาไฟปีนาตูโล รวมทั้งภาษาปัมปางัน, กลุ่มภาษาซัมบาลัิก รวมภาาาซัมบัลและภาษาโบลิเนา, กลุ่มภาษามินโดโรเหนือ หรือมังยันเหนือมี 3 ภาษา
กลุ่มภาษาวิซายัสและลูซอนใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามังยันใต้ มี 3 ภาษาในเขตมินโดโร รวมทั้งภาษาบูฮิดและภาษาฮานูโนโอ, กลุ่มภาษากาลาเมียน มี 2 ภาษาระหว่างมินโดโรกับปาลาวัน รวมทั้งภาษาตักบันวา, กลุ่มภาษาปลาลาวาโน มี 5 ภาษาในเกาะปาลาวาโนส, กลุ่มภาาาฟิลิปปินส์กลาง ได้แก่ ภาษาตากาล็อกหรือภาษาฟิลิปิโน,กลุ่มภาาาบิกอล มี 3 ภาษาในลูซอนใต้ เรียกรวมกันว่าบิกอล,กลุ่มภาษาวิชายัน มี 20 ภาษาในและรอบๆ ทะเลวิซายันรวมทั้งมินดาเนาเหนือ ภาษาหลักได้แก่ ภาาาเซบัวโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาษาวาราย-วาราย ภาษากินารายอา ภาษาเตาซุก ภาษามามันวา ทางเหนือของมินดาเนา กลุ่มภาษามันซากัน มี 8 ภาษาในบริเวณดาเวารวมมั้งภาษาดาวาเวนโย
กลุ่มมินดาเนา กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์ใต้ ได้แก่ กลุ่มภาษามาโนโบ มี 15 ภาษาในมินดาเนากลาง รวมภาษาตาซาดาย, กลุ่มภาษามาโนโบ มี 15 ภาษาในมินดาเนากลาง รวมภาษาตาซาดาย, กลุ่มภาษาดาเนามี 3 ภาษาในมินดาเนาตะวันออก รวมทั้งภาาามากินดาเนา และภาษามาราเนา, กลุ่มภาษาซูบานุน มี 5 ภาษาในคาบสมุทรทงตะวันตกของมินดาเนา, กลุ่มภาษามินดาเนาใต้ มี 5 ภาษาทางชายฝั่งตอนใต้รวมทังภาษาตโบลี, กลุ่มภาษาซามา-บาเจา มี 10 ภาษาในเกาะซุลูและบีลีรัน
กลุ่มบอร์เนียว กลุ่มภาาบารีดต มี 12 ภาษาในบอร์เนียวใต้ และมาดากัสการ์รวมทั้งภาษารายู ดยัค และภาษามาลากาซี, กลุ่มภาษากายัน มี 18 ภาษาในบอรเ์เกนียวกล่าง รวมทั้งภาษากายัน, ภาษาเปนันฅ กลุ่มภาษากายัน, ภาษาเปนัน, กลุ่มภาษดยัคบก มี 12 ภาษาในบอร์เนียวตะวันตก เช่น ภาษาลารา, กลุ่มภาษาเมลาเนา-กาจัง แบ่งเป็นภาษาเมลาเนา กับภาษากาจัง, กลุ่มภาาาเบอราวัน-บารัมดต, กลุ่มนันตุลูล กลุ่มภาษาไดยัก เป็นภาาาในบริเวณชายแดนของรัฐซาบะฮ์กับกาลิมัตัน แบ่งเป็น กลุ่มภาษาเกลาบิติก มี 5 ภาษา รวมทั้งภาษาเกลาบิต, กลุ่มภาษามูรุติก มี 12 ภาษารวมทั้งภาษาโตโกล มูรุต, กลุ่มภาาาเกนยะห์ มี 11 ภาษาในบอร์เนียวกลาง เรียกเกนยะห์, กลุ่มภาษารีจัง - เวเจา, กลุ่มภาาาซาบะฮ์ แบ่งเป็น กลุ่มภาษาดูซูนิก มี 19 ภาษา รวมทังภาษากาดาซัน-ดูซุน, ภาษาอีดาอัน, กลุ่มภาษาไปตานิก มี 5 ภาษา รวมทั้งภาษาตัมบาเนา
กลุ่มภาษาซูลาเวซีเหนือ กลุ่มภาษาซัมกีริกมี 4 ภาษา ในทางเหนือสุด รวมทั้งกลุ่มภาษาบนติก, กลุ่มภาษามีนามาซัน มี 5 ภาษาเรียกภาษามีนาอาซาฅ กฃุ่มภาาาดมนโกนโดว-โกรอนตาโล มี 9 ภาษา ในโก-รนตาโรและจังหวัดซูลาเวซีเหนือ รวมภาษาโบลาอัง โมโกนโดว
กลุ่มภาษาบาตานิก เป็นกลุ่มของภาาาในกลุ่มภาาามาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกุลภาษาออสโตรนีเซียน มี 3 กลุ่มคือ ภาษาอีวาตัน ภาษาบาบูยัน และภาษาอิตบายัต ใช้พุดในบาตานและหมุ่เกาะบลาตาเนส ซึ่งเป็นหมุ่เกาะทางตอนเหนือของฟิลิปปินส์ อยุ่ระหว่งไต้หวันกับเกาะลูซอน อีกกลุ่มหนึ่งคือ ภาษายามิ ใช้พูดบนเกาะกล้วยไม้ใกล้กับไต้หวัน
กลุ่มภาษาฟิลิปปินส์กลาง เป็นภาาาที่ใช้พุดในฟิลิปปินส์ กระจายทั่วไปในเกาลูซอนตอนใต้ หมุ่เกาะลูซอนตอนใต้ หมู่เกาะวิซายัส เกาะมินดาเนา และหมุ่เกาะซูลู ดัวอยางภาษาในกลุ่มนี้ได้แก่ ภาาาตากาล็อก ภาษาเซบัวโน ภาษาฮิลิไกนอน ภาษาบิโกล ภาษาวาไร-วาไร ภาษากินาโรอา ภาษาเตาซุกและอื่นๆ
