วันพฤหัสบดีที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Amphetamine Network in Thai Society

            ...เครือข่ายยาบ้าในสังคมไทย เป็นเครือข่ายขององค์กรอาชญากรรมที่มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจนในองค์กร การจัดระบบและวิธการดำเนินกาของเครือข่ายการผลิต เครือข่ายการนำเข้าลำเลียง และเครือข่ายการจำหน่าย จึงมีรูปแบบที่ชัดเจน มีลักษระของเครือข่ายเหมือนรากที่มีรากฝอยแตกออกมาเแลปลายรากฝอยเป็นเครือข่ายย่อยที่มีลักษระเป็นใยแมงมุม มีการกำหนดหน้ัาที่ความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลมีกาตัดตอนทั้งแนวดิ่งและแนวนอน โดยมีกาตัดตอนทุกขึ้นตอน ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของบุคคลที่เป้นนายทุนหรือหุ้นส่วนของเครือข่าย และผุ้ที่ทำหน้าที่ตัดตอนจะเป้นนายหน้าหรือผุ้ประสานงานหรือตัวแทนของเครือข่ายทุกคนในเครือข่ายจะได้รับผลประโยชน์จากการทำหน้าที่ทังส้ิน
               การจัดรูปแบบของเครือข่ายยาบ้าในสังคมไทยมีัลักษระป้นองคืกรอาชญากรรมที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องอาศัยการสืบสวนอย่างเป้นระบบจึงจะทราบว่าผุ้ใดทำหน้าที่อะไร ทุกคนมีัตัวตายตัวแทนคล้ายมีชีวิต พร้อมที่จะเขามาทำหน้าที่แทนตนเอง ทุกคนพร้อมที่จะเสี่ยงเพื่อผลประโยชน์ทั้งส้ินโดยผลประโยชน์ที่ได้รับจะเป็นจำนวนเงินที่สูงมาก เครือข่ายยาบ้าในังคมไทยจึงเป้นเสมือนเครือข่ายที่มีชีวิต มีการเคลื่นอไหวอยู่ตลอดเวลา โดยมีเป้าหมายในการเคลื่อนย้ายยาบ้าจากแหล่งผลิตไปยังผุ้เสพโดยปลอดภัยทั้งนี เพื่อให้ได้เงินซึ่งเป้นสิ่งที่ทุกคนในเครือข่ายต้องการ
               เครือข่ายในการผลิตยาบ้า
           
 - เตรือข่ายการผลิตในภาคเหนือ ปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดปัญหายาเสพติดในภาคเหนือคือ ปัญหาทางด้านการเมืงของประเทศเพื่อนบ้าน ประกอบกับกำลังพลของกองพล 93 อย่างไรก็ตาเมื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ทำการจับกุมกลุ่มผุ้ค้าเฮโรอีน ซึงเป้นตัวการสำคัญมกในยุทธการไทยเกอร์แท็บ และได้ส่งตัวการเหล่านี้ไปดำเนินคดีที่อเมริการ ตัวการในระดับรองลงไปก็ขึ้นมาแทนที่ ดดยได้มีการเปลี่ยนแปลงแนวทางในการผลิต โดยมีการผลติทั้งเฮโรอีนและยาบ้า ซึ่งประมาณปี พ.ศ. 2534 - 2535 กลุ่มผุ้ั้าเฮโรอีนได้นำนักเคมีขึ้นไปทดลองผลิตยาบ้า โดยเมื่อทดลองผลิตขึ้นมาได้ก็เก็บตัวนักเคมีไว้ เพราะว่าสัญญากันไว้ว่าจะแบ่งผลประโยชน์ให้ ในขณะเดียวกัน ตลาดของผุ้บริโภคยาบ้าเร่ิมมาขึ้นซึ่งส่วนมากแหล่งผลติยาบ้าจะมีฐานการผลติอยุ่ในบรเวณเดียกันกับโรงงานผลติเฮโรอีน โดยมีกาองกำังของกองพล 93 และกองพลที่ 95 ส่วนหนึ่งกลับเข้าไปอยุ่ในพม่า ซึ่งในขณะนั้นพม่ามีปัญหาทางด้านการปกครอง