วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Bahasa ; Confict Part 2

อักษรรูมี
           รูมี "หรือ" ยาวี "ข้อถกเถียงที่ยังไม่จบ
           ชะเอมรีบยา นราธิวาสได้รับรางวัลสาขาวิชาเอกสุนทรียะในปี พ.ศ. 2553 พลวัตภาษามลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคี มี ความเห็นพ้องด้วย เขียนขึ้นและลงในหมู่นักวิชาการด้านศาสนาในหมู่นักวิชาการด้านศาสนาเท่านั้นอาจมีสื่อยาที่คุณถนอมผลิตจากกลุ่มจิตแพทย์
           "อักษยาวีที่นี่น่าจะหหว่าเป็นคนที่มีอิทธิพลมากในความหวาดกลัวคนสามารถอ่านเขียนไทยได้ดีกว่ายาวี โดยเฉพาะคนที่มีการศึกษา" ซะการีย์ยากล่าวและว่า "ในสามาจังกวัดผมจะพูดจะเขยนว่า วิศวกรรมศาสตร์เป็นยาวียังไง เหมือนเราตกหลุม และหยุดชะงัก แต่ที่มาเลเซียและอินโดนีเซียภาษาเขาก็อัพเลเวลอย่่างรวดเร็ว แต่ภาษาในสามาจังหวัด ัไมไปไหน"
           ซะการีย์ยา กล่าวหนังสือที่ใช้อักษรยาวี แต่ตำราศาสนาเป็น ที่ใช้เรียนปอเนาะ ซึ่งถูกเขียนขึ้นเมื่อร้อยปีที่แล้ว จังไม่มีศัพท์ที่ร่วมสมัยเพื่อใช้พุดถึงเรื่องในชีวิตประจำวันแม้ว่าจะมีความพยายาจัดทำหนังสือด้วยอักษรยาวีมากขึ้น แต่นั่นก็ไม่เพียงพอ "โดยหลักแล้ว ภาษามันต้องเดินไปหมดเป็นองคกพยพ ทั้งนิตยสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม หนังสือทั่วไป แต่ยาวีก็ไม่ได้ถึงไหน ผมุไม่ได้โทษใตีแต่นี้คือสิ่งที่เป้น ส่วนหนึ่งเพราะเราอยู่ภายใต้รัฐไทย ภาษามลายูจึงไม่ได้รับการสนับสนุน
           
อักษรยาวี
ซะารีย์ยาเห็นว่า ควรมีการส่งเสริมการใช้าษามลายู แต่น่าจะเลือกส่งเสริมใช้อักษรที่แทนยาวีเหมือนประเทศเพื่อบ้าน" ถ้าเล่อกรูมี เราจะทันมาเลเซยน อินโดนีเซีย เราสามารถร่วมใช้ภาษาและหนังสือที่เขาพัฒนาไปไกลแล้ว เขามีตำราความรู้ที่เขียนด้วยรูมีเยอะแยะมากมาย เราไปต่อยอดตรงนั้นได้เลย มันจะสร้างความก้าวหน้าทางภาษาได้เร็ว แต่ถ้าเลืกตัวยาวี เรแทบต้องเร่ิมจากศูนย์ ต้องยอมรับวา ยาวีมันใช้ในวงแคบ เป็นส่วนน้อยของโลกมลายู แล้วเมื่อเราจะสื่อสารกับที่อื่น เราก็ต้องเปลี่ยนเป็ฯรูมีอีกที เราควรเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งถ้าเรียนและใช้ควบคู่กันไปทั้งอสองอย่าง มันก็จะอ่นอแอ ไม่ดีสักอย่าง " กวีซีไรต์กล่าวและเสริมว่า "เืพ่อควมก้าวหน้าของภาษาและโลกความรู้ เราควรเลือกรูมี ถ้าเรียนรูมีตั้งแต่เด็ เรียนมัธยมจบก็ไปต่อมหาลิทยาลัยที่มาเลเซียได้เลย ไม่ต้องไปเรียนปรับพื้นฐานภาษา รียนตัวรูมีอีกที นี่ผมพยายามองโลกอย่งตามความเป็นตริงที่สุด"
              อย่ไรก็ตาม ในฐานะนักเขียน ซะการีย์ยาบอกง่า ถ้าให้เขาแนะนำเยาชนมลายูว่าจะฝึกเขียนงานวรรณกรรมและกวีเป็นภาษาอะไร เขาจะแนะนำให้เขียนเป็นภาษไทย เพราะจะทำให้มีที่ทางในวงการหนังสือและวรรณกรรมไทย "ถ้าคุณเขียนยาวี พื้นที่คุณแทบไม่มี คุณเขียนเป็นรูมีก็ได้ ถ้าคุณเขียนได้ดี เขียนได้ถึง คุณก็จะมีพื้นที่ที่ทาเลเซีย"
              แต่ภาคประชาสังคมในปาตานีส่วนใหญ่ดุจะให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และส่งเสริมการใช้อักษรยาวีมากกวา
              ฌายิบ อาแวบือซา ผุ้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมมลายู กล่าวว่า เขารู้สึกเป็นห่วงอักษรยาวี เพราะมีความสำคัญนการใช้อ่านและทำความเข้าใจหนังสือเก่าๆ ซึ่งได้บันทึกภูมิปัญญาของชาวมลายูในสมัยก่อนเอาไว้ และยังแสดงถึงความรุ่มรวยทางภาษา หากภาาาหายไป ภูมิปัญญาส่วนหนึ่งก็อาจหายไปด้วย นอกจากนี้ อักษรยาวี ยังเข้ากับเสียงในภาษามลายูได้ดีกว่วอักษรรูมี
              ฮาราเห็นว่าต่างจากซะการีฐย์ยา โดยให้เหตุผลว่า การส่งเสริมให้ใช้อัการยาวีมีความเป็นไปได้มากกว่ารูมี เพราะว่าชาวมลายูปาตานีผ่านการเรียนอักษรยาวีในระบบการศึกษาแบบดั้งเดิมในโรงเรียนตารกีกา และโรงเรียนปอเนาะชาวปาตานีจำนวนหนึ่งจึงสามารถอ่านตัวยาวีได้อยู่แล้ว แต่ที่ปาตานีมีได้มีการเรียนการสอนตัวรูมี การใช้ตัวรูมีจึงไม่น่าจะสามารถใช้ได้จริง "เมื่อเรามีระบบการเขชียนที่ใช้กันจริงอยู่แล้ว เราจะไปนำอย่างอื่นมาทำไม" เช่นเดียวกับฮารา ซอลาหุดดีกล่าวว่า  "ยาวีเป็นอัตลักษณ์ มันมีความสำคัญทางจิตใจของคนที่นี้"
            ฮาราชี้ให้เห็นถึงสภาวะที่ภาษามลายูถูกคุกคามจากการเป็นเมืองขึ้น และการฟื้นฟูหลังการเป็นเมืองขึ้น ดดยยกตัวอย่างประเทศมาเลซียว่า ไในระว่างการเป็นเมืองขึ้น ภาษามลายูสูญเสียโอกาสที่จะพัฒนาอย่างที่ควรเป็นไปตามกาลเวา นักวิชาการด้านภาษามลายูที่ำคัญคนหนึ่ง อธิบายถึงภาษามลายูก่อนมาเลเซียได้รับเอกราชว่าเป็น ภาษาของร้านกาแฟและตลาด ไม่มีท่ทางในที่ทางแบบทางการและในสถาบันศึกษาระดับสูง" ภายใต้สถานการณืเช่นนี้ ผมเชื่อว่า มเป็นธรรมชาติมาก ที่ภาษา ซึ่งชัดมากว่าถูกคุกคามจากคนนอก(เจ้าอาณานิคมป ควรถุกถือว่าเป็นหนึ่งที่สิ่งแสดงอัตลักษรืที่สำคัญทีุ่ดของชาวมลายู และนี้ก็สามารถประยุต์กับสภานการณ์ที่เกิดขึ้นกับชาวมลายูปาตานี"
            เพื่อให้ภาษามลายูได้พัฒนาอย่างเต็มที่ ฮาราเสนอว่า รัฐบลาลไทยควรทำให้ภาษามลายูมีสถรนะทางกฎหมายเพื่อให้แน่ใจว่า ภาษามลายูจะได้รับการสนับสนุนและพัฒนาจากรัฐ และพัฒนาอยางเต็มี่ในทุกๆ ด้าน เช่น เดียวกับภาษามลายูในมาเลเซียและอินดดนีเซีย "สถานะทางกฎหมายของภาษาเป็นปส่ิงที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการพัฒนาภาษานั้นๆ อย่างไรก็ตาม สถานะทางกฎหมายไม่สามารถการันตีการช้ภาษาอย่างเต็มที่เสมอไป" ฮารายกตัวอย่างสถานของภาษามลายูในมาลเซีย และอินโดนีเซียที่ต่างกัน ในขณะที่ในมาเลเซีย ภาษามลายูมีสภานะทางกฎหมายที่เข้มแข็ง ในฐานะภาษาแห่งชาติ และเป็นภาษาทางการภาษาเดียวของประเทศแต่ในความเป็นจริง ภาษาที่มีความสำคัญในการก้าวหน้าทางการงานและสังคม คือ ภาษาอังกฟษ ซึ่งถุกให้ความสำคัญมากกว่าลายูมาก "ในแง่นี้ จิตวิญญาณของมาเลเซียยังไม่ได้รับเอกราช ความนึกคิดของผุ้คนยังคงอยุ่ในอาณานิคม"
           
  ภาษามลายูเป็นส่วนหนึ่งของรากเหง้าความขัดแย้งที่นำไปสู่การลุกขึ้นสุ้โดยการจับอาวุธของคนมลายุในปาตานี ซึ่งเป็นปมที่เกิดขึ้นเมื่อเกือบ 80 ก่อน เมื่อจอมพล ป. พิบูลย์สงคราม นายกรัฐมนตีในขณะนั้น ออกนโยบายรัฐนิยม บังคับทางวัฒนะรรมให้พลเมืองไทยทั้งประเทศรียนและพุดภาษาไทย เลิกการเรียกคนตามชาติพันธ์ หากให้เรียกว่าเป็น "คนไทย" ทั้งหมด และแต่งกายแบบเเดียวกันามที่รัฐกำหนด เพื่อปลุกความรุ้สึกชาตินิยมและทำให้ดูทัดเทียมอารยะประเทศ ในช่วงที่ประเทศเผชิญภัยสงครามโลกครั้งที่สอง
           นโยบายดังกล่าวมีผลกระทบอย่างยิ่งยวดต่อชาวมลายุ เพราะภาษาที่ผุ้คนใช้ในชีวิตประจำวันและเรียนในดรงเรียนคือภาษามลายู โดยเแฑาะในวิชาศาสนา นโยบายรัฐนิยมจึงสร้างความไม่พอใจแก่ชาวมลายูเป็นอย่างมาก
           นอกจากนโยบายรัฐนิยมแล้ว เมื่อประมาณ 60 ปีก่อนยังมีการกวาดล้างหนังสือต้องห้ามภาษามลายูเล่มสำคัญชือ่ ประวัติศาสตร์ ราชอาณาจักรมลายูปาตานี ดดยอิบราฮิม ซุกรี ซึ่งตีพิมพ์ในปี 2503 เป็นหนังสือที่ถุกขนานนามว่า "เป็นประวัติศาสตร์นิพนธ์เล่มแรกที่ได้สร้างแม่แบบการเล่าเรือง  ให้กับประวัติศาสตร์ปาตานีในเวลาต่อมา" หรือ เป็นประวัติศาสตร์ฉบับ "เจ็บปวด" ของคนมลายูปาตานีที่ถุกรัฐไทยกรุะทำ...
           แม้หนังสือเล่มดังกล่าวถุกแนโดยทางการไทย และทางการมาเลเซีย ด้วยข้อหาเป็นหนังสือปลุกระดม แต่ก็ยิ่งทำให้ชาวปาตานี้อย่างอ่าน หยากรู้และอยากเผยแพร่หนังสือเล่มนี้ พล.ต.ต. จำรูญ เด่มอุดม ตำรวจเกษียรราชการและผุ้เชียวชาญด้านประวัติศาสตร์ปาตานี กล่าว และว่า เหตุการณ์นี้ยิ่งทำให้เกิดบรรยากาศแห่งความกลัวครอบงำหนังสืออักษรยาวี
           "สมัยก่อน แค่การมีหนังสืออัการยาวีไว้ในครอบครองก็อาจถุกสงสัยแล้ว ถูกสงสัยว่าเป้นหนังสือปลุกระดมเพราะตำรวจไทยไม่เข้าใจ อ่านยาวีไม่อก แค่พบว่าเป็นตัวยาวีก็จะพยายามยัดข้อหาให้ เช่น ขัดนโยบายจอมพล ป. หรือ ปลุกระดม คนที่มีหนังสือตัวยาวีอยู่ก็ต้องเอาไปซ่อน หรือไปเผา ครูที่สอนหนังสือตามโรงเรียนแบบดั้งเดิม ซึ่งสอนเป็นมลายุก็ถูกคุกคาม หลยคนหนีไปอยู่กลันตัน" พล.ต.ต. จำรูญ กล่ว และกล่าวต่อว่า การพยายามกดดันในเรื่องภาษามลายู และการกดทับโรงเรียนปอเนาะ มีความเชื่อโยงกัน "ทำให้คนมลายูมองว่า รัฐไทยพยายามแทรกแซงกิจกรรมทางศาสนา ส่วนรัฐบาลก็มองวา คนมลายู จะใช้ภาษามลายูและปอเนาะเป็นที่ปลุกระดมมวลชน"
       
 ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ผุ้เชียวชาญด้านประวัติศาตร์ปาตานี มหาวิทยาลัยะรรมศาสตร์ วิเคราะห์ว่า ตัวยาวีเป้นแก่นหลางของความภุมิใจของคนมลายูปาตานี เพราะเกี่ยวข้อง กับความรุ่งเรืองด้านศาสนา และความรุ่งเรืองของาตานี้ในฐานะเมืองท่า ศุนย์กลางของการต้าขายที่สำคัญในอดีต ในแง่ศาสนานั้นตำราศาสนาซึ่งเขียนดดยอุลามะ (นักปราชญ์ศาสนา) ชาวปาตานี้กลายเป้นตำราที่ใช้ทั่วภุมิภาค ส่วนในทางการต้านั้น ภาษามลายูเป็นภาษากลางที่ใช้ในการต้าขายของราชสำนักในสมัยอยุธยา อย่าที่อยธยาก็ต้องมีคนพูดมลายุได้ ภาษามลายูมีฐานะของมันตั้งแต่สมัยอยุธยา ในขณะภาษาไทยไม่ได้ใช้ในการต้าขายอะไรเลย ภาษามลายูคือภาษาเดียวกับที่ใช้กับคาบสมุทรมลายูทั้งนั้น เป้ฯภาษาที่ใช้ในกาติดต่อค้าขายเป้นหลัก อาจเรียกได้ว่าเป็นภาษาของภูมิภาคก็ได้"
          ดัจแคน แม็กคาร์โก ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์มหวิทยาลัยลัดสกล่าวได้ในหนังสือ "ฉีกแผ่นดิน อิสลามและปัญหาความชอบธรรมในภาคใต้ ประเทศไทย" ว่า โรเรียนปอเนาะนั้น เป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้นโยบายผสมกลมกลืนคนมลายูให้เป้นไทยไม่ยังผล เพราะปอเนาะนั้นเป็นฐานะที่มั่นของอัตลักษณ์ด้านภาษามลายูและศาสนอิสลาม เขาเสริมว่ารัฐไทยได้พยายามจัดระเบียบโรงเรยนปอเนาะด้วยกาออกฎเกณฑ์ต่างๆ มาตั้งแต่ทศวรรษ 1960 และหลังจากที่เหตุการณ์ความรุนแรงประทุขึ้นเมือง 12 ปีก่อน โดรเงเรียนปอเนาะถูกเพ่งเล็งว่าเป็นแหล่งบ่มเพาะความคิดแบ่งแยกดินแดนและแนวคิดญิฮาด นำมาสูการพยายามทำปอเนาะให้ "เป้นไทย" โดยใช้นดยบายจูงใจให้เจ้าของดรเงเรียนปอเนาะเปลี่ยนแอเนาะเป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ซึ่งจะมีการสอนวิชาศาสนา ควบคู่กับไลักสูตรสามัญซค่งสอนเป้นภาษาไทยhttp://prachatai.org/journal/2016/06/66072

วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฺBahasa ; Confict

           ปมความขัดแย้ง "ภาษามลายู" สามจังหวัดชายแดนใต้ เมื่อรัฐไทยพยายามกลืนความเป้นปาตานีผ่านภาษา หนึ่ง ในชนวนความรุนแรง หวั่นอัตลักษณ์ปาตานีสิ้นสูญ มารา ปาตานี เตรียมเสอนวงคุยสันติภาพนำข้อเสนอฮัจญีสฺหลงกลับมา ใช้ภาษามลายูป็นภาษาราชการ
           มูฮำหมัด คือราแม ริ่เร่ิมการทำหนังสือพิมพ์ "ซีนารัน" ซึ่งนสพ. รายสองเดือน ภาษามลายูอักณายาวี เป็นครั้งแรก นสพ. ดังกล่าวมีเนือหาเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวในวงการภาคประชาสังคมมลายู ข่าว สังคม และเรื่องบุคคลนีน่าสนใจในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือที่คนท้องถ่ินเรียกกันว่า ปาตานี
          เพื่อป้องกันการถูกระแวงและสงสัยจากฝ่ายความมั่นคง เขาได้ออกแบบให้บนหน้าปกของซีนารันมีการแนะนำเรื่องในฉบับเป้นภาษาไทยด้วย "เราจะใช้ยาวีร้อยเปอร์เซนต์ไม่ได้ เพราะเราจะถูกฝ่าวความั่นคงสงสัยทันที่วาเรื่องอะไร เราเจอนิสัยคนไทยว่า ไม่ค่อยแฮปปี้กับความแตกต่างเท่าไหร่ ภาษาไทยบนหน้าปกจะช่วยลดความหวาดระแวง

          กลุ่มเป้าหมายหนึ่งของซีนารันนี้คือ ขบวนกาเพื่อเกราชปาตานี โดยเฉพาะคนที่อยู่ต่างแดนที่อาจอ่านภาษาไทยไม่ได้" ถ้าจะสื่อสารกับขบวนการ บางคนในขบวนการเขาอ่านไทยไม่ดไ้ แต่เขาอ่านมลายูได้ เราจึงพยายามเสนอเรื่องที่สื่อกระแสหลักไม่เล่น เราพยายามเสอนเรือ่องของภาคประชาชนให้เขารู้เรื่องของคนใน เราเชื่อว่าอย่างน้อย ข้อมูลข่าวสารอาจช่วยเปลี่ยน การใช้อาวุธ เป้ฯทางสันติก็ได้" มูฮำหมัดกล่าวกับประชาไท นอกจากนี้ ที่ผ่านม คนปาตานีขาดการสื่อสารปัญหาความขัดแย้งกับประชาคมชาวมลายูด้วยกัน ที่อยู่ในมาเลเซียและอินโดนีเซียนเพราะไม่มีสื่อในภาษามลายูให้พวกเขาอ่าน ทำให้แม้จะเป้ฯคนชาติพันธุ์เดียวกันก้ตาม พวกเขาก็ไม่ไ้มีความเช้าใจปัญหาเท่าไหร่ เพราะก็ับรู้เรื่องปาตานีจากสื่อภาษาอังกฤษที่ผลิตจากกรุงเทพ
         เนื่องจากการเขียตัวยาวีในปัจจุบันไม่แพร่หลายนัก คนรุ่นเป้าไปที่นักเรียนโรงเรียนปอเนาะ ซึ่งเป้นโรงเรียนจารีตดั้งเดิมของชาวมลายูมุสลิมในชายแดนใต้ ซึ่งเน้นสอนวิชาศาสนาอิสลาม ภาษามลายู และภาษาอาหรับ ปรากฎว่า ในรุ่นแรกๆ ของนักเรียนปอเนาะที่เข้าอบรม มีนักเรียนคนหนึ่งถูกสงสัยว่าเกี่ยวข้องกับเหตุความไม่สงบ "มันอาจแปลได้ว่า คนที่ภุมิใจกับอัตลักษณ์ มีความซ้อนทับกับคนต้องการเมอร์เดกา (เอกราช)" มูฮำหมัดบอกกับประชาไท และหัวเราะเขาเล่าด้วยว่า มีโครงการจะทำเว็บไซต์สำนักข่าวออนไลน์ภาษามลายู ซึ่จะผลิตข่าวเกี่ยวกับสามจังหวดัเป้นภาษามลายู อักษรยาวี อักษรรูมี ภาาาทไย และภาษาอังกฤษ โดยเน้นที่ภาษามลายูเป็นหลัก
          ซอลาหุดดีน กริยา หรือที่รู้จักในนาม โซลา กาเรีย เป็นอีกคนหนึ่งที่พยายมอนุรักษ์และพัฒนาภาษามลายูตัว อักษรยาวี ในฐานะหัวหนากล่าอาวัฒบุก๊ก เขาได้พัฒนาชุดคีย์บอร์ดยาวีแบบปาตานี และฟอนต์ยาวี เพื่อให้ภาษามลายู อักษรยาวีแพร่หลายยิ่งขึ้นในในการสื่อสารอิเล็กทรอนิคส์ ซึ่งเป็นช่องทางสื่อสารหลักของผุ้คนยุคนี้ และสะดวกในการใช้ในงานพิมพต่างๆ หลังการพัฒนาเสร็จ เขาบอกว่าจะยกเงานนี้ให้เป้ฯสมบัติสาธารณะ ซอลาหุดดีนมองว่า การทำให้ยาวีตามทันเทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวเลือกในการใช้สื่อสาร คือการแก้ปัญหาที่ตรงจุด "ถ้าไม่มีการพัฒนาอักษรยาวีให้ตามทันเทคโนโลยียุคใหม่ คนก็จะไม่ค่อยใช้ แล้วภาษาจะตายไป เราต้องทำเพื่อต่ออายุอักษรยาวี และเป้็นทางเลือกที่เท่าเทียมกับภาษาอื่นๆ ในคนปาตานีเลือกใช้"
          หัวหน้าหลุ่มอาวัณบุ๊กบอกกับประชาไทวา ปัจจุบันเมื่อคนปาตานีจะพิมพ์อักษรยาวี จะใช้คย์บอร์ดอาหรับ แต่เนื่องจากชุดอักชระอาหรับขาดอักษรที่ถุกคิดค้นเพิ่มขึ้นห้าตัวเพื่อแมนเสียงภาษามลายูที่ไม่มีในภาษาอาหรับจึงทำใหพิมพ์ได้ไม่ถูกต้องนัก กลุ่มอาวัฒบุ๊กจึงพัฒนาคีย์บอร์ยาวีขึ้นใหม่ และแม้มาเลเซียจะพัฒนาคีย์บอร์ดยาวีขึ้นในปี 2555 ก็เรียงตัวอักษรโดยเทียบกับีย์อยร์ด ของภาษาอังกฤซึ่งไม่เป็นที่คุ้นเคยสำหรับคนปาตานี้ที่คุ้นเคยกับการเรียงตัวอักษรแบบอาหรับ ส่วนฟอนต์ยาวี นั้น ฟอนต์ที่มีอยู่ก็ถูกพัฒนาขึ้นมาหลายสิบปีและ้ และไม่ใช้ระบบยูนิโคด (ระบบฟอนต์ที่ทำให้ผอนต์ชุดหนึ่งใช้ได้กับทุกระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์) ทำให้เป็นอุปสรรคกับการใช้งานบนคอมิวเตอร์และากริมพ์สิ่งพิมพ์ ความล้าหลังทางเทคโนโลยี และไม่ตอบสนองต่อการใช้งานเป้นสาเหตุสำคัญที่ทำให้คนหันไปสื่อสรด้วยภาษาที่ตองสนองมากว่าแทน อย่างภาษาไทย
          เขาเล่าต่อว่า เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาภาษาอย่างจริงจังและถูกจุด กลุ่มอาวัณบุ๊กวางแผนจะตั้งสถาบันเรียนรู้และพัฒนาภาษามลายูในสามจังหวัดชายแดภาคใต้ ซึ่งเปรียบเสือมนาชบัณฑิตสถานของภาคประชาชนปาตานี สถาบันดังกล่าวจะทำหน้าที่กำหนดมาตฐานทงภาษา และคอยกำกับดูแลการพัฒนาภาษาในพื้นที่จัดตั้งคลินกิภาษามายู และผลักดันหรือต่อรองกับรัฐในการให้การส่งเสริมภาษามลายูให้ตรงจุด เพื่อให้ภาษามลายูมีศักดิ์ศรีและเท่าเทียมกับภาษาไทย และทำให้แน่ใจว่า นโยบายภาครัฐที่ออกมาตรงกับความต้องการของประชาชนในพื้ที่อย่างแท้จริง นอกจากนี้ เขายังได้ผลิตเว็บไซด์ ซึ่งผลุิตข่าวสารทั้งากรเมืองสังคม ในภาษามลบยูอัการยาวี เพื่อส่งเสริมการใช้อักษรยาวีในวงกว้างอีกด้วย
               
ปัจจุบัน ชาวมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ใช้ภาษาไทยมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะคนรุ่งใหม่ที่อาศัยอยู่ในเมืองสามารถใช้ภาษาไทยได้ดีพอๆ กับคนที่อื่นของประเทศ แต่ในขณะเียวกัน พวกเขาใช้ภาษามลายูและตัวยาวีน้อยลง ด้วยคุณภาพที่ต่ำลง ฮารา ชินทาโร ผุ้เชียวชาญด้านภาษามลายู เปรียบเปรยสถานการณ์ของภาษามลายูในปาตานีว่าอยู่ในชั้น "ไอซียู" คืออยู่ในขั้นวิกฤติ ร่อแร่ ใกล้คายเลยที่เดียว
              "มันเป็นความจริงที่น่าขมขืนว่า ภาษามลายูในปาตานีนั้นอ่อนแอมากๆ" ฮารากล่าวแลว่า ภาษามลายูในปาตานีนั้นร่าเป้นห่วงมาก ทั้งในแง่ของจำนวนคนใช้มลายูที่มีจำนวนน้อยลงโดยฉพาะในเมือง คำศัพท์ก็มีให้ใช้น้อยลง และคำศัพท์ต่างๆ ถุกแทนที่ด้วคำยืมจากภาษาไทย ซึ่งมีจำนวนมากขึ้นทุกที จนทำให้คนมลายูจากมาเลเซียและอินโดนีเซียฟังไม่เข้าใจ การเขียนภาาามลายูด้วยอักษรไทยในเครือข่ายสังคมออนไลน์ก้มีให้เห็นมากขึ้นเรื่อยๆ "เมื่อพูดถึงคุณภาพ แทบจะไม่มีเจ้าของภาษามลายูชาวปาตานี้คนไหน จะสามารถสนทนาเป้ฯเวลานานได้โดยไม่ได้นำภาษาไทยมาปน ในรูปขอคำนรือวลีที่ยืมมา การปนภาษาและการสลับภาษา" ฮารากล่าว
           "ในขณะที่อังกฤษและดัชต์มาพัฒนาภาษามลายูให้เป็นประโยชน์ต่ออาณานิคมตัวเอง รัฐไทยไม่ได้เข้ามาพัฒนา แต่เข้ามาลบ ซึ่งสามารถทำให้สำเร็จที่สตูล แตคนปาตานี้นั้นพยายามรักษาอัตลักษร์ของตัวเองอย่างเข้มแข็งแต่ในภาวะที่ถุกกด ภาษาก็ไม่มีการพัฒนาทางภาษาเท่าไร คนปาตานีไ้ดแค่ต้านทาน แต่นานๆ ไปก็เสื่อมถอย ตอนนี้ก็ไอซียู แต่ยังไม่ถึงกับหายไป ถ้าเราแก้ไขตรงจุด ก็อาจพัฒนาทันภาษาที่มาเลเซีย อิโดนีเซียได้" ซอลาหุดคีนกล่าว
            ปัจจุบัน การเรียนการสอนภาษามลายูอักษรยาวีมีอยู่เฉพาะในโรงเรียปอเนาะ (โรงเรียนประจำสอนศาสนอิสลามแบบดั้งเิม) ซึ่งเป็นที่นิยมน้อยลงและมจำนวนน้อยลงเรื่อยๆ เพราะรัฐไทยไม่สนับสนุ ทั้งยังพยายามเปลี่ยนปอเนาะให้เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โรงดรีเยรตาดีกา(โรงเรียนสอนศาสนานอกเวลาสำหรับเด็ก)และในวิชาศาสนาอิสลามในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนอิสลาม อย่างไรก็ตาม เพราะนโยบายของรัฐบาลไทยที่มุ่งกลมกลืนชาวมลายูให้เป็น "ไทย" โดยเฉพาะในด้านการศึกษา ทำให้การใช้ภาษามลายูของชาวมลายูในสามจังหวัดชาแดยภาคใต้ลดลง และมีคุณภาพต่ำลง โดยเแพาะการอ่านการเขียนอักษรยาวี
           เมื่อถึงช่วงทศวรรษที่ 1990 เด็มลายูถูกห้ามพูดมลายูในโรงเรียน การพุดภาษาแม่ของพวกเขามักนำไปสู่การุกทำโทษ ไม่ว่าจะถูกตี หือถูกปรับ เช่นปรับหนึ่งบาท ต่อคำมลยูหนึ่งคำ นี่คือเกตุผลว่า ทำไมเมื่อช่วงที่ความรุนแรงประทุขึ้นใหม่ๆ มีโรงเรียนจำนวนมากถุกวางเพลิงและเผา" ฮารา เขียนในบทความ "เหตุการณืที่ไม่ธรรมดาสำหรับคนธรรมดา"http://prachatai.org/journal/2016/06/66072

วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฺBahasa

            "ภาษามลายูเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มมลาโย - โพลลีเซียนเป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกูลออเคสตร้าเซียนภาษามลายูเป็นภาษาราชการและภาษาประจำชาติของมาเลเซียมาเลเซียและสิงคโปร์"
              รัฐธรรมนูญของประเทศมาเลเซียมีประชากรหลายเชื้อชาติที่จะเรียกใช้ภาษาประจำชาติว่าภาษามลายูเป็นภาษาของชนชาติมลายูจะดูไม่เป็นคนธรรมดาอีกต่อไปกลุ่มชนกลุ่มน้อยคือการพูดคุยกับชนกลุ่มน้อยและอื่น ๆ ภาษาอังกฤษ จึงขึ้นด้วยเหตุผลดังกล่าว
              ขณะที่อินโดนีเซียนเรียกภาษามลายูว่า ภาษาอินโดนีเซีย เพราะภาษาอินโดนีเซียนั้นเป็นภาษาใหม่ กำเนิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1945 มีรากฐานมาจากภาษามลายูเช่นเดียวกับภาษามาเลเซีย แต่ต่างกันที่สำเนียงการพุดและคำศัพท์บางคำ เนื่องจากอนโดนีเซียเคยเป็นอาณานิคมของดัตช์ ถึง 3 ศตวรรษ
             นากนี้ภาษาอินโดนีเซียยังได้รับอิทะิพลจากภาษาชวา ฮินดู บาลี อาหรับ อังกฤษ เปอร์เชีย ดปรตุเกสพัฒนาเรื่อยๆ มาจนมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำที่ทันสมัยและง่ายขึ้นอย่างที่ใช้ในปัจจุบัน
             ส่วนบรูไนกับสิงคโปร์เรียกภาษามลายูว่า ภาษามลายุ ตามชื่อเดิม และใช้ภาษามลายูเป็นภาษาประจำชาติ แต่สิงคโปร์ยังมีภาษาประจำชาติอีก 3 ภาษา คือ อังกฤษ จีน และทมิฬ ด้วยความหลากหลายทางเชื้อชาติของประชากรในประเทศนั้นเอง
               โดยสรุปภาษามลายู ภาษามาเลเซีย และภาษาอินดดนีเซียก็คื อภาษามลายูที่ใช้เป้ฯภาษาประจำชาติในประเทศต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว ละยังเป้ฯภาษาหนึ่งที่พุดันในภาคใต้ของประเทศไทย โดยเฉพาะใน 5 จังหวัดภาคใต้ (สงขลาปัตตานีสตูลและนราธิวาส.) อีกด้วย แต่ส่วนใหญ่เป้นภาษามลายูมีรูปแบบต่าง ๆ จากภาษามลายูกลางที่ใช้ในประเทศ
 satapornbooks.co.th/SPBcommunity/novels_episode/4862/8/ ตอนที่ -8- ความเข้าใจเกี่ยวกับบาฮาซาและยาวี /
               ประวัติศาสตร์ความความสัมพันธุ์ระหว่างอาหรับกับมลายูพอจะหล่าวได้ว่า เริ่มตั้งแต่สมัยของการเข้ามาของศาสนาอิสลาม พระปรเมศวรในฐานะสุลต่านองค์แรกแห่งมะละกาที่ทรงรับศาสนาอิสลาม และได้ทรงเปลี่ยนพระนามเป็นสุลต่านมูฮัมหมัดชาห์ ซึ่งคำว่าสุลต่านเป็นช่อเรียกตำแหน่งพระมหากษัตริย์ที่ดั้งเดิมมาจากภาษาอาหรับ
              นับตั้งแต่ที่ศาสนาอิสลามเร่ิมเข้ามาสู่หมู่เกาะมลายู ภาาาอาหรัยกลับได้รับความสนใจ และภาษาอาหรับได้รับการตอบรับอย่างแพร่หลาย เป็นภาษาที่ใช้สำหรับการอ้างอิงที่สำคัญในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับศาสนาอิสลาม ในยุคของการเร่ิมต้นการจักตั้งดรงเรียน และดรงเรียนประจำ (ระบบปอเนาะ)โรงเรียนศาสนา-อาหรับ เมื่อต้นปี 1970 พบว่าภาษาอาหรัีบถูกใช้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการจัดทำหลักสูตรเกือบทุกดรงเรียน
              ตามทัศนะของเจแอนโทนีมองว่าการเข้ามาของพรรดาพ่อค้าวานิชชาวอาหรับในภูมภาคเอเดชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นเข้ามาในฐานะผุ้เผยแพร่ศาสนาอิสลามทำให้คำในภาษาอาหรับได้แทรกซึมเข้าสู่ภาษา มลายูอย่างที่กำลังเป้นอยุ่ในวันนี้ซึ่งการเผชิญกันระหว่างสองภาษาและสองวัฒนธรรมที่แตกต่างกันนั้นได้ก่อให้เกิดพลวัตรทางวัฒนธรรมซึ่งโดยปกติแล้ววฒนธรรมที่มีความเจริ มีรสนิยมสูงกว่าวัฒนธรรมที่ยังไม่เติบโตเหมือนสังคมที่มีวัฒนธรรมที่เรียบง่ายต้องมีการปรับตัวด้วยความเต็มใจและวัฒนธรรมของสังคมที่มีความเจริญกว่า
             ภาษาอาหรับที่ผ่านการเขียนด้วยภาษาอาหรับได้ทำให้ภาษามลายูมีความย่ิงใหญ่ขึ้นไม่เพียง แต่เป็นภาาาประจำชาติของประเทศมาเลเซียเท่านั้น แต่ยังเป้ฯ ภาษาหลักของคในมู่เกาะมลายูกว่า 250 ล้านคนอีกด้วยดด ประเทศกัมพูชาและกัมพูชา
         
 การออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษในภาษาจีนกลางและภาษาละติน ในเรื่องนี้มีการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนเกี่ยวกับการจัดงานแถลงข่าวการจัดงานแถลงข่าว ีเซียในปี 1945 และในประเทศมาเลเซียในปี 1957
            ชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในหมู่ชาวมาเลเซียที่อาศัยอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและหมู่เกาะคุกได้รับการรับรองว่าเป็นผู้มีส่วนร่วมในการดำเนินการตามกฎหมายของประเทศพม่า ของประเทศในเช็กนี้จะมีพัฒนาการสูงโดยอิงจากสังคมปัจจุบันที่มีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้น ... pataniforum.com/single.php?id=562
             นักปราชญ์ชาวปัตตานีชื่อว่าคานอะฮ่ามัคอัลลอฟ - ฟะฎนีย์ได้วางระบบการใช้ข้อมูลอย่างเป็นทางการในการจดบันทึก เรื่องราวทางศาสนาและการสื่อสารต่างๆนักเรียนในโรงเรียนปรมาณูหรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในเขตพื้นที่ภาคใต้ "เด็ก ๆ ทุกคนคิดว่าการใช้ยาเสพติดและยาเสพติดในโรงพยาบาลมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ชุมชนที่พุดภาษาไทยมลายูปัตตานีมาช้านานตัวอย่างเช่น
         อักษรไทย / อักษรยาวี / อักษรรูมี / คำอ่าน
         วันจันทร์   / نينثا         / Isnin       / อิสมิน
         วันอังคาร / ثالث        / Selasa     / ซลาซา เป็นต้น
         ตัวอย่างบทสนทนา
         อะฮาหมัด : สวัสดครับ เป็นอย่างไร้าง คุรลุงสบายดีไหม / อัซซาลามูอาลัยกุม อาปอกาบา เปาะจิ แซฮะ?
          ลุอาตัน : สวัสดี ก็สบายดี ขอบใจนะ แล้วคุณละ / วาลัยกุมมุซซาลาม กาบา บาเวาะ ลากุ เอะตือรีมอ กาเซะฮ อา มานอ?

          อะฮาหมัด : ผมก็สบายดีครับ / ขอบคุณครับ / ซายอ ยูเกาะ แวฮะ ตือรีมอกาเซะฮฺ...
          ตัวอย่างคำทักทายและกล่าวลา
          สวัสดี - ซลามะ / ฉัน- อามิ, ซายุอฺ อากู / มี - อาดอ
          สวัดีตอนเช้า - ซลามะ + ปาฆี / คุณ - แดมอ. อาเวาะ / ไม่มี - ตะเด๊าะ
          สวัสดีตอนเที่ยง  - ซลามะ + ตือเงาะฮารี / เรา - กีตอ / ขอพูดกับ - เนาะกาเจะดืองา
          สวัสดีตอนเย็น - ซลามะ + ปือแต / ฉันรักคุณ - ซายอกาเซะห์แดมอ / เรียวิชาอะไร - งายี มาดะกะปอ
          สวัสดีตอนค่ำ - ซลามะ + มาแล / ชื่ออะไร ? - นามออาปอ / เงิน - ดูวิ
          อัสสาลามูอลัยกุม เป็นทัีกทายแบบอิสลาม หมายถึง ของความสันติสุขหรือความสุข จงมีแด่ท่าน คนที่ได้ยินคำจะตอบรับว่า "วาอาลัยกุมมุสลาม" ซึ่งแปลว่า ขอความสันติสุข หรือความสุข จงมีแด่ท่านเช่นกัน"...
            http://lakmuangonline.com/?p=3422
     
       
        
          
                  -

วันศุกร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Lolo-Burmese languages

           หลักฐานที่เก่าแก่ทีุ่ดในพม่าที่เกี่ยวข้องกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์โบราณมีอยู่ต้ั้งแต่เมื่อประมาณ 750,000-11,000 ปีก่อนคริสตกลาล มาก่อนแล้ว หลักฐานชี้บ่งบอกว่ามนุษย์ตั้งถิ่นฐาของตัวเองในแถบแม่น้ำอเรวดีตั้งแต่ยุค "อญาเทียน" (ยุคหินพม่า) ช่ววเดียวกับยุคเก่าและยุคกลาวของยุโรป ในุษย์ยุคหินใหม่ในพม่าเริ่มีการเพาะปลูกและเลบี้ยงสัตว์ โดยมีการต้รพบถิ้สามแก่งใกล้เมืองตองยีของรัฐฉาน ประมาณ พันห้าร้อยปีก่อนคริสตกาล ยุคทองแดงพท่า ไ้เิร่ิมทำการปลลูกข้าวและเลี้ยงไก้และหมู ซึ่งถอืว่าเป็น กลุ่มมนุษย์แรกๆ ที่ได้พัฒนาทำแบบนั้น ห้าร้อยปีก่อนคริสตกลกา ชาวพม่าได้ย้ายถิ่นฐานลงทางตอนใต้ซึ่งปัจจุบันคือเมืองมัณฑะเลย์ และมการ้นพบโลงศพของมนุษย์ยุคทองแดงซึงบรรจุ
เครื่องปั้นดินเผาจำนวนมากไว้ในนั้น หลักษฐานทางโบาณคดีที่หมู่บ้านซาหม่องทางตอนใต้ของมํณฑะเลยพบว่ามีการปลูกขจ้าวและค้าขายกับจีนมาตั้งแต่ 500-200 ปีกอ่นคริสตกาลมาแล้ว
           ชาวปยูเป็นกลุ่มแรกในพม่าที่ตังอาณาจักรของตนะเองในทางตอนเหนือของพม่าแบแม่น้ำอิรวดี สันนิษฐานว่าชาวปยูอพยพมาจากบริเวณมณฑลชิงใไห่กับกานสูของจนลงมาสู่ประเทศพม่า และได้รั้งเมืองขึ้นในางตอนเหนือ โดยเมืองที่ใหญ่ที่สุดของชาวปยูมีชื่อว่าเมืองศรีเกษตร ซึ่.ปัจจุบันคือเมืองแปร
           ชาวปยูค้าขายกับจีนและอินเดียมานานแล้ว โดยส่งออกเข้าวเป้นสินค้าสำคัญ และที่น่าสนใจคือชาวปยูมีเหรียญเงินมานานแล้ว ถือเป็นชนกลุ่มแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ผลิตเหรียญเงิน โดยผลิตเงินที่มีรูเล็กๆ โดยมันสามารถเป็นได้ทั้งเิืงนและเครื่องรางอีกด้วย
            ด้านศาสนา ชาวปยูยับถือศาสนาพทธนิการเถรวาท โดยรับอิทธิพลจากอินเดียทั้งภาษา ศาสนาา วัฒนธรรมเข้ามใช้ดดยชาวปยูจะรับอิทธิพลของภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาใช้ และใช้อักษรพราหมีโบราณในการเขียนเรื่องราวต่างๆ
             เชื่อกันว่าอาณาจักรปยูล่มสลายเมื่อถูกอณจัก่านเจ้าุกรานในพุทธศตวรรษที่ 15 อย่างไรก็ตาม ไ่มีหลักฐานทงประวัติศาสตร์ใดยืยนันว่าเกิดการรุกรานขึ้นในเมืองศรีเกษตร แต่เชื่อกันว่าอาณาักรปยูย้ายราชธานีไปในเมืองที่อยุ่ทางตอนเหนือก่อนการรุกรานนามนแล้วและอาจจะเป็นไปได้ว่าชาวพม่าเริ่มมีอิทธิพลและกลืนกินชาวปยูไปจนหายจากประวัติศาสตร์ในที่สุด พร้อมๆ กับการตั้งอาณาจักรพุกาม
             ชาวมอญเป็นมนุษย์กลุ่มแรกที่ตั้งถ่ินฐานขึ้นในพม่า อาณาจักแรกที่มีการบันทึกไว้ก็คืออาณาจักรทวารวดี ซึงเจริญรุ่งเรืองไปจนกระทั่งคริสศตวรรษที่ 10 จึงถูกอาณาจักรขอมรุกราน และอพยพหนีไปตั้งเมืองทางตอนใต้ของพม่า ชาวมอญได้ก่อตั้งอาณาจักรสะเทิหรือสธรรมวดีขึ้นหลังจากล่มสลายของอาณาจักรทวาราดวี มีกษัตริย์อยุ่ 59 พระองค์ พระองค์สุดท้ายคือ พราะเจ้ามนูหะ ซึ่งถูกพระเจ้าอโนรธามังช่อแห่งราชอาณาจักรพุกามรุกรานและกวาดต้อนพระองค์ไอยู่เมืองพุกาม
         