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาาาตระกุลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมุ่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชย ภาาามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยุ่ห่างไกลที่สุดใช้พุดบนเกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย
ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหูพจน์ การออกเสียงเป็นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อยส่วนมากมีห้าเสียง
หลายทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียถูแบ่งเป็นกลุ่มตะวันตกและกลุ่มกลาง-ตะวันออกการแบ่งของกลุ่มตะวันตกเป็นการแบงดดยใช้ลักษระทงภูมิศาสตร์โดยไม่มีความเกี่ยวพันกับหน่วยทางภาษาศาสตร์ ในปัจจุบันกลุ่มตะวันตกนี้จึงแบ่งเป็นกลุ่มนอกและกลุ่มในที่กลายเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีเนเซียศูนย์กลาง กลุ่มในเรียกวา กลุ่มภาาาอบร์เนียว - ฟิลิปปินส์ กลุ่มนอกเรียกว่ากลุ่มภาษาซุนดา-สุลาเวสี
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง เป็นสาขาของภาษาตระกุลออสโตรนีเซียน มีผุ้พุดในหู่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลยันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกุ ประเทสอินโดนีเซีย และประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาาาบีมาที่แรพ่กระจายในจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตก และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวา และกลุ่มภาษาซูลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลักๆ ของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวา เกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ ภาาามัวฆาไร ของเกาะฟลอเรสตะวันตกและภาาาเตตุมที่เป็นภาษาประจำชาติของติมอร์-เลสเตร
การจำแนกแบ่งกลุ่มภาาานีมีหลักฐานอ่อน โดยเแพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษระร่วมของภาษาในเขตภูมิศาตร์เดียวกัน นักภาาาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออก ที่ต่างจากกลุ่มภาษามาลาดย-โพลีนีเซียตะวันออก ภาษาจำนวนมากางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคยงโดยเฉพาะเกาซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยุ่ในตระกูลออสโตรนีเซียนมา และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่th.wikipedia.org/wiki/หมวดหมู่:ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2560
Austronesian languages
ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมุ่เกาะในเอชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยุ่ในระดับมาตรฐานเดียวกับ ตระกูลภาาาอินโด-ยุโรเปียนและตระกุลภาษายูราลักคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกุลได้
คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน astro (ลมใต้ป รวมกับคำภาษาอรีก nesos ตระกูฃภษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะสวนมากใช้พุดในบริเวณหมุ่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และภาษาจามที่สช้พุดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วดโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เร่ิมต้้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวนออกของมหาสมุ รแปซิฟิก ภษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่่ใช้พุดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกุลนี้ ภาษาตระกุลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาาากลุ่มเกาะฟอร์โมซา ในไต้หวันเป้นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภษาาที่ใช้พุดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเซยียน ซึ่งบางคร้้งเรียกวาภาษานอกเาะฟอร์โมซา
ประวัติศาสรเร่ิมต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาออสโตรนีเซียนย้อนกลับไปเมื่อครั้งยังเป็นภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม จุดเร่ิมต้นของภาษานี้อยู่ในไต้หวัน เพราะบนเกาะนี้มีความแตกต่่างของภาาาตระกุลนี้มา ดยมีถึง 9 จากทั้งหมด 10 สาขา ทั้งนี้นักภาษาศาสตร์ถือว่า จุดกำเนิดของภาษาจะอยุ่ในที่ๆ มีความแตกต่างของภาษากลุ่มนั้นๆ มาก
การศึกษาจุดเริ่มต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนโดยใช้หลักฐานทางพันธุศาสตร์พบวา่จุดกำเนิดนั้นน่าจะอยู่ในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย หลักฐานทางโบราณคดีระบุว่า ผุ้พูดภาษานี้อพยพไปจากจีนตอนใต้ ไปสู่ไต้หวันเมื่อราว 8,000 ปีมาแล้ว จากนั้นจึงอพยพออกทางเรือไปยังหมุ่เกาะต่างๆ เมื่อราว 6,000 ปีมาแล้ว กระนั้นก็ตาม ยังมีช่องว่างในช่วงเวลาดังกล่าวอยุ่เพราะนักภาาาศาสตร์พบว่าข้อมูลเกี่ยวกับภาษาออสโตรนีเซียนดังเดิมยุติแค่ชายฝั่งตะวันตกของไต้หวัน แต่ไม่มีความเช ่อมโยงกบภาาบนแผ่นดินใหญ่ยกเว้นภาษากลุ่มจาม แต่มีหลักฐานว่าเป็นภาษาของผุ้อพยพเข้าไปใหม่
ได้มีการศึกษาเพื่อเชื่อมโยงตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนเข้ากับภาษาตระกุลอืนๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ สมมติดฐานที่ดุสอดคล้องที่สุดคือ สมมติฐานออสโตร-ไท ซึ่งเชื่อมโยงตระกูลภาษาไท-กะไดอาจเป็นสาขาของภาษากลุ่มบอร์เนียวฟิลิปปินส์ แต่ยังไม่ได้รับการสนับสนุจากนักภาษาศาสตร์มากนัก
นอกจากนนียังมีข้อเสนอว่าภาษาญี่ปุ่นอาจมีความเกี่ยวพันกับภาษาตระกูลออโตรนีเซียน โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาตระกูลนี้ ดดยผุ้ที่เสนอทฤษฎีนี้เกล่าวว่าภาษาตระกูลออสโตรนีเซยนเคยครอบคลุมทางเหนือของเกาฟิร์โมซา (ทางตะวันตำของญี่ปุ่น เช่นหมู่เกาะริวกิว และคิวชู) เช่นเดี่ยวกับทางใต้ ไม่มีหลักฐานทางพันธุศาสตร์แสดงถึงความเกี่ยวพันระหว่างผุ้พูดภาษาญี่ป่นุโบราณกับผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม ซึ่งน่่าจะเป็นการติดต่อสัมพันธ์กันธรรมดาที่ไม่มีผลต่อการหลอมรวมทางวัฒนธรร การวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์ของชาวริวกิว เทียบกับชาวญี่ปุ่และชาวพื้นเมืองของไต้หวัน พบว่าใกล้เคียงกับชาวญี่ป่นุมากว่า ดังนั้น หากจะมีการเาี่ยวข้องกันจริง จะต้องเกิดในจีนแผ่นดินใหญ่ก่อนที่ผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนจะอพยพไปได้หวัน และผู้พูดภาษาญี่ปุ่่นจะอพยพไปญี่ปุ่น