เร่ิมจะมีอิทธิพลของจีนคอมมิวนิสต์เข้ามา และพม่าเองก็ต่อต้านพวกกองกำลังที่ติดอาวุธ เมื่อกลุ่มคนพวกนี้เข้ามาแล้วปัญหาที่เข้ามากับตัวเขามีการดำเนินการต้ายาเสพติดมาด้วย ในเมื่อขายฝิ่นได้ ต่อมาก็ขชายเฮโรอีน ซึ่งมีกำไรมากขึ้นเพราะเข้าสูตลาดโกจนในปัจจุบันเป้นยาบ้า การที่เฮดรอีนเข้าสูตลาดโลกได้นั้เน ก็เพราะเชื่อสายคนจีนนั้นเอง เพราะคนจีนมีเชื่อสายลูกหลานทั่วดลกและใช้ภาษาเดียวกันวัฒนธรรมเดียวกัน ทุกสิ่งทุกอย่างคนจีนจะค้าขายเป้นหลัก กลุ่มผุ้ค้ายาเสพติดไมได้สนใจว่าเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาได้ค้าขายถูกหรือผิดกฎหมายเมื่อมีการผลิตยาบ้าขึ้นในบริเวณชายแดนไทย-พม่าที่ภาคเหนือก็ได้ทอดลองขาย ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันกับพวกขุน่าเร่ิมเสื่อมอำนาจ และมีกลุ่มใหม่พัฒนาขึ้นมา ซึงในตอนนั้นพวกนักเคมีพวกพ่อค้าก็จะต้องวิ่งไปหาพวกที่มีกองกำลังติดาวุธ เพื่อใช้อิทธิพลที่มีอยู่คอยคุ้มกันฐานการผลิตของตัวเอง การต้าของตัวเองต้องการความปลอดภัย ในจังหวะนั้นเองฐานการผลิตก็เร่ิมแบ่งออกมาเป็น 2 ทาง คือทางว้า และทางขุนส่าแต่จริงๆ แล้วผุ้ผลิตก็คือพวกเดิมกลุ่มเดิม แต่ว่าไปหาบารมีใหม่ เพราะว่าขุนส่าต้องวางอาวุธใหก้บรัฐบาพม่า ซึ่งในปัจจุบันบางส่วนได้ตกลงกับทางพม่าแล้วว่าการจัดการด้านภาษี ด้านการต้าจะทำอะไรอย่างไร มีเขตปกครองตรงไหนแน่นอน มีกองกำลังติดอาวุธแค่ไหน ขุนส่าก็กลับมาทำเหมือนเดิม และพวกที่ออกากขุนส่าไปอยู่กัว้าก็คือกลุ่มเดิมอีกดังนั้น ในขณะที่มีการจัดตั้งหมุ่บ้านตามชายแดนเพื่อเป็นกันชนให้กับไทย ก็มีหลายหมู่บ้าน เช่นหมู่บ้านทางแม่สลอง จังหวัดเชียงรายหมู่บ้านทางถ้ำงบ อำเภอเชียงดาว ที่กลุ่มคนพวกนี้อาเสัยอยู่ มีการ
พัฒนาการผสมกลมกลืนเป้คนไทย เหมือนชาวเขาโดยทั่วไป พวกนี้มีการสืบเชื้อสายข้าเผ่าพันธ์ุ โดยเฉพาะพวกลีซอ มูเซอ เพราะว่าง่ายต่อการที่จะได้สัญชาติไทย โดยเฉพาะพวกที่เป็นคนจีนแท้ๆ และไปรบให้กับรัฐบาลไทย ที่เขาค้า ที่ดอยผาตั้ง จ.เพชรบุรณ์ ก็จะได้สัญชาติไทยมาง่ายๆ พอได้สัญชาติไทยมาในเวลาเดียวกัน เขามีอาวุธอยู่ในมือมีความรู้ด้านชายแดนไทย ทั้งหมุ่บ้านใกล้เคียงก็มีความสัมพันธ์กันข้ามเผ่าพันธุ์ ในขณะเีดยวกันก็มีคามสัมพันธ์กับพวกเดียวกัย แบบเดี่ยวกันกับทางฝั่งพม่า ซึ่งในปัจจุบันเป้ฯเชื้อสายของรุ่นที่สอง รุ่นที่สามทให้กลุ่มคนพวกนี้มีเครือข่ายซึ่งเป้นเครือญาติของเขามีมีขนาดใหญ่มากโดยมีการเคลื่อยย้ายจากชายแดนเข้าสู่หมู่บ้าน จากเขาลงสูพื้นราบและถึงกรุงเทพฯ แล้ว ในแหล่งผลิตจะมีการเรียกทุน จะกำหนดแน่นอนว่าใครหุ้นส่วนเท่าไรปีหนึ่งประชุมกี่ครั้ง แบ่งเงินกันกี่ครั้งลงทุนเท่าไร ส่วนากจะเรียกหุ้นประมาณ 5-10 หุ้น โดยมีกาแบ่งความรับผิดชอบกันอย่างชัดเจน