พุกาม
ต่อมาอาณาจักรพุกามถูกชาวมองโกลรุกราน อาณาจักรมญจึงถูกก่อตั้งขึ้นอีกโดยมีชื่อว่า อาณาจักรหานตาวดี ครั้งแรกทีเมื่องหลวงตั้้งอยุ่ที่เมืองเมาะตะมะ แต่ต่อมาย้ายไปที่เมืองพะโค แต่ต่อมาก็ล่มสลายเมื่อพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และพระเจ้าบุเรงนองรุกรานอีก
             อาณาจักรหานตาวดีได้ฟื้นฟูขึ้นมาในระยะสั้นช่วงปลายราชวงศ์ตองอุแต่ต่อมาก็ถุกพระเจ้าอลองพญารุกรารและผนวกเป้นสวหนึ่งอของพม่า ทำให้ชาวมญสูญสิ้นแผ่นดินตัวเองนับตั้งแต่นั้นมา
              กลุ่มภาษาพม่า-โลโล เป็นภาษาที่มีผุ้พูดในพม่าและจีนตอนใต้ เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษานาซีจัดอยุ่ในกลุ่มนี้แต่การจัดจำแนกย่อยลงไปอีกยังไม่แน่นอนอาจจัดให้เป็นสาขาย่อยที่สามนอกเหนือจากกลุ่มภาษาพม่าและกลุ่มภาษาโลโล ภาษาปยูที่เป็นต้นกำเนิดของภาษาพม่าอาจมีความเชื่อมโยงกับกลุ่มภาษาพม่า-โลโล แต่ไม่มีกลักฐานเพียงพอสำหรับการจัดจำแนกทำให้ถูกจัดให้เป้นตระกูลภาษาย่อย ทิเบต -พม่า ที่จัดจำแนกไม่ได้ ภาษามรูซึ่งเป้ฯภาษาที่จัดจำแนกไม่ได้อีก ภาษาหนึ่งเช่อว่ามีความสัมพันธ์กับกลุ่มภาษาพม่า-โลโลเช่นกัน
               ภาษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา เป้ฯภาษาราชกรของประเทศพม่า จัดอยุ่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป้นสาขาย่อยของตระกูลภาาาโดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป้นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป้นภาาาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียง และเขียนโดยช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกุลอักษณพรามหม่ี
             ภาษาพม่ามาตรฐานคือสำเนียงย่างกุ้ง ภาษาถ่ินในพม่าภาคเหนือและภาคใต้จะต่างจากภาษากลาุง ภาษาถิ่นในเขตยะไข่หรืออารกัน ยังมีเสียง/ร/ แต่สำเนียงย่างกุ้งออกเสียงเป็น/ย/ ภาษาพม่าแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ระดับ  คือระดับทางการใช้งานวรรณคดี งานราชการและวิทยุกระจายเสียง ระดับไม่เป้ฯทางการใช้ภายในรอบครัวและกับเพื่อน พระภิกษุชาวพม่ามักพูดกันเองด้วยภาษาบาลี ซึ่งได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาth.wikipedia.org/wiki/ภาษาพม่า
            ภาษาเมรู หรือภาษามารู ภาษามูรุง มัผุ้พุดทั้งหมด ห้าหมื่นกว่าคน พบในบังกลาเทศสามหมื่นคน ในตำบลบันดัรบัน พบในอินเดีย พันสองร้อยคน ในรัฐเบงกอลตะวันตก พบในพม่า สองหมื่นคน ในรัฐยะไข่
             จัดอยู่ในตระกุลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขามรู รากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาฮิ่นสำเนียงมโร 13 % เรียงประโยนคแบบประธาน-กริยา-กรรม เขียนด้วยอักษรละติน เป้นภาษาที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นภาษาตาย
             ภาษานี้เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มทิเบต-พม่าที่จัดจำแนกได้ยาก เป็นภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาพม่า ภาษาเมยเทยในอินเดีย และยังใกล้เคียงกับภาษาฉิ่น แม้ว่าจะเคยจัดจำแนกเป็นส่วนหนึ่งของภาษาฉิ่นแต่ภาษามรูก้ฒีความใกล้ชิดกับกลุ่มภาษาพม่า-โลโลในระดับหนึ่งth.wikipedia.org/wiki/ภาษามรู
           
 กลุ่มปยู หรือภาษาติรกุล เป็นภาษาโบราณในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่เขนมีผุ้พูดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่ปัจจุบนคือพม่าและไทย ใช้พูดโดยชาวปยูเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 10  และกลายเป้นภาษาตายเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป้นยุคที่เร่ิมใช้ภาาาพม่าอย่าแพร่หลาย ภาษาปยูที่พบในจารึกจะมีคำแปลเป็นภาษาบาลีไว้ด้วย จัดภาษานี้อยู่ในกลุ่มพม่า -โลโล แบรดลีย์จัดให้อยู่ในภาษากลุ่มโลโล ในขณะที่ แวน เดรียมจัดให้เป้ฯสาขาอิสระของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
            จารึกหนึ่งที่มีความสมบูรณ์และสำคัญ คือ จารึกเมียะเซดี ที่เมืองพุกาม ซึ่งเป็นจากรึกที่กล่าวถึงผุ้สร้างคือพระราชกุมาร ทรงบำเพ็ญกุศลในพระพุทธศาสนาเพื่อให้พระเจ้าจันสิตถาซึ่งเป้นพระบิดา หายจากพระอาการประชวร
             จารึกนี้มี 4 ด้านด้วยกัน คือ บาลี ปยู มอญ และพม่า อย่างไรก็ตามว่ากันว่าในตอนแรกนั้น ยังไม่มีผุ้อ่านภาษาปยูได้ จนกระทั่งโรเบิร์ต ฮัลลิเดย์และขาร์ลส์ แบลกเดนได้ศึกษาภาษามอญโบราณ จึงทำให้ามารถอ่านด้านที่เป็นภาษาปยูได้ (คริเตรียน บาวเออร์ ผุ้เชี่ยวชาญด้านมอญกล่าวไว้)พม่าweb.facebook.com/612365295504993/photos/a.612394168835439.1073741828.612365295504993/1060708447337340/?type=3&_rdc=1&_rdr 
           โดยสรุป ภาษาพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ซึ่งแยกออกมาจากตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พุดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเแียงใต้ รวมทั้งพม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฎาน อินเดียและปากีสถาน
            ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่า มีผุ้พุดมากที่สุ (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผุ้พูดภาาาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน  นักภาษาศาสตร์บางคนเ เช่น จอร์จ แวน เดรียม เสนอให้จัดตระกุลทิเบต-พม่า ขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางth.wikipedia.org/wiki/ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

         

วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Laos - Phutai Language group II

               คงจะไม่มีขาติพันธุ์ไทกลุ่มไหนที่มีความสับสนในการเรียกชื่อ ตลอดจนประวัติศาสตร์ของตนเองเหมือนผุ้ไท (ภูไท) ที่บริเวณสองฝั่งโขงบย่อยครั้งที่เข้าใจผิดว่าเป็นกลุ่มที่คล้ายคลึงกับไทที่เวียดนามเหนือและจีนตอนใต้ คำว่าผู้ไทมีสองความหมายชื่อชาติพันูะ์ของผุ้ไทและผุ้คนหรือคนไททั่วไป เนื่องจากที่ผ่านมามีนักเขียนหลาท่านใช้คำว่าผ "ผุ้ไท" ในการเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธ์ต่างๆ เช่น กลุ่มตะวันตกเแียงใต้ ในเวียดนาม ได้แก่ "ผู้ไทดำ" ผู้ไทขาว" ผู้-ไทแดง" และกลุ่มกลางในจีนตอนใต้ เช่น "บู้ได่" ฯลฯ ว่าเป้นกลุ่มชาติพันูะ์เดียวกันหรือคล้ายๆ กันกับผุ้ไท ซึงสร้างความสับสนแก่ผุ้ศักษาภายหลัง ดังนั้นในบทความนี้จึงขออธิบายความหมาย ของผุ้ไท ซึ่งสร้างความสับสนแก่ผุ้ศึกษาภายหลัง ดังนั้นในบทความนี้จึงของอธบายความหมารยของผุ้ไท ซึ่งแบ่งเป้ฯ 2 ความหมาย คือ
              ความหมายแรก เป้นชื่อเแพาะของกลุ่มชาติพันู์สองกลุ่มที่ไม่มีความเกี้วข้องกัน ได้แก่ ผู้ไท ในภาคตะวันออเแียงเหนือของไทยและตอนกลางของสปป.ลาว และ สองเป้ฯทราบกันมานานกว่าร้อยปีแล้วว่ามีกลุ่มไท(ไต่) ต่างๆ ในบริวเณชายแดนเวียดนาม-จีน ที่เรียกตัวเองว่า "บู้ได่" เหล่านี่มีภาษา รประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา แตกต่างกันมากกับผุ้ไทบริเวณสองฝั่งโขชง ศึ่งต่อมา ปราณี กลุลวนิชย์ และธีระพันธ์? เหลืองทองคำ นักภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ ได้ศึกษาเปรีบเทียบภาษาผุ้ไทสองฝั่งโขงกับภาษา "บุ้ได่" แล้วได้ข้อสรุปว่า ผุ้ไทและบู้ได่ เป้นคนละกลุ่มกัน และเขาได้เสนอว่า ผุ้ไทและบู้ได่น่่าจะแยกจากันมาประมาร 1,200 ปี แล้ว
             ความมหายที่สอง "ผู้ไท" คือผุ-ไท หมายถึง คน-ไท หรือผุ้คนของกลุ่มไทต่างๆ เช่น (ุ้-ไทดำ/ไตดำ" แทน "ผู้ไทดำ" เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในการเรยกชื่อชาติพันธ์ุ ในปัจจุบันนี้นักวิชการรุ่นใหม่ใช้คำว่า "ไทดำ/ไตดำ" ถ้าหากถามตนไตดำ ไตขาว ไตแดง ฯลฯ "เจ้าเป้นผุ้ไทบ่อ" จะไ้รับคำตอว่า "แม่นอยู่ ข้อยเป้นผุ้ไท" จากการสำรวจภาคสนามของผุ้เขียนที่เมืองดซโปน สปป.ลาว ได้พบผุ้หญิงที่พุดสำเนียงผุ้ไทจึงถามเธว่า "เจ้าเป็นผุ้ไทบ่อ" ได้รับคำตอบว่า "แม่น" ครั้นถามต่อไว่า "ผุ้ไทคือคนเซโปนนี้บ่" (ผู้ไทเหมือนคนเซโปนหรือไม่) จะได้รับคำตอบว่า "บ่อข้อยเป็นไทแดง มาเอาผัวผุ้ไทอยู่พ้"  เธอบอกว่าภาษาของเธอแตกต่างจากผุ้ไทมาและไม่ได้นับถือศาสาพุทธแต่นับถือผี เธอยังบอกต่อีกว่า อยู่ที่เซโปนไม่ได้พุดภาษาไตแดงเพราะคนที่นี่ไม่เข้าใจนอกจากนี้ผุ้เขียนยังได้รับผระสบการณืเดียวกันเมื่อพบกับคนไตดำที่แขวงเซียงขวาง ทางตอนเหนือของสปป.ลาว และนักวิชาการท่านอื่นก้เกิดความสับสนเช่นกันเมื่อเขาสัมภาษณ์ ไทขาว ไทดำและลาวน้อย จาเวียดนามเหนือ
         
ภาษาผุ้ไท พบแค่บริเวณสองฝั่งโขงคือภาคอีสานของไทยและสปป. ลาวตอนกลาง บริเวณแขวงคำม่วนและแขวงสะหวันนะเขต ภาษาผุ้ไทนั้นอยุ่ในกลุ่มเดียวกันกับภาษาไทย ลาว แสก โย้ย ญ้อ พวนและภาษาอื่นๆ อีกเกือบร้อยภาษา ซึงอยุ่ในตระกุลไท-กได ถิ่นกำเนิดเดิมของภาษาตระกุลไท-กะได ราวๆ สามพันปีที่แล้วอยุ่ที่กวางสีและกวางตุ้งบริเวณจีนตอนใต้ คนที่ใช้ภาษาไท-กะไดนีน่าจะป็นผุ้วาดภาพเขียนสีที่ผาเขาฮัวซาน ในมณฑลกวางสี เมื่อประมาณ สีพันถึงสองพันสี่ร้อยปีี่แล้วและต่อมาน่าจะเป็นผุ้ผชิตกลองมโหระทึกในสมัยของ ไป่เย่ว์ ราวๆ สองพันปีที่แล้วในปัจจุบันนี้ยังพบภาษาไท-กะได ในบริวณจีนตอนใต้ลงไปจนจรดชายแดนลาว-เขมร ภาคใต้ของไทยและทางตอนเหนือของพม่าไปจนถึงรัฐอัสสัมทางตะวันออกของอินเดีย
            ภาษาผุ้ไทนั้นใกล้ชิดกับภาษาพวนและญ้อมากที่สุด ตัวอย่างเช่น "ไปสิเลอ" (ไปไหน) ภาษาพวน "ไปกะเลอ" และคำที่ใช้ใระใอไม้ม้วนในภาษาไทยภาษาพวนและผุ้ไทออกเสียง เออ เช่น "ส้งเม่อ" (กางเกงใหม่" น้ำเสอ" (น้ำใส) และ "ข" ผุ้ไทและพวนใช้ "ห" เช่น "แขน มะขาม " ฯลฯ ผุ้ไทและพวนออกสเียง "แหน มะหาม" ส่วนไทยและลาว ออกเสียง "แขน มะขาม" ทั้งภาษาพวน ญ้อและผุ้ไๆทจัดอยู่ในกลุ่มภาษาเดียวกันคือ กลุ้มธนิต (ดูคำอธิบายด้านล่าง)
            นอกจากนั้นยังมีข้อเสนอของ เจมส์ อาร์ ชามเบอเลียน นักภาษาศาสตร์ ได้แบ่งกลุ่มภาษาตระกุลไทในกลุ่มตะวันตกเแียงใต้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสิถิล และกลุ่มธนิต ผุ้ไทอยุ่กลุ่มะนิต สวนไทดำอยุ่กล่มสิถิล และจากการศึกษาของ อรพันธ์ บวรรักษา เปรียบ เที่ยบภาษาผุ้ไท จังหวัดกาฬสินธุ์และภาษาลาวโซ่ง (ไทดำ) ที่ จังหวัดเพชรบุรี พบว่าข้อมูลการศึกษาสอดคล้องกัน ผุ้ศึกษาได้เสนอไว้อย่งน่ารับฟังว่า "ความแตกต่างระหว่างภาษาถ่ินต่างๆ และความแตกต่างจากภาษาที่มาจากภาษาดั้งเดิมเดียวกันเกิดขึ้นเพราะเวลาที่ผ่านไปและการอพยพเคลื่อนย้ายถ่ินฐาน ตลอดจนการติดต่อสัมพันธ์กับผุ้ใช้ภาษา"
           มีนักเขียนหลายท่านได้เสนอว่าผุ้ไทที่บริเวณต่อนกลางขอแม่น้ำดขงเป้นชาติพันธุ์เดียวกันกับไทดำ แต่ผุ้เขียนมีความเห้นขัอแย้ง เพราะนอกจากข้อมูลที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังพบว่าผุ้ไทและไทดำสื่อสารกันไม่รู้เรื่องนอกจากนั้นยังพบว่าไทดำนั้นมีภาษาเขียน แต่ผุ้ไทมไม่มี ระบบความเชื่อ การนับถือสษสนา ลักษณะของสถาปัตยกรรมการสร้างบ้านเรือน และการแต่าางกาย แตกต่างกันกับผุ้ไท
           คนผุ้ไๆทน่าจะอพยพมาจากสิบสองจุไททางภาคเหนือของเวียดนาม มาตั้งรกรากอยุ่ที่ลาวตอนกลางบริเวณที่ราบสุงนากายแขวงคำเกิด ราวๆ พันปีที่แล้ว ในปัจจุบันนี้คนผุ้ไทสองฝั่งดขงและคนไตต่าง ๆ ในสิบสองจุไท สามารถสื่อสารกันได้เพียงเล็กน้อยด้วยภาษาของตนเอง
          ในงานผุ้ไทนานาชาติที่ อ. เขาวง จ.กาฬสินธุ์ เมื่อต้นปี 2556 ที่ผ่านมา หลังการแสกงจบลงพิธีกรกลางได้ประกาศว่า "พวกเราเป้นผุ้ไทดำทั้งหมด" มีเด็กหยิงน่ารักคนกนึ่งถามผุ้เขียนว่า "หนูฟังเพลงของไทดำ ไทขาว ไทแดง จากเวียดนามไม่เข้าใตแต่ผุ้ไทจากลาวฟังเข้าใจดี ทำไมถึงบอกว่าเราเป้นผุ้ไทดำทั้งหมด" ผุ้เขียนยิ้มแล้วตอบไปว่า "คนไทจากเวียดนามเหนือ เป้นคนละกลุ่มกันกับผุ้ไทสองฝั่งโขง แต่เคยมีบรรพบุรุษที่มีความใกล้ชิดกันนอดีตเมื่อพันกว่าปีที่แล้ว แต่ผุ้ไทเหมืทอนเราพบแค่ทีภาคอีสานของไทยและในลาวตอนกลางเท่านั้น" ภายใต้รอยยิ้มนั้นผุ้เขียีนกลับเพิ่มความกังวลในใจมากย่ิงขึ้น "ในอนาคตคนรุ่นใหม่จะมีความเข้าใจชาติพันธุ์ของตนเองเป็นเช่นไร"sakonnakhonguide.com/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=3#.WXnVvYTyjIU
            ภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาท้องถิ่นภาคอีสาน ภาค อีสานเป็นเขตหรือภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไทย อยู่บนที่ราบสูงโคราช มีแม่น้ำโขงกั้นเขตทางตอนเหนือและตะวันออกของภาค ทางด้านใต้จรดชายแดนกัมพูชา ทางตะวันตกมีเทือกเขาเพชรบุรณืและเทือกเขาคงดงญาเย็นเป้นแนวกั้นแยกจากภาค เหนือและภาคกลางการเกษตรนับเป้นอาชีพหลักของภาค แต่ด้วยสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้ง รวมถึงปัจจับอื่นๆ ทางด้านสังคมเสรษบกิจ ทำให้มีผลผลิตที่น้อยกว่าภาคึอื่นๆ
         