การกำหนดลักษณะทั่วไปของตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนทำได้ยากเพราะเป็นตระกูลทื่กว้างมาก และมีความหลากหลาย โดยทั่วไปแบ่งได้เป็นสามกลุมย่อยคือ
- ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประโยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้ของกริยา
- ภาษาแบบอินโดนีเซีย
- ภาษาแบบหลัีงอินโดนีเซีย
ภาษาตระกูลนี้มีแนวโ้น้มจะใช้การซ้ำคำ เป็นภาษารูปคำติดต่อ พยางค์เป็นแบบพยัญชนะ-สระ
ภาษาหลัก ในตระกุลนี้มีผุ้พูดมากว่า 4 ล้านคนได้แก่ ภาษาชวา ภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภาษาตากาล็อก ภาษาเซบัวดน ภาษามาลากาซี ภาษามาดูรา ภาษาอีดฃลกาโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาาามินังกาเบา ภาษาบาตัก ภาษาบิโกล ภาษาบันจาร์ ภาษาบาหลี
ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นภาษาราชการได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาตากาล็อก(หรือภาษาฟิลิปิโน ประเทศฟิลิปปินส์) ภาษามลายู (มาเลเซย สิงคโปร์ บรูไน) ภาษามาลากาซี (มาดากัสการ์) ภาษาเตตุม (ติมอร์-เลสเต) ภาษาฟิจิ (ฟิจิ) ภาษาซามัว (ซามัว) ภาษาตาฮีตี (เฟรนช์โปลินีเซียน) ภาษาตองกา (ตองกา) ภาษากิลเบิร์ต (คิริบาส) ภาษามาวรี (นิวซีแลนด์) ภาษาชอมอร์โร (กวมและหมู่เกาะนอร์เกาะนอร์เทิร์นมาเรียน) ภาษามาร์แชลล์ (หมู่เกาะมาร์แชลล์) ภาษานาอูฐ (นาอูฐ) ภาษาฮาวาย (รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา)th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน astro (ลมใต้ป รวมกับคำภาษาอรีก nesos ตระกูฃภษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะสวนมากใช้พุดในบริเวณหมุ่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และภาษาจามที่สช้พุดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วดโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เร่ิมต้้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวนออกของมหาสมุ รแปซิฟิก ภษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่่ใช้พุดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกุลนี้ ภาษาตระกุลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาาากลุ่มเกาะฟอร์โมซา ในไต้หวันเป้นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภษาาที่ใช้พุดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเซยียน ซึ่งบางคร้้งเรียกวาภาษานอกเาะฟอร์โมซา
ประวัติศาสรเร่ิมต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาออสโตรนีเซียนย้อนกลับไปเมื่อครั้งยังเป็นภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม จุดเร่ิมต้นของภาษานี้อยู่ในไต้หวัน เพราะบนเกาะนี้มีความแตกต่่างของภาาาตระกุลนี้มา ดยมีถึง 9 จากทั้งหมด 10 สาขา ทั้งนี้นักภาษาศาสตร์ถือว่า จุดกำเนิดของภาษาจะอยุ่ในที่ๆ มีความแตกต่างของภาษากลุ่มนั้นๆ มาก