ทุกคนมีความรับผิชยอบเรื่องเงิน เคมีภฒฑ์ การผลิต การขนส่ง การตลาด ทุกสิ่งทุกอย่างแบ่งหน้าที่กันอย่างชัดเจน โดยเฉพาะมีการตัดตอนกัน ในการตัดตอนกันไม่มีกฎเกณฑ์ที่ตายตัว ข้างบนใช้ข้างล่าวได้ข้างล่างไม่รู้จักข้องบน เมื่อยาเสพติดเปลี่ยนมือ หรือมีการโอนเงินเปลี่ยนมือ สารเคมีจากประเทศผู้ผลิตเดนทางมาจนถึงแหล่งผลิต เมื่อเปลี่ยนมือทุกสิ่งทุกอย่าง จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ทุกส่ิงทุกอย่างถูกลำเลียงมาอย่างมิดชิดที่สุด มีค่าใช้จ่าย มีผลกำไร ทุกอย่างในการทำงานขององค์กรมีการตัดตอนกันตลอดทุกขั้นตอน เมื่อตั้งโรงงานเสร็จ จะต้องหาว่าจะอยู่ในเขตอิทธิพลของใครจะเป็นว้า ไทยใหญ่ ขุนส่า เมื่อถึงตรวนี้คิดว่าปลอดภัย เขาก็ผลติตยาบ้าขึ้นมาได้ โดยมีกองกำลังที่เขาจ่ายภาษีให้อยู่แล้ว กองกำลังพวกนี้จะทำไน้าที่คุ้มกันการผลิต หลังจากนั้นเมื่อผลิตได้บางครั้งยังไม่จ่ายเงินให้กองกำลัง แต่กองกำลังก็ใช้วิะีการเอายาเสพติดมาเก็บไว้ในโกดังของตนเอง เพื่อที่ว่าถ้ากลุ่มผุ้ผลิตได้จะเอา
ไปขายให้ใคร พอขายได้ก็มีการนัดมอบสงของตรงไหนอย่างไร บริเวณชายแดนไหน  หมู่บ้านไหน ที่เป้ฯแนวร่วมของกลุ่นี้ ก็ใช้พวกกองกำลังนี้ในการขนย้ายให้ เมื่อขนย้ายถึงจุดส่งของก็มีการจ่ายเงินกันทุกสิ่งทุกอย่างก็จะเกื้อหนุนกัน เมื่อมาถึงลูกค้าคนที่หนึ่งบริเวณชายแดนในหมุ่บ้านไทย หลังจากนั้นก็จะมีการทำหน้าที่ออกไปอีกว่าใครไปติดต่อลูกค้าทางกรุงเทพฯ ติดต่อลูกค้าต่างประเทศเป้นใคร ก็จะมีการแบ่งหน้าที่กันไป ในระบบของการผลิตยาบ้าดังที่ทราบกันแล้วว่า พวกว้าและม้งก็คืออดีตจีนกองพล 93,95 ซึ่งพวกนี้ผ่านประสบการณืในการสู้รบมามาก ก็ใช้ประสบการณ์เดิมที่เคยทำงานด้านข่าวลับมาจัดตั้งเป็นข่ายงาน ในขณะเดียวกันการจัดตั้งอย่างเป้นระบบดดยอาศัยประสบการณ์ที่เคยเรียนรู้จากการฝึกทำการรบ ม้งได้มีการจัดตั้งกองทุนหรือสมาคมของตนเองขึ้น เครือข่ายของม้งและว้าส่วนหนึ่งก็คืออดีตทหารรับจ้างของเราที่ช่วยฝ่ายทหาารรบกับคอมมิวนิสต์ ที่ จ.เพชรบูรณ์ ดังนั้น ความรุ้ที่ได้จากการฝึกของทหารถุกนำไปใข้ในการจัดตั้งองค์กรของตนเอง โดยในปัจจุบันเครือข่ายของม้งและว้า จะอยุ่ทั้งในระดับชุมชน ระดับจังหวัด มีตัวตายตัวแทนอยู่แทบท้งสิ้น ในปัจจุบันตัวแทนในต่างประเทศของม้งก็มีการจัดตั้งอยุ่เช่นกันการจัดตั้งของระบบเครื่อข่ายจึงเป้นระบบที่นับวันจะมีความเข้มแข็งขึ้นอย่างเห้ฯได้ชัดเพราะหากดูราคายาบ้าที่ต้นทางและปลายทงแล้วพบว่า ถ้าปลิตเองจริง ๆ ต้นทุนเม็ดละ 7-12 บาท แล้วก็ส่งไปขายตั้งแต่ 50-80 บาท ซึงตรงนี้ส่วนต่างค่อนข้างมาก โดยคุณลักษณะของม้งแล้วจะไม่แบ่งให้คนอื่นทำ จะทำเอง ถ้าถุกจับติดคุกก็ดูแลกันดดยการใช้เงินจากกองทุนหรือสมาคมที่ตนเองเป็นสมาชิกอยู่ โยจะมีการดูแถึงสมาชิกในครอบครัว....