ภาษาหลักของ ภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน แต่ภาษาไทยกลางก็นิยมใช้กันแพร่หลายโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมร ที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ยังมีภาษาถิ่นอื่นๆ เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทยโคราช เป็นต้น
           ภาคอีสานมีเอกลักษณ์ทงวัฒนาธรรมที่โดดเด่น เช่น อาหาร ภาษา ดนตรีหมอลำ และศิลปะการฟ้อนรำที่เรียกว่าเซิ้ง เป็นต้น ภาคอีสาน มีเนือที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ แสนเจ็หมื่น ตารางกิโลเมตร หรือมีเน้อที่หนึ่งในสามของ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทย มีเทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง และภูกระดึง เป้นต้นกำเนิดของแม่น้ำ เช่น ลำตะคอง แม่น้ำชี แม่น้ำพอง แม้น้อเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล
          ภาษาไทยถ่ินอีสาน เป็นภาษาไทยถ่ินที่ใช้พุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใกล้เคียงกับภาษาลาว ในอดีตเคยเขียนด้วยอักษรธรรมล้านช้างหรืออักษรไทยนอย ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรไทย มีพยํยชนะ 20 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 2-3 เสียง บางท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเอือ
         ภาษา ถิ่นอีสาน หมายถึง ภาษาถ่ินที่มีคนส่วนมากใช้พุดจากันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน นอกจากจะใช้พุดจากันในภาคตะวันออกเแียงเหนือแล้ว ยังมีการพูดจากันในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวอีกด้วย
          ฟังไกว ลี ได้แบ่งกลุ่มภาษาตระกุลไทย สาขาตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งประกอบด้วยภาษาในประเทศไทย ลาว อินเดีย และเวียนาม ภาษาตระกุลไทนั้น ใช่ว่าจะใช้เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น ยังมีการใช้ภษาาตระกุลไท ในต่างประเทศอีกหลายแห่ง แต่ละแห่งก็ได้ชื่อว่า เป้ฯภาษาถิ่นไททั้งนั้น  เมื่อประมาณ 40 กว่าปีที่แล้วมา ท่านรองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ จากมณฑลยูนานกับคณะ ได้มาเยี่ยมวัิทยาลัยครุมหาสารคาม ท่านได้บรรยายต่อที่ประชุมอาจารย์ด้วยภาษาถ่ินไท มณฑลยูนนาน ท่าได้แสดงอักษรไทยยูนนาน ให้พวกเราได้ดูได้อ่่าน คณะครูอาจารย์ และนักศึกษาในสมัยนั้น ใามารถังและอ่านได้อย่างเข้าใจด้วย
            ภาษาถิ่นไทย ยูนนาน มีความลบะม้ายคล้ายเหมือนกับภาษาถิ่นอีสานมาก โดยเฉพาะคำศัพท์ต่างฟ สำหรับตัวอักษรยูนาน ก็คือ "อักษรไทลื้อ" นั่นเอง ลักษณะของอักษรไทลื้อ มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรไทยล้านนา และอักษรธรรมอีสานมาก กล่าวได้วา ผุ้ที่อ่านอักษรไทล้านนาและอ่านอักษรธรรมอีสานได้ ก็สามารถที่จะอ่านอักษรไทลื้อได้ เปฯที่น่าสังเกตว่า คนไทยสวนมากจะสามาถเข้าใมจกัน ด้วยภาษาต่างถิ่นได้ เนื่องจาก มีศัพม์ร่วมตระกุลกัน เช่น ชื่อที่เรียกเครือญาติกน พ่อ แม่ พี่ น้อง ศัพท์เกี่ยวกับร่างกาย มีเสียงปฎิภาค ของระบบเสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต์ จะออกเสียงแตกต่างกันอย่างมีกฎเกณฑ์ และเงื่อนไข ระหว่างภาษาถ่ินด้วยกัน sakonnakhonguide.com/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=3#.WXnVvYTyjIU
             
ภาษาพูดของคนอีสานในแต่ละท้องถิ่นนั้นจะมีสำเนียงที่แตกต่างกันออกไป ตามสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตติดต่อกับภิ่นใดรวมทั้งบรรพบุรุษของท้องถิ่นนั้นๆ ด้วย เช่น แถบจังหวัดศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ มีชายแดนติดกับเขชมร สำเนียงและรากเหง้าของภาษาก็จะมีคำของภาษาเขชมรปะปนอยฦุ่ด้วย ทางด้านจังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหาร หมองคาย เลย ที่ติดกับประเทศลาวและมีชาวเวียดนามเข้ามาอาศยอยุ่ค่อนข้างมากกจะมีอีกสำเนียงหนึค่ง ชนเผ้าดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นๆ ก็จะมีสำเนียงที่มีเอกลักษณ์เป้นของตนเองและยังคงรักษาเอกลักษณ์นั้นไว้ ตราบจนปัจจุบัน เช่น ชาวภูิไทในจังหัดมุกดาหารและนครพนม
              ถึงแม้ชาวอีสานจะมีภาษาพูดที่มีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถ่ิน แต่ในภาษาอีสานก็มีสิ่งหนึ่งที่ยังคงมีความคล้ายกันก็คือ ลักษระของคำและความหมายต่างๆ ที่ยังคงสื่อความถึงกันได้ทั่วทั้งภาค ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ชาวอีสานต่างท้องถิ่นกันสามารถสื่อสารกันได้เป็นอย่างดี
              ถ้าจะถามว่าภาษาถิ่นแท้จริงขงชาวอีสานใชกันอยู่ที่ใดคงจะตอบไม่ได้ เพราะภาษาที่จนในท้องถ่ินต่างๆ ใช้กันก็ล้วนเป็นภาษาอีสานทั้งนั้น ถึงแ้จะเป้นภาษาที่มีความแตกต่างกัน แต่ก็มีรากศัพท์ในการสื่อความหมายทีคล้ายคลึงกัน
              ในปัจจุบันชาวอีสานตามเมืองใหญ่ โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่นได้หันมาใช้ภาษาไทยกลางกันมากขึ้น เพราะวัยรุ่นเหล่านี้ส่วนใหย่ได้รับการศึกษาที่ดีเที่ยบเท่ากับงคนในภาคกลางหรือกรุงเทพมหานคร ทำให้ภาษาอีสานเริ่มลดความสำคัญลง เช่นเดียวกันกับภาษาพื้นเมืองของภาคอื่นๆ แต่ผุ้คนตามชนบทและคนเฒ่าคนแก่ยังใช้ภาษาอีสานกันเป้ฯภาษาหลักอยุ่ ทั้งนี้คนอีสานส่วนใหญ่จะสามารถสื่อสารได้ทั้งภาษที่มา http://student.nu.ac.th/isannu/isanculture/language1.htm
อีสานของท้องถ่ินตนเองและภาษาไทยกลาง หากท่านเดินทางไปในชนบทของอีานจะพบการใช้ภาษาถ่ินที่แตกต่างกันไปดังกล่าวมาแล้ว แต่คนอีสานเหล่านี้ดดยเฉพาะวัยรุ่นหนุ่มสาวก็จะสามารถสื่อสารกับท่านเป้นภาษาไทยกลางได้อีกด้วยทั้งนี้เพราะวัยรุ่นชาวอีสานส่วนใหญ่จะเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ และปรมณฑล เมื่อก่อนจะไปหางานทำเฉพาะหลังฤดูทำนา แต่ในปัจจุบันวัยรุ่นสวนใหญจะเข้ากรุงเทพฯ และทำงานที่นั่นตลอดทังปี ชาวอีสานที่ไปต่างถิ่นนอกจากจะหางานทำแล้ว ก็ยังมมีการเผยแพร่วัฒนธรรมรวมทั้งภาษาของตนเองไปในตัว จะเห้นได้จากในปัจจุบันชาวไทยจำนวนมากเร่ิมเข้าใจภาษาอีสาน ทั้งจากเพลงลูกทุ่งภาษาอีสานที่ได้รับความนิยมกันทั่วประเทศและจากคนรอบตัวที่เป้นคนอีสาน ทำให้ภาษาอีสานยังคงสาารถสืบสานต่อไปได้อยุถึงแม้จะมีคนอีสานบางกลุ่มเลิกใช้ - ที่มา http://student.nu.ac.th/isannu/isanculture/language1.htm
           

วันพุธที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Laos - Phutai Language group

              ภาษาลาว เป็นภาษาราชการของลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศซึ่งเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาลาว ระบบการเขชียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป้นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่อยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธใกล้ชิดกับอักษณไทย
             สำเนียงภาษาถิ่น ของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียง
             - สำเนียงลาวเวียงจันทน์ เวียงจัน บอลิคำไซ
             - ภาษาลาวเหนือ หลวงพระบาง ไชยบุรี อดมไซ หลวงน้ำทา
             - ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ เชียงขวาง หัวพัน
             - ภาษาลาวกลาง คำม่วน สุวรรณเขต
             - ภาษาลาวใต้ จำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตตะปือ
             - ภาษาลาวตะวันตะวันตก ร้อยเอ็ดในประเทศไทย
            ทางการประเทศลาวไม่ได้กำหนดให้สำเนียงถิ่นใดเป้นสำเนีนงภาษากลาง แต่การใช้ภาษาลาวอย่่างเป็นทางการ เช่น ทางสถานี้โทรทัศน์แห่งประเทศลาว สถานีวิทยุแห่งประเทศลาว จะใช้สำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ทั่วประเทศ การเรียนภาษาลาวในประเทศลาวนั้น รัฐบาลลาวไม่ได้บังคับให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ แต่ให้สามารถใช้สำเนียงท้องถิ่นต่างๆ ได้ แต่การเรียนภาษาลาวสำหรับชาวต่างประเทศ รัฐบาลลาวแนะนำให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ฉะนั้นประชาชนในประทเสลาวจึงพุดอ่านภาษาลาวเป็นสำเนียงท้องถิ่นของตนแต่ประชาชนก็สามารถฟังเข้าใจได้ทุกสำเนียงทั่วประเทศ แม้จะพุดภาษาต่างสำเนียงกันก็ตาม
           ส่วนในประเทศลาว นอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีหลายสำเนยงย่อย ชเ่น ภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวัน ภาษาลาวกลางถิ่นสุวรณเขต สำเนียงย่อยถ่ินเมืองอาดสะพังทองถิ่นเมืองจำพอน ภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปากงึม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผุ้พุดภาษาลาวใต้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหาร สตึงแตรง และรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย
             ภาษาญ้อ หรือ ภาษาไทย้อ เป็นภาษากลุ่มไท-ลาว ที่พุดกันหม่ชาวไทญ้อ ซึงมีอยุ่ในประเทศไทยประมาณ ห้าหมื่นคน ในจ. สกลนคร หนองคาย นครพนม มหาสารคาม ปราจีนบุรีและสระบุรีสวนใหญ่อพยพมาจากประเทศลาว เป้ฯชาวไทญ้อส่วนใหญ่พูดภาษาลาวอีสานได้ด้วย
            ภาษาญ้อจัดอยุ่ในตระกูลภาษาไท กะได ภาาากลุ่มคำ-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไต-แสก มีลักาณคล้ายคลึงกับภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบางมีพยัญชนะ 19 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 3 เสียง วรรณยุกต์ 4 เสียง พยัญชนะควบกลุ้ 6 เสียงth.wikipedia.org/wiki/ภาษาลาว
         