การศึกษาจุดเริ่มต้นของกลุ่มชนที่พุดภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนโดยใช้หลักฐานทางพันธุศาสตร์พบวา่จุดกำเนิดนั้นน่าจะอยู่ในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย หลักฐานทางโบราณคดีระบุว่า ผุ้พูดภาษานี้อพยพไปจากจีนตอนใต้ ไปสู่ไต้หวันเมื่อราว 8,000 ปีมาแล้ว จากนั้นจึงอพยพออกทางเรือไปยังหมุ่เกาะต่างๆ เมื่อราว 6,000 ปีมาแล้ว กระนั้นก็ตาม ยังมีช่องว่างในช่วงเวลาดังกล่าวอยุ่เพราะนักภาาาศาสตร์พบว่าข้อมูลเกี่ยวกับภาษาออสโตรนีเซียนดังเดิมยุติแค่ชายฝั่งตะวันตกของไต้หวัน แต่ไม่มีความเช ่อมโยงกบภาาบนแผ่นดินใหญ่ยกเว้นภาษากลุ่มจาม แต่มีหลักฐานว่าเป็นภาษาของผุ้อพยพเข้าไปใหม่
ได้มีการศึกษาเพื่อเชื่อมโยงตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนเข้ากับภาษาตระกุลอืนๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ สมมติดฐานที่ดุสอดคล้องที่สุดคือ สมมติฐานออสโตร-ไท ซึ่งเชื่อมโยงตระกูลภาษาไท-กะไดอาจเป็นสาขาของภาษากลุ่มบอร์เนียวฟิลิปปินส์ แต่ยังไม่ได้รับการสนับสนุจากนักภาษาศาสตร์มากนัก
นอกจากนนียังมีข้อเสนอว่าภาษาญี่ปุ่นอาจมีความเกี่ยวพันกับภาษาตระกูลออโตรนีเซียน โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาตระกูลนี้ ดดยผุ้ที่เสนอทฤษฎีนี้เกล่าวว่าภาษาตระกูลออสโตรนีเซยนเคยครอบคลุมทางเหนือของเกาฟิร์โมซา (ทางตะวันตำของญี่ปุ่น เช่นหมู่เกาะริวกิว และคิวชู) เช่นเดี่ยวกับทางใต้ ไม่มีหลักฐานทางพันธุศาสตร์แสดงถึงความเกี่ยวพันระหว่างผุ้พูดภาษาญี่ป่นุโบราณกับผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม ซึ่งน่่าจะเป็นการติดต่อสัมพันธ์กันธรรมดาที่ไม่มีผลต่อการหลอมรวมทางวัฒนธรร การวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์ของชาวริวกิว เทียบกับชาวญี่ปุ่และชาวพื้นเมืองของไต้หวัน พบว่าใกล้เคียงกับชาวญี่ป่นุมากว่า ดังนั้น หากจะมีการเาี่ยวข้องกันจริง จะต้องเกิดในจีนแผ่นดินใหญ่ก่อนที่ผุ้พูดภาษาออสโตรนีเซียนจะอพยพไปได้หวัน และผู้พูดภาษาญี่ปุ่่นจะอพยพไปญี่ปุ่น
การกำหนดลักษณะทั่วไปของตระกุลภาษาออสโตรนีเซียนทำได้ยากเพราะเป็นตระกูลทื่กว้างมาก และมีความหลากหลาย โดยทั่วไปแบ่งได้เป็นสามกลุมย่อยคือ
- ภาษาแบบฟิลิปปินส์ เรียงประโยคโดยให้คำกริยามาก่อน และมีการกำหนดจุดเน้ของกริยา
- ภาษาแบบอินโดนีเซีย
- ภาษาแบบหลัีงอินโดนีเซีย
ภาษาตระกูลนี้มีแนวโ้น้มจะใช้การซ้ำคำ เป็นภาษารูปคำติดต่อ พยางค์เป็นแบบพยัญชนะ-สระ
ภาษาหลัก ในตระกุลนี้มีผุ้พูดมากว่า 4 ล้านคนได้แก่ ภาษาชวา ภาษามลายุ ภาษาซุนดา ภาษาตากาล็อก ภาษาเซบัวดน ภาษามาลากาซี ภาษามาดูรา ภาษาอีดฃลกาโน ภาษาฮิลิกายนอน ภาาามินังกาเบา ภาษาบาตัก ภาษาบิโกล ภาษาบันจาร์ ภาษาบาหลี
ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นภาษาราชการได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาตากาล็อก(หรือภาษาฟิลิปิโน ประเทศฟิลิปปินส์) ภาษามลายู (มาเลเซย สิงคโปร์ บรูไน) ภาษามาลากาซี (มาดากัสการ์) ภาษาเตตุม (ติมอร์-เลสเต) ภาษาฟิจิ (ฟิจิ) ภาษาซามัว (ซามัว) ภาษาตาฮีตี (เฟรนช์โปลินีเซียน) ภาษาตองกา (ตองกา) ภาษากิลเบิร์ต (คิริบาส) ภาษามาวรี (นิวซีแลนด์) ภาษาชอมอร์โร (กวมและหมู่เกาะนอร์เกาะนอร์เทิร์นมาเรียน) ภาษามาร์แชลล์ (หมู่เกาะมาร์แชลล์) ภาษานาอูฐ (นาอูฐ) ภาษาฮาวาย (รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา)th.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...