            - เครือข่ายการผลิตในภาคตะวันออกเแียงเหนือ ในพื้นที่ทางภาคอีสานจะมีการผลิตแบบง่ายๆ โดยการเอายาบ้าจริงเข้ามบดใหม่และก็มีการผสมเซตามอล และแป้งโดยมีอุปกรณ์การผลติที่สร้างขึ้นเอง ผลิตได้ที่ละ 4-5 เม็ด เป็นการผลิตเพื่อมุ่งหวังผลกำไรเล็กๆ น้อยๆ มากกว่าเป็นการผลิตโดยเครื่องจักรโรตารี่ ซึ่งการทำในภาคอีสานค่อนข้างเสี่ยง เพราะในภาคอีสานมีคนไทยภูเขาอาศัยอยุ่น้อยมากในขณะเดียวกันยาบ้าที่ฝั่งลาวจะมีราคาถูก จึงไม่มีความจำเป็นที่จะต้องลงทุนตั้งแหล่งผลิตในพื้นที่ภาคอีสาน แต่อาจมีแหล่งผลิตขนาดเล็กที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว ผลิตเสร็จก็เคลือนย้ายหนีไปทันที่ ดดยอาจจะมีอยู่แถวเขตอ.ปากช่อง อ.สีคิ้ว  ซึ่งเป้นพื้นที่ที่เป็นภูเขาติดต่อกับ จ.ลพบุรี บริเวณกิ่งอำเภอลำสนธิ ในขณะเดียวกัน
จากการที่ผุ้ค้ายาบ้าในจังหวัดสระบุรี ได้ร่วมกับผุ้ค้ายาบ้าในจ.นครราชสีมาต้องการกำไรเพิ่มขึ้นจากการค้ายาบ้า จึงได้ร่วมมือกันซื้อเครื่องปั้มตัวยามาอัดเม็ดเอง โดยผลติตได้ที่ละห้าถึสิเม็ด เป็นเครื่องปั้มไฮโดตลิก และถูกจับได้ประมาณห้าปีที่แล้ว ในเขตอำเภอปากช่อง ส่วนใหญ่กลุ่มผุ้ผลิตจะมีเครื่อข่ายที่สามารถจะรับคำสั่งซื้อจากนักค้าในพื้นที่และนอกพื้นที่ ดดยกลุ่มผุ้ผลิตในภาคอีสานพัฒนาการจากนักค้าธรรมดาไปสู่นักค้ารายใกญ่ เมื่อมีลูกค้ามากขึ้น เครือข่ายมากขึ้น ยาบ้าที่จะตค้องส่งให้ลูกค้าวันๆ หนึ่งประมาณเหมื่นหรือแสนเม็ด กลุ่มคนพวกนี้ต้องพัฒนาตนเอง แทนที่จะต้องไปขนยาบ่อยๆ เสี่ยงต่อการถูกจับกุม ก็คิดหาวิะีการที่จะผลิตดเอง โดยการหาสาถรนที่ที่เหมาสม เช่นในพื้นที่ที่เป็นป่าเขา
          - เครือขายการผลิตในภาคกลางและภาคตะวันออก ยาบ้าในยุคเริ่มแรกมีฐานการผลิตอยุ่ภาคกลาง
ความเชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายภาคหรือและภาคตะวันออก
แต่ในปัจจุบันบานการผลิตได้ย้ายมาอยุ่ตามแนวชายแดนไทยพม่า เพราะว่าในสมัยก่อนการเดินทางจากแม่สายไปเชียงตุงต้องใช้เวลาเป้นอาทิตย์ แต่ในปัจจุบันเส้