ไทยย้อเป็นชาวไทยภาคอีสาน อีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมักเรียกตัวเองว่ ไทยย้อ เชน ชาวย้อในจังหวัดสกลนครย้อ ในตำบลท่าขอนยาง(เมืองท่าขอนยาง) อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ชาว ย้อ ในอำเภอท่าอุเทน จังหวัด นครพนม และชาวย้อในตำบลดงเย็น อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ภาษาและสำเนียงของชาวย้ออาจ ผิดเพี้ยนไปจากาวอีสานทั่วไปบ้างเล็กน้อย ถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวย้อ มีผุ้ค้นพบว่าเดิมอยู่แค้วนสิบสองปันนา หรือ ยูนาน ต่อมาชาวย้อมชยางพวกได้อพยพลงมาตามลำน้ำโขง เพื่อเลือกหาที่ตั้งบ้านตั้งเมืองที่อุดมสมบูรณ์กวาที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝังโขง เพื่อเลือกหาที่ตั้งบ้านตั้งเมืองี่อุดมสมบูรณืกว่าที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มนหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝั่งโขงเป็นที่อุดมสมบรูรณืที่ปลา ชุกชุม จึงได้จัดตั้งขึ้นเป็นเมืองไชยบุรี
              เมื่อ พ.ศ. 2350 (สมัยรัชกาลที่ 1 ต่อมาเมืองเจ้านุวงษ์ เวียงจันทนืเป็นกบฎต่อกรุ
เทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2369 ไทย ย้อเมืองไชยบุรีถูกกองทัพเจ้านุวงษ์เีจยงจันทน์กวาดต้อนให้อพยพข้ามโขงไป ด้วย โดยให้ไปตั้งอยู่ที่เมืองปุงเลง เมืองคำเกิด เมืองคำม่วน ในแขวงคำม่วน ของลาว ต่อมากองทัพไทย ได้กวาดต้อนให้ไทยข้อ ให้อพยพข้ามโขง กลับมาอีกครั้งหนึ่ง ทรงพระกรุณาโปรดเหล้า ฯ ไทยย้อกลุ่มกนึ่งตั้งขึ้นเป็นเมืองท่าอุเทน
              เมื่อ พ.ศ. 2373 ไทยย้อที่อพยพข้ามโขมาตั้งที่บ้านท่าขอนยาง เป้ฯเมืองท่าขอนยาง ขึ้นเมืองกาฬสินธุ์ ไทยย้อเมืองสกลนคร อพยพมาจากเมืองมหาขชัย (แขวงคำม่วนของลาว) มาตั้งอยู่ริมน้ำหนองหานสมัยรัชกาลที่ 3 ตั้งขึ้นเป็นเมืองสกลนคร เมื่อ พ.ศ. 2381 ในจังหวัดมุกดาหารมีไทยย้อที่อพยพมาจากเมืองคำม่วนตั้ง บ้านเรือนอยุ่ที่ตำบลดงเย็น อำเภอเมืองมุกดาหาร และอยู่ในท้องที่อำเภอนิคมคำสร้อยอีกหลายหมู่บ้าน เผ่าไทยในนครพนม
            ตามจดหมายเหตุของหลวงชำนาญอุเทนดิษฐิ์ (บฮด กิติศรีวรพันู์) ต้นสกุลกิติศรีวรพันธุ์..
            ...ลุถึงปีมะเส็ง เบญจศด จุลศักราช 1195 พ.ศ. 2376 เจ้าเมืองบุ่งลิงพร้อมด้วยฮุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร กรมการเมือง ท้าวเพี้ย จึงปรึกษากันเห็นว่าเป็ฯโอกาสเหมาะที่จะกลังมรพึ่งพระบรมโพธิสมภารของรัชกาลที่ 3 เพราะญวนกำลังติศึกกับไทยอยู่จึงอพยพจากเมืองบุ่งลิงมาพักอยู่ตอนหาดทายกลางแม่น้ำโขง บริเวณบ้านร้างแขวงเมืองนครพนา และเจ้าเมือง กรมการเมือง จึงขึ้นไปสืบดุมี่เมืองไชยบุรี
และตั้งใจว่าหากเมืองไชยบุรียังเป็นเมืองร้างวางเปล่าอยู่ ก็จะพากันไปอยู่ตามเดิม ครั้นไปสืบดูแล้วปรากฎว่า ราชวงศ์เสน เมืองเชมราบ กรมการเมือง และแม่ทัพนายกฝ่ายไทยต้งค่ายรักาาเมือง มีผุ้คนอยุ่กันหนาแน่นแล้ว กรมการเมืองหลวงบุ่ลิงจึงปรึกษาต่อราชวงศ์เสน ของสวามิภักดิ์ เป็นข้าขอบขัณฑสีมาอาณาจักรกรุงเทพมหานครต่อไปจนชั่วลูกชั่วหลานราชวงศ์เสนพร้อมด้วยนายทัพนายกองจึงมีหนังสือบอกข้อราชากร พร้อมกับนำตัวเจ้าเมืองและกรมการเมืองหลวงบุงลิงลงไปหาแม่ทัพนายกองทีเมืองนครพนมจึงสั่งให้เจ้าเมืองและกรมการเมืองหลวงบุ่งลิงอพยพครอบครัว ไพร่พล จากคอนหาดทรายกลางแม่น้ำโขง มาตั้งอยู่ ณ บ้านท่าอุเทน ซึ่งร้ายอยู่เกลี่้ยกล่อมให้ผุ้คนฝั่งซ้ายในแขวงเมืองคำเกิด คำม่วง มารวมอยู่ด้วยเป็นอันมาก
             ปีมะเมีย ฉศก จุลศักราช 1196 พ.ศ. 2377 แม่ทัพฝ่ายไทยไดตั้งพระปทุมเจ้าเมืองหลวงบุ่งลิงเดิม ให้เป็ฯพระศรีวรราชและเป็นเจ้าเมือง และยกบ้านท่าอุเทนร้างนั้นขึ้นเป้น "เมืองท่าอุเทน" อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ยังคงเดิม ให้เมืองท่าอุเทนขึ้นอยู่ในความปกครองของพระสุนทรราวงศา ผุ้วาาชการเมืองยโสธรนครพนม และเมืองท่าอุเทนมีชายฉกรรจ์ 700 คนผุกส่งส่วยปีละ 18 ตำลึง
            ถึงปีจอ สัมฤทธิศก จุลศักราช 1200 พ.ศ. 2381 เป็นปีที่ 15 ในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงเทพมหานคร มีท้องตราโปรดเกล้า ฯ ให้เมืองท่าอุเทนขึ้นตรงต่อกรุงเทฯ เป้นหัวเมืองจัตวาขาดจากการปกครองของเมืองยโสธรนครพนม มีเมืองรามราชเป็นเมืองขึ้น (ในครังนั้นเจ้าเมืองรามราชคือ พระอุทัยประเทศ ชื่อเิม ท้าวบัง เป็นเจ้าเมืองเชียฮม อพยพผุ้คนมาจากฝั่งซ้ยชองแม่น้ำโขงคราวกบฎเจ้าอนุวงศ์ คุมครัว 458 คนไปตั้งเมืองอยู่ที่บ้านรามราช ซึ่งปัจจุบันเป้ฯตำบลรามราช ขึ้นกับอำเภอท่าอุเทน) ส่วนเขตเมืองท่าอุเทนนันไม่ได้แบ่งเพราะตั้งอยู่ในเขตเมืองนครพนม และให้ช่วยรักษาเขตแดนเมืองนครพนมไปพลางก่อน
         
ชาวไทญ้อ
พระศรีวรราช ผพระปทุม) เจ้าเืองท่าอุเทนคนแรกถึงแก่อนจกรรมในปีใดไม่ปรากฎในจดหมายเหตุ มาปรากฎหลัก,านเอาต่อเมือถึงปีมะเมีย โทศก จุลศักราช 1232 พ.ศ. 2412 พระศรีวรราช (การี) เจ้าเมองคนที่ 2 ถึงแก่อนิจกรรม ทางราชการจึงตั้งท้ายอินทิสาร (พรหมมา) เป็นพระศรีวรราช ดำรงตำแหน่งผุ้ว่าราชการเมืองคนที่ 3 ให้ท้ายพระพรหมเป็นอุปฮาด ให้ท้าวพระคำก้อนเป็นราชวงศ์ ให้ท้าวบุญมากเป็นราชบุตร ส่งส่วยตามเดิม
            ถึงปีขาล สัมฤทธิศก จุลศักราช 1240 พ.ศ. 2421 พระศรีวรราชุ (พรหมมา) และทาวพระพรหมถึงแก่อนิจกรรม ทางราชการจงตั้งให้ท้าวบุญมาก ราชบุตรเป็นพระศรีวรราช ดำรงตำแหน่งผุ้ว่ารชการการเมืองคนที่ 45 และเป้นเจ้าเืองคนสุดท้าย
           เมืองท่าอุเทนเปลี่ยนฐานะจากเมืองเป็นอำเภอเมื่อ ร.ศ. 128 พ.ศ. 2453 มีขุนศุภกิจจำนงเป็นนายอำเภอคนแรก
           ปัจจุบันชาวไทญ้อมีภุมิละเนากระจัดกระจายอยุ่ทัวไปในภาคอีสาน อาทิ บ้านนายูง อำเภอกุมกวาปี จังหวัดอุดรธานี, บ้านท่าขอนยาง บ้านกุดน้ำใส บ้านยาง บ้านเหล่ากลาง บ้านโพน บ้านค้นธารราษฎร์ อภเภอกัทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม, บ้านสิม บ้านหนองแงง บ้าสา อ.ยางตลาด และบ้านหนองไม้ตาย อ.สหัสขันธ์ จ. กาฬสินธุ์, บ้านหนองแห่ง บ้านจำปา บ้านดอกนอ บ้านบุ้งเบ้า บ้านนาสีนวล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร, บ้านขามเฒ่า อ.เมือง จ.นครพนม บ.ท่าอุเทฯ บ้านไชยบุรี บ้านนาขมิ้น บ้านค้อ บ้านพระทาย บ้านโพนสวรรค์ บ้านรามรช อ.ท่าอุเทน จ.นครพนม บ้านแพง บ้านนาขาม อ.บ้านแพง จ.นครพนม บ้านดงเย็น  จ.นครพนม บ้านศรีสงคราม บ้านนาเดื่อน บ้านนหว้า ย้านเสียว อ.ศรีสงคราม จ.นครพนนม baanmaha.com/community/threads/33053-ประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทญ้อ

วันอังคารที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Thai Language

              ภาษาไทยจัดอยู่ในกลุ่มภาษาตระกูลไท-กะได (Tai-Kadai) แต่ยังมีผู้สงสัยว่าตระกูลภาษาไท-กะไดอาจมีความสัมพันธ์ุทางเช้อสายกับตระกูลภาษาอื่นๆ โดยมีนักภาษาศาสตร์ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเชื้อสายภาษาตระกูลภาษาไท-กะได ไว้ 3 ฝ่าย คือ
            - นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ภาษาตระกูลไท-กะได เป็นตระกูลย่อยของภาษาตระกุลจีน-ทิเบต เนื่องจากข้อค้นพบที่ว่าคำในภาษาไทยและคำในภาษาจีนมีความใก้เคยงกันมาก จึงสันนิษฐานว่าภาาาไทยและภาษาจีนอาจมีต้นกำเนิดมาจากตระกูลภาษาเดียวกัน
           - นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน โดยนักภาษาศาสตร์ที่ชื่อว่า พอล เค เบเนดิกต์ ให้ข้อคิดว่า ภาษาไทยและภาษาจีนไม่ได้มีความคล้ายคลึงเพราะมีเชื่อสายภาษาเดียวกันแต่ความคล้ายคลึงนั้นอาจเกิดมาจากการยืมภาษานั่นเอง
             อย่างไรก็ดี พอล เค เบเนดิกต์ เชื่อว่าภาษากะได ซึ่งเขาให้คำนิยามเป้ฯคนแรกว่า หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาลักกยา (พูดในอำเภอจิ่นซิ่ว มณฑลกวางสี) ละควา/ละซา เก้อหล่าว ละจี๊ และหลี(ฮไล) (พูดในเกาะไหหลำ) เป็นภาษาที่เป็นสะพานเชื่อมระหวว่างภาษาตระกูลไทกับภาษาออสโตรนีเซียน เนื่องจากภาาากลุ่มกะไดเป็นภาษาคำโดดและใช้เสียงวรรณยุกต์เหมือนภาาาตระกูลไท และมีบางอยาเหมือนภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน คือ มีคำขยายตามหลังคำหลัก ซึ่งภาษาจีนไม่มีระบบไวยากรณ์
             การเชื่อมสัมพันธ์ทางเชื้อสายนี้จึงใช้เป็นหลักฐานในการพิสูจน์สมมติฐานได้ว่าภาาาตระกูลไท-กะได สัมพันธ์กับภาษาตระกูลออสโตรรีเซียน และแตกมาจากภาษาตระกูลออสโตร-ไท ร่วมกัน
             นักภาษาศาสตร์เชื่อว่าภาษาตระกูลไท-กะได มาจากภาษาตระกูลออสโตร-ไท ซึงรวมภาษาออสโตรนีเซียน และแม้ว-เย้า ในกลุ่มตระกูลภาษานี้ด้วย
            จากสมมติฐาน จะเห็นว่านักภาษศาสตร์มีความเห็นว่า ภาษาตระกูลไท-กะไดน่าจะมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ภาษาตระกูลออสโตนีเซียนรวมไปถึงภาษาตระกูลแม้ว - เย้า ด้วย อย่างไร ก็ดีภาาาตระกูลไท -กะได ไม่มีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายกับภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกเลย
            ภาษาตระกูลไท ศ.ดร. พัง กวย ลี ได้เสนอว่าภาษาตระกูลไทแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้คำศัพท์และวิวัฒนาการของเสียงบางเสียงเป็นหลัก ดังนี้
            1. กลุ่ม ทางเหนือ ภาษาไทถ่ินต่่างๆ ในประเทศจีน เช่น โป-เอย, วูมิง เป็นต้น
             2. กลุ่มกลาง ได้แก่ ภาษาไทถิ่นซึ่งอยู่ตามชายแดนระหว่างประเทศจีนกับประเทศเวียดนาม เช่น โท้ ไทบลัง นุง เป็นต้น
             3. กลุ่มทางตะวันตกเฉียงใต้ ได้ แก่ ภาษาไทถิ่นในประเทศไทยประเทสลาง มาเลเซีย เขมร พาม่าและอินเดีย
                           -
         

การแบ่งกลุ่มภาษาตระกูลไท

               ลักษณะของภาษาตระกุลไท
             
 - ระบบเสียง จะมีระบบเสียงอยุ่ 3 ระบบ คือ ระบบเสียง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์
                         ระบบเสียงพยัญชนะ  มีทั้งพยัญชนะเดี่ยวและพยัญชนะควบกล้ำ แต่ส่วนใหญ่จะใช้พยัญชนะเดี่ยวขึ้นต้นคำมากกว่าส่วนพยญชนะตัวสะกดไม่มีพยัญชนะควกลุ้มเลย
                         ระบบเนียงสระ มีทั้งสระเดียวและสระผสม ในภาษาไทยเสียงสั้นยาวของสระเป็นเรื่องสำคัญที่ทำให้คามหมายของคำแตกต่างกันได้ เช่น วัน วาน ปัก ปาก เป้นต้น ดดยในภาษาไทยสระเสียงยาวสามารถเกิดขึ้นท้ายพยางค์ได้ทุกเสียง เช่น หมุ่ ป่า มือ เป้นต้ัน ส่วนสระเสียงสั้นจะมีพยัญชนะเกิดขึ้นท้ายพยางค์ เรียกว่า พยั๙นะเสียงคอหอยหยุด/?/ (Glottal shop) เป็นตัวสะกด (ยกเว้นคำที่ออกเสียวเร็วและคำที่มีหลายพยางค์)
                         ระบบเสียงวรรณยุกต์ ภาษาตระกุลไท ให้ความสำคัญกับระบบเสียงวรรณยุกต์เป็นอย่างมาก คำทุกคำหรือพยางค์ต้องมีเสียงวรรณยุกต์กำกับ เพราะเสียงวรรณยุกต์สามารถทให้ความหมายของคำเปลี่ยนแปลงได้ เชน ขา ข่า ข้า เป็นต้น
              - ด้านระบบคำ ภาาาตระกุลไท มีัลักาณะเป้นคำโดด คือเ้นคำพยางค์เดียว เช่น กิน นั่ง นอน พือ แม่ ลูก ฯลฯ ส่วนคำหลายพยางค์ในภาษาไทยเกิดจากการยืมคำจากภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาลาลี - สันสกฤต ภาษาเขมร เป็นต้น
               - ด้านระบบไวยากรณ์ มีลักาณโครงสร้างของประโยค คือ ประธาน + กริยา + กรรม ถ้าทีคำขยาย คำขยายนั้นจะวางไว้หลังคำหลัก เช่น กินจุ หมาดุ หรือถ้าในกรณีนามวลีที่มีลักาณะนาม จะเรียงคำแบบ นามหลัก + จำนวน + ลักษณนาม เช่น หมู่ 3 ตัว, บ้าน 5 หลัง เป็นต้น
                ลักษณะของภาษาไทย
               - ภาษาไทยมีตัวอักษรเป็นของตนเอง ซึ่งตัวอักษรไทยเริ่มปรากฎมาแต่ครั้งสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง ราว พ.ศ. 1826
              - ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีพยางค์เดียว กล่าวคือ ภาษาไทยเป้นภาษาที่เป้นคำโดด ซึ่งมีความหมายที่ผู้ฟังเข้าใจในทันที่
              - ภาษาทไยมีตัวสะกดตรงตามมาตร
              - ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง
              -ภาษาไทยมีหลายความหมายในคำเดียว ภาษาไทยถือว่าเป็นภาษาคำโดด เมื่อคำหนึ่งมีหนาที่ปลเี่ยนไป ความหมารย่อมเปลี่ยนไปเป็นอีกอย่างหนึ่งด้วย
             - ภาษาไทยเป็นภาษาคำเรียง การเรียงคำในภาษาไทยนั้นถือว่าเป็นเรื่องสำคญอย่างยิ่ง เพราะหากมีการเรียงคำเปลี่ยนที่ไป ความหมาย่อมเปลี่ยนไปด้วย
             - ภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเมื่อเข้าประโยค นั้นคือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรุปคำเพื่อแสดงเพศ พจน์ การก กาล มาลา วาจก โดยภาษาไทยสามารถแสดงออกด้วยวิธีการต่างเช่น การแสดงเพศ ภาษาไทยมีวิะีการแสดงพหูพจน์ บอกเวลา เป็นต้น
              - คำในภาษาไทยมีเสียงัมพันธ์กับความหมาย
              - ภาษาไทยเป็นภาษาดนตรี
              - ภาษาไทยเป้ฯภาษาที่มีลักษณนาม
       "ความเป็นมาภาษาไทย" บทที่ 1, อ.กฤติกา ชูผล
              ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย เป็นลักษณะที่ทำให้ภาษาไทยแตกต่างจากภาษาอื่น เป้ฯลักษระเด่นของภาษาที่ปรากฎอยฝุ่ตลอดมานับพันปี คู่กบชนชาติไทยทำให้ภาษาไทย เป็นภาษาที่มีชีวิต เจริญงอกงามและอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่อยคำที่สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและวัตถุปรสงค์ ักาณะต่างๆ เหล่านี้ได้แก่
              - ลกษระการสร้างคำโดยการผันเสียงสุงต่ำ เสียงสุงต่ำในภาษาไทยมี 5 ้เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา โดยวิธีนี้ภาษาไทยสามารถสร้างคำใหม่จากคำมุคำเนียวได้ถึงคราวละ 5  อาทิ
              ทอง หมายถึง ธาตุชนิดหนึ่ง
       

    ถอ่ง หมายถึง งาม อร่าม แจ่มใส
              ท่อง หมายถึง เดินก้าวไป ว่าซ้ำๆ ให้จำได้
              ท้อง หมายถึง ส่วนของร่างกายด้านหน้าตั้งแต่ลิ่นปีจนถึงบริเวณต้นขา
               ถอง หมายถึง กระทุ้งด้วยศอก เป็นต้น
              - ลักษณะการจำแนกพยัชนะออกเป็น ไตรยางค์ กับการจำแนกพยัญชนะออกเป็นเสียงสุง เสียงกลาง เสียงต่ำ การจำแนกลักษณะนี้เป็ฯการจำแนกโดยสมมติ เพราะดดยธรรมชาติของเสยงพยัญชนะไม่มีเสียงสูงต่ำ "ไตรยางค์" เป้นลักษณะที่ทำให้เกดประดยชน์ 2 ด้านในภาษาไทย คือ ด้านความประหยัด และด้านที่เป้ฯความวอกงามของภาษา
                      ด้านความประหยัด ทำให้ไม่ต้องกำกับรูปวรรยุกต์ในคำพื้นเสียงที่ประสมด้วอักษรทั้ง 3 ประเภท คำเป้ฯที่ประสมด้วยอักษรสูง ไม่ต้องกำกับรุ)วรรยุกต์จัตวา ให้คำว่า หมา สวย สนาม ฯลฯ  คำตายที่ประสมด้วยอักษรลกลางไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า กลับ จัด ตาก ปาป บีบ ฯลฯ คำตายสระเสียงสั้นที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์โท ในคำว่า พระ ปัด ริบ นก ฯลฯ และคำตายสระเสียงยาวที่ประสมด้วยอักษรต่ำไม่ต้องกำกับรูปวรรณยุกต์เอก ในคำว่า วาด ลาก รีบ เป็นต้น
                     ด้านความงอกงามของภาษา การจำแนกพยัญชนะตามวิธีไตรยางค์ทำำให้ภาษาไทยมีคำใช้เพิ่มขึ้นอีก 2-3  จากคำเสียงเดียวกัน ที่เกิดจากคำประสมด้วยอักษรสุง วรรณยุกต์โท กับคำประสมด้วยอักษรต่ำ วรรณยุกต์เอก เชน ข้า กับค่า และ ฆ่า หรือ เหล้รา กับ เล่า  หรือ หว้า กับ ว่ เป็นต้น
               - ลักษณะการเล่นเสียงเล่นคำ เป็นลักษณี่ปรากฎอยุ่ในภาษาไทยตั้แชงแต่อดีตถึงปัจจุบัน ลักษระการเล่นเสียง เล่นคำในภาษาไทยนี้อาจแบ่งเป็นประเภทย่อยดังนี้
                      ลักษระการใช้เสียงค้องจอง ปรากำอยุ่ในคำร้อยกรองและถอ่ยคำธรรมดาคำประพันธ์ของไทยทุกชนิด อาจต่างกันด้วยจำนวนคำ ครุ ลหุ เอก โท แต่จะมีลักษณะบังคับ ชนิดหนึ่งซึงคำประพันธุทุก
ประเภทต้องมี คือ บังคับเสียงสัมผัส แม้ในคำประพันธ์ประเทภฉันท์ ซึ่งเป้ฯคำประเพันธ์ที่เรารับมาจากอินเดีย เราก็ยังนำมาเพ่ิมสัมผัสเข้าไป ส่วนในถ้อยคำธรรมดา ร่องรอยของการใช้คำเสียงคล้องจองปรากฎอยุ่ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นภาษาสมัยเก่า เช่น ศิลาจารึก สำนวน คำพังเพย บทร้งอเล่นปริศนาคำทาย หรือภาษา สมัยใหม่ เช่น สำนวน คำโฆษณา คำขวัญ เป็นต้น
                      ลักษณะการใช้คำเสริมสร้อย เป็นการเล่นเสียวให้คล้องจองกัน เพื่อให้กระทบกระทั่งฟังไพเราะ สร้อยคำที่นำมาเสริมมักไม่มความหมาย เช่น ใต้ถุนรุนช่อง ร้องแรกแหกกระเชอ วุ่นวายขายกะปิ เซ่นวักตั๊กกะแตน  ฯลฯ
                       ลักษระารผวนคำ ภาษาไทยน่าจะเป็นภาษาเดียในโลกที่รู้จักใช้คำยวนเ็ฯเครืองแสดงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาษา ความนิยมในการผวนคำ ของภาษาไทยมีมากจนถึงกับกวีนำคำผวนมาผูกเป็นเื่องราว ได้แก่ วรรณกรรม "สรพพลี้หวน" และ "สรรพล้อกวน" ของภาคใต้ เนื้อความเป็นคล้ายเรื่องชาดก แต่ใช้คำฝวนตลอดเรื่อง
                      เราอาจกล่าวได้วา การผวนคำเป็นอัจฉริยภาพเชิงปฏิภาณของผุ้ใช้ภาาไทยเป็นลักณะการฝึกออเสียงคำต่างๆ ให้ถูกต้องตามระดับเสียงที่เกิดตามธรรมชาติของการสับเสยง ทำให้เกิดเสียงคล้องจองขึ้นในใจของผุ้พุดเ ช่น หมายตาย หมายตา ขานี้ ยี้หมา เสือกระบาง กสากระเบือ เป้นต้น คำผวนเป็นจำนวนมากที่มีความหมายในทางหยาบโลน แต่หากพิจารณาให้ดีแล้จะเห้ฯว่าเป้นคำหยาบในใจของผู้พูดเท่านั้น มิได้ปรากฎออกมาเป้นถ้อยคำตรงๆ อาจกล่าวในเชิงบวกว่า คำผวนช่วยลดความหยาบโลนของถ้อยคำก็น่าจะได้
                       
  ลักษณะของการใช้ถ้อยคำที่แสดงถึงความประณีตของภาษา ความประณีตในการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้แก่ แบบแผนการกินอยุ่หลับนอน การแต่งกาย วัฒนธรรม และระเบียบประเพณี เป็นเครื่องแสดงความเจริญของมนุษยชาติฉันใด ความประณีตของถ้อยคำก็เป็นเครื่องแสดงความเจริญของภาษาฉันนัน ลักษณะแสดงถึงความประณีตของภาษา ได้แก่
                         การใช้ถ้อยคำเป็นเชงิชั้นลดหลั่นกันตามกาล เทศะ และบุคคล มีทั้งภาษาหยาบ ภาษาละเอียด และภาษาคะนอง
                         การเลี่ยงใช้คำแนคำทีไีต้องการพุด คำที่ควรเลี่ยงได้แก่คำที่อาจผวนเป็นคำหยาบ การพูดถึงความตาย หรือสิ่งที่เป็นอัปมงคล เรื่องไม่ควรเปิดเผย  ภาษาไทยร่ำรวยกับคำที่อาจเลือกใช้มาแทนคำที่ไม่เป็นที่นิยมเหล่านั้
                           การใช้ลักษณะนาม เป้นลักษระที่ไม่ปรากฎในภาษาอื่น ลักษณนามในภาษาไทยเป็นเครื่องแสดงความละเอียดของภาษา คำนามเพยงคำเดียว หากแสดงลักษรที่ต่างกัน ลัการะนามที่ใช้ก้จะต่างกันออกไปตามสภาพ
                    - ลักษรการสร้างคำทหยโดยการนำภาษาต่างประเทศมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตมระบบของภาษาไทย นอกเหนือจกาการใช้รูปภาษาเดิม เพื่อให้ได้รูปคำใช้ในภาษามาย่ิงขึึ้ และเพื่อให้อ่านเขียนสะดวกขึค้น ตลอดจนเพื่อแยกความหมายองคำอีกเหตุหนึ่งด้วย อัจฉริยลักษรนี้ทำให้ภาษไทยเจริยงอกงามอย่างยิ่ง นับเป็นอัจฉริยลักษรที่สำคัญที่สุดของภาษาทไทย เพราะเป็นวิธีที่เปมาสมกับสถาณการณืของภาษาทไยปัจจุบัน ...
                           การสร้างคำแบบใหม่ ใช้วิธี ปรับประกอบด้วยการตัดพยางค์ ในคำยืมมากพยางค์ การเพ่ิมพยางค์ เพิ่มสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ เพื่อประโยชน์ทางนันทลักาณ์เพื่อให้ออกเสียงสะดวก, การปรุง ได้แก่การนำคำเหล่านั้มาสร้างตมวิธีการสร้งคำของไทยนำมาประสม ซ้ำ และซ้อน ตลอดจนนำมาเล่นเสียง เล่นคำ, การเปลี่ยน มีทั้งการเปลี่ยนสระและพยัญชนะ เพื่อให้ได้รูปคำมากขึ้น , การแปลง ได้แก่การนำคำยือมเหล่านั้นมาแสดงเป็นรูปต่างๆ ตามอักขรวิธี
                  จะเห็นได้ว่า ลักษณะการสร้างคำโดยการนำคำเป็นภาษาต่างประเทศมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับระบบของภาษาไทย มีผลทำให้คำยืมเหล่านั้นมีลักาณะหลมกลืน กับคำไทย งายแก่การใช้ สะดวกแก่การออกเสียง ใช้ได้สนิทปากสนิทใจนไทยทำให้คำยืมเหล่านั้น "ติด" อยุ่ในภาษาไทย ด้วยบักาณการสร้างคำตามวิธีที่กล่าวมาภาษาไทยจึงมีคำใหม่เพิ่มขึค้นไม่หยุดยั้งเป็นภาษาที่มีชีิวิต มีวิวัมนาการ อุดมสมบูรณืด้วยถ้อยคำอันผุ้ใช้ภาาาสามารถเลือกสรรได้ดังประสงคือย่งราบรื่อนแนบเนียน
                  ลักษณะต่างที่กล่าวข้างต้น เป็นลักษณะพิเศษที่ไม่ปรากฎเด่นชัดในภาษาอื่น เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาไทย จึงเป็นลักษณะที่คนไทยผุ้ใช้ภาษาไทยทุกคน พึงตระหนัก พึงอนุรักษ์ และพึงพัฒนาให้งอกงาม เพื่อเป็นเครื่องแสดงเอกลัษณ์ของชาติไทย....
                           - บทความ "อัจฉริยลักษณะของภาษาไทย" ผศ. สุภาพร มากแจ้ง
                       
             
       
                

วันจันทร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tai-Kadai Ethnography

              กลุ่มชาติพันธ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพัธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได กระจายตัวอยุ่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูงมีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศสนาดั้งเดิมเป็นการนัถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณี สำคัญคือ ประเพณีส่งกรารต์ ซึึ่งเป็นปรพเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษฺวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทยหใญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไทเปนคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษา กะได เช่น ลักเกีย แสก คำต้ง หลี เจียม ลาว ฯลฯ)
เทือกเขาอัลไต
             ในอดีต เชื่อกันว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได อพยพมาจากเทือกเขาอัลไต ต่อมาก็เชื่อว่าอพยพมาจากตอนกลางของประเทศจีน และก็เลื่อกัน่ากำเนิดในบริเวณจีนตอนใต้ เป้ฯอาณาจักน่านเจ้า และอพยพลงมาทางตอนใ้สร้างเป็นอาณาจักรล้านนา และอาณาจักรสุโขทัย สวนอีกทฤษฎีเชื่อว่าอพยพมาจากทางใต้ จากชวา สุมาตรา และคาบสมุทรมลายู แต่นักมานุษยวิทยาในปัจจุบันเชื่อกันว่ กลุ่มชาติดพันธุ์ไท-กะได อยู่ที่บริเวณจีนตอนใต้ เรื่อยมาจนถึงรัฐฉาน (ประเทศพม่า) ประเทศไทยตอนบน และแอ่งที่ราบลุ่มภาคอีสาน เรือยไปยังประเทศลาว หลังจากนั้นจึงมการอพยพเพิ่ม เช่นกลุ่มชาวอาหม ที่อพยพข้ามช่องปาดไก ไปยังอัสสัม และชาวไทยแดงที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานบริเวณอาณาจักสิบสิงจุไท ...
           มีรายงานตีพิมพ์เมื่อปี 2004 นักภาษาศาสตร์ตั้งสมมติฐานว่าภาษาไท-กะไดเร่ิมแรกกำเนิดจากภาษาออสโตนีเซียน ซึ่งผู้อพยพนำติดตัวจากไต้หวันไปถึงจีนแผ่นดินใหญ่ หลังจากนั้นภาาานี้ก็ด้รับอิทธิพลอบย่างมากจากภาษาพื้นเมืองต่างๆ ตั้งแต่ซิโน-ทิเบตัน, ม้ง -เมี่ยน จนถึงตระกูลภาษาอื่นๆ โดยรบคำศัพท์ฺเข้ามาจำนวนมากและค่อยๆ กลายโครงสร้างภาษามาคล้ายกัน ปัจจุบันเมื่อไม่นามมานี้กลุ่มคนบางกลุ่มที่พูดภาษาไทได้อพยพไปทงทิศใต้ผ่านเทือกเขาต่างๆ เข้าสู่เอชยตะวันอกเแียงใต้ อาจจะทันที่ดดยการถึงของชาวจีนฮั่นไปจีนตอนใต้
             มรดกทางภาษาไม่ได้เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับมรดกทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนภาษาเมือประชากรต่างๆ เรียนรู้ภาษาใหม่ๆ ชาวไทมีแนวโน้มที่จะมีอัตราการปรากฎของ Y-DNA Haplogroup O2a สูงมากและอัตราการปรากฎของ O2a1และ O1 ปานกลาง อย่างไรก็ตามเชื่อว่า วาย ดีเอ็นเอ ฮาโพรกรุ๊ป โอวัน มีความสัมพันธ์กับทั้งผุ้ที่พูดภาษาออสโตนีเซียนและผุ้ที่พุดภาษาไท ความแพร่หลายของ วาย ดีเอนเอฯ ในหมู่ผู้ที่พูดภาษาออสโตนีเซยนแลฃะผุ้ที่พูดภาษาไทยังบ่งบอกถึงบรรพบุรุษร่วมกันกับผุ้ที่พุดภาษาซิโน-ทิเบตตัน, ออสโต-เอเซียติก และม้ง-เมี่ยนเมื่อประมาณ 35,000 ปีก่อนในจีน, วายดีเอนเอฯ ถูกพบด้วยอัตราการปรากฎสูงในหมูคนไทส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นคนลัุกาณที่คนไทมีร่วมกับกลุ่มชาติัพันธุ์ที่อาศัยใกล้เคียงนั่นคือผุ้ที่พูดภาษาออสโต-เอเซียติกในมณฑลยูนนานของจีนตอนใต้ วาย ดีเอนเอฯ โอวัน และโอทูเอ เป็นกลุ่มย่อยของ โอ ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของ เค อีกที่ซ่งเป้นการกลายพันธุ์ซึ่งเชื่อกันว่าได้เกิดขึ้นเือง สีหมื่นปีกอน ณ ที่ใดที่หนึ่งระหว่างอิหร่านกับจีนตอนกลาง
           
แสดงความหนาแน่นของ Y-DNA Haplogroup O2a
อย่างไรก็ตามจากกตรวจสอบโครโมโซมลักาณะร่วมของกลุ่มผุ้พุดภาษาตระกุลไท-ไท คือ วาย ดีเอนเอฯ ซึงพบากในแถบจีนตะวันออกเแียงใต้ทำให้เป็นหนึ่งในเหตุผลที่โอกาสในทฤษฎีที่กล่าวว่าคนไทมาจากประเทศจีนตอนใต้นั้นมีความเป็นไปได้มากที่สุดในขณะนี้
           การแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ทำได้หลายวิธี อาทิ
           แบ่งตามวัฒนธรรม การแบ่งตามวัฒนธรรม เป็นการแบ่งตามหลักมานุษยวิทยา โดยใช้เกณฑ์ด้านวัฒนธรรมแลประเพณี ซึ่งสามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ไทน้อย ไทใหญ่ และไทยสยาม
           ไทน้อย ตระกูลชาติพันู์ไทยน้อย หมายถึงกลุ่มชาติพันธ์ที่มีถิ่นฐานเดิม อยุ่บลริวณฝั่งตะวันออกเขงอแม่น้ำโขง ประกอบด้วยในลาว จนถึงลุ่มแม่น้ำดำแดง ในเวียดนาม แล้วเลบไปจนถึงตอนใต้ของจีนเอกลักษณ์ตระกูลชาติพันธุ์ไทน้อย คือ มการปลูกเรือนแบบบาวลึกเขาไป แลไม่มีการเล่นระดับที่ซับซื้อนมาก ในสถาปัตยกรรมชั้นสุงมีการประดับตกแต่งที่ค่อนข้างน้อย เน้นความอ่นอช้อยของศิลปะ แต่เสื้อผ้าอาจจะมีเครืองประดับมากกว่า โดยกลุ่ม ชาติพันธุ์ในตระกูลนี้ ได้แก่พวก ไทลาว ไทดำ ไทขา ไทแดง ไทพวน (ภาษาไทยมักจะเรียกว่าลาวพวน) ไทฮ่างตง ตูลาว หลี เจียมาว เกลาว ลาติ ลาคัว ลาฮา จาเบียว เบ ไทแสก (ลาวใช้ไทแซก) ลักเกีย คำ สุย มู่หล่าว เมาหนาน ไทญ้อ ภูไท ต้ง จ้วง คัง นุง โท้ เป็ฯต้น กลุ่มนี้เป้นกลุ่มที่มีความหลากหลายกว่าไทใหญ่ โดยเฉพาะด้านภาษา ซึงมีกลุ่มภาษาทั้ง 3 กลุ่ม รวมถึงภาษากะได ด้วย
           ไทใหญ่ ตระกุลชาติพันู์ไทใหญ่ หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีถิ่นฐานดั้งเดิม อยู่บริเวณฝังตะวันตกของแม่น้ำโขง เลยไปถึงลุ่มน้ำสาละวิน อิระวดี และพรหมบุตร เอกลักษณ์ของตระกูลชาติพันธุ์ไทใหญ่ คือ มีระบบการปลูกบ้านสร้างเรือนที่ซับซ้อนกว่าไทน้อย โดยบ้านมักจะมีการกั้นห้องแบ่งระดับยกหลังคา ที่สลับซับซ้อนกว่า นอกจากนี้ในสถาปัตยกรรมชั้นสูง มักจะมีการประดับตกแต่างมากกว่าโดยกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกุลนี้ ได้แก่พวก ไทใหญ่ (ำทใหญ่เรียกตัวเองว่าไตหรือไตโหลง(ไทหลวง) ส่วนคำว่าไทใหญ่นั้นเป้นชื่อในภาษาไทยเท่านั้น ไม่ใช่ชื่อที่เขาเรียกตัวเอง) ไทเหนือ ไทขึ้น ไทลื้อ ไทยวน (ภาษาไทยแต่ก่อนเรียกว่าลาวยวนป อาหม อ่ายตน คำยัง คำตี่ พ่าเก นะเร จันหารี และตุรุง เป็นต้น
ภาษาไทน้อย
           ไทยสยาม ตระกูลชาติพันู์ไทยสยาม หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำยม แม่น้ำน่าน แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำเพชรบุรี เรื่อยไปจนถึงที่ราบลุ่มแม่น้ำพุมดวง-ตาปี ที่ราบลุ่มทะเลสาบสงขลา บริเวณจังหวัดเกาะกง (ประเทศกัมพุชา) และบิรเวณจังหวัดเกาะสอง (เขต ตะนาวศรี ประเทศพม่า) ไทยสยาม เป็ฯกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการพูดถึงและถกเถียงเรื่องที่มามากที่สุดโดยมีการเสนอทฤษฎีขึ้นมามากมาย ทั้งมาจากเทือกเขาอัลไต หรือมาจากหมู่เกาะทะเลใต้ ด้วยเชื่อว่า ไทยสยาม เป้นชาติพันธุ์บริสุทธิ์ และเป็นต้นตระกูลของทุกชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท กะได แต่ในปัจจุบัน นักวิชาการสวนมากยอมรับแล้วว่าไทยสยามไม่ใช่ชาติพันธุ์บริสุทธิ์ แต่เป้นชาติพันธ์ุที่มีการผสมผสานกัน ทั้งภายในและภายนอก โดยวัฒนธรรมส่วนมากเป้ฯส่วนผสมระหว่างไทน้อยและไทใหญ่ นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามาผสมทั้งจาก มอญ ขอม (เขมรโบราณ) อินเดีย และมลายู อีกด้วย
            แบ่งตามกลุ่มภาษา
            กลุ่มภาษาไหล-เกยน หมายถึงผุ้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไหล และกลุ่มภาษาเกยัน ซึ่งประกอบด้วย หลี เจียมาว เกลาว ลาติ ลาติขาว จาเบียว ลาคัว และลาฮา เป็นต้น
         
กลุ่มภาษาลักเกีย-กัม-สุย หมายถึงผุ้ที่ใช้ภาษาอื่นๆ ในกลุ่มภาษกัม-ไท ยกเว้นภาษาไท ซึ่งประกอบด้วย เบ แสก ลักเกีย อ้ายจาม ต้ง คัง มู่หลาม เหมาหนาน และสุย เป็นต้น
            กลุ่มภาษาไท หมายถึงกลุ่มชนที่ใช้ภาษาไท เช่น ไทดำ (ลาวโซ่ง) ไทยวน (ลาวยวน) ไทขาว ไทยสยาม ไทฮ่างตง ไทแดง ไทพวน (ลาวพวน) ตุลาว ไทลาว (ลาว) ไทญ้อ ผุ้ไท ไทยอีสาน (ลาว) อาหม อ่ายตน คำตี่ คำยัง พาเก ไทขึ้น ไทใหญ่ (ฉาน) ไทลื้อ ไทเหนือ ปายี ไทถาน ไทยอง ไทหย่า จ้วง นุง ต่าย (โท้) ตุรุง นาง และปูยี เป็นต้น
              แบ่งตามประเทศในปัจจุบัน
              ประเทศไทย ในประเทศไทย กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได โดยเฉพาะไทยสยาม เป็นประชากรหลักของประเทศ ซึงกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดประกอบด้วย ไทใหญ่ (ฉาน เงี้ยว) ไทลื้อ ไทขีน ไทยอง ไทย วน ไทดำ (ลาวโซ่ง) ไทยสยาม ภูไท (ญ้อ โย้ย) ไทพวน (ลาวพวน) ไทอีสาน (ไทลาว) ลาวแง้ว ไทแสก ลาวครั่ง ไทกลา ไทหยา ลาวตี้ ลาวเวียง ลาวหล่ม และคำตี่
               ประเทศลาว ในประเทศลาวก็เช่นเดียวกันกับไทย ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได เป็นประชากรกลุ่มหลักของประเทศ ประกอบด้วย ไทลาว ลาวตั้ ลาวเวียง (ภาษาลาวเรียกว่าไทเวียงและแค่เป้นคำสำหรับเรียกคนไทลาวที่มาจากเวียงจันทน์ ไม่ใช่ไทอีกหลุ่มหนึ่งอย่างแท้จริง) ลาวหล่ม ผุ้ไท ชาวไทขาว ชาวไทดำ (ลาวโซ่ง) ชาวไทแดง ชาวไทเหนือ ชาวผุ้เอิน ชาวไทยวน (ลาวยวน) ชาวไทลื้อ ชาวไทพวน (ลาวพวน) ชาวไทกะเลิง ชาวไทญ้อ และ ชาวไทแสก (ลาวใช้ไทแซก)
               ประเทศจีน กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ในประเทศจีน ถือเป็นกลุ่มชาวไท-กะได นอกประเทศไทย-ลาว ที่มีจำนวนมากที่สุด โดยมากอาศัยในมณฑลยูนนาน กวางสี กวางตุ้ง กุ้ยโจว และไหหลำ ประกอบด้วย ชาวจ้วง ไทใหญ่ ชาวหลี ชาวไทลื้อ ชาวไทปายี่ ชาวไทย้อย (จุงเจีย ตฺเยน ตฺเรน หรือไดออย) ชาวตุลา (ตฺเรน) ชาวปุลาจีน ชาวปูลฺงจี ชาวไทเหนือ(ไทนู้) ชาวไทลาย(ไทน้ำ) ชาวไทหย่า ชาวไทนุง ชาวไทไขหัว ชาวไทชอง ชาวไทเขิน ชาวไทลื้อ ชาต้ง (อ้ายก๊า ปู้ก๊า ผู้คำ) ชาวสุย ชาวมูหล่าว ชาวเมาหนาน ชาวเก๋าหล่าว ชาวไทเอวลาย ชาวผู้ใย่ ชาวโท้ ชาวไทหย่า ชาวอูเอ ชาวไซ ชาวเดาลาว ชาวอี้ ชาวเอน ชาวฟูมะ ชาวตุเชนชาวเปเมียว ชาวปาเชน (กลุ่มเลือดผสมจีนป และ ขาวมิงเกีย (กลุ่มเลือผสมจีน)
               ประเทศพม่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได แบ่งออกเป็นสองสวน คือ ส่วนเหนือ และส่วนใต้ โดยส่วนใต้เป็นชาวไทยสยาม ที่อาศัยอยู่ในเขตตะนาวศรี โดยเฉพาะบริเวณชายแดน และจังหวัดเกาะสอง ซึงยังเป็นปัญหาไทยพลัดถิ่นอยู่ สำหรับส่วนเหนือ เป็นชาติไท-กะได กลุ่มอื่นๆ และไม่ได้มีปัญหาเรื่องชีวิตบนเส้นแบ่งเขตแดน โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย ชาวไทยใหญ่ ชาวไทลื้อ ชาวไทเขิน ชาวไทยอง ชาวไทเมา ชาวไทแลง ชาวไทคำตี่ ชาวไทพ่าเก ชาวไทยโยเดีย ชาวไทผิ่ว ชาวนะรา ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี
             
ประเทศเวียดนาม ส่วนมากอาศัยบริเวณลุ่มแม่นำ้ดำ-แดง ประกอบด้วย ชาวปูยี ชาวเกี๋ยน ชาวลาว ชาวไทลื้อ ชาวไทคำ ชาวไทขาว ชาวไทแดง ชาวไทนุง (ผู้นุง) ชาวไทใหญ่ (สานเชย์) ชาวถาย ชาวไทย ชาวม่าน ชาวโท้ ชาวเกลาว ชาวลาชิ ชาวละหา ชาวนาง ชาวไทญัง (ไส) ชาวไทไต่ ชาวไทชอง ชาวไทท้าวลาว ชาวไทลักกะ (ละเกีย) ชาวข่าลาว ชาวตูลาว ชาวควาเบียว (จาเบียว) ชาวโต๋ ชาวไทหล้า ชาวไทโส ชาวไทลา ชาวไทเชียง ชาวไทลาย ชาวไทฮ่างตง
             ประเทศอินเดีย ชาวไทในอินเดีย ส่วนมากอาศัยในรัฐอัสสัม และอรุณาจัลประเทศ ได้แก่ ชาวไทอาหม ชาวไทพาเก่ ชาวไทคำตี ชาวไทอ่ายตน (ไทอ้ายตน อ้ายตอน) ชาวไทคำยัง ชาวไทตุรง ชาวนะรา และชาวไทจันหารี
             นอกจากนี้ ในกัมพูชา และมาเลเซีย ยังมีกลุ่มชาติพันธู์ไท-กะได อาศัยอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ก่อนตั้งแต่ก่อนการเสียดินแดน เช่น ในพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ เกาะกง ไทรบุรี ประลิส กลันตัน และตรังกานู โดยกลุ่มนี้ประกอบด้วย ชาวลาว ไทยสยาม ไทยเกาะกง ไทยกลันตัน ไทย ประลิศ ไทยไทรบุรี ไทยเประ ไทยลังกาวี และยังมีชาว แซมแซม ซึงเป้ฯคนไทยผสมมลายู และนับถือศาสนอิสลาม อยุ่ทางตอนเหนือของมาเลเซีย และทางใต้ของไทยth.wikipedia.org/wiki/กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได
           
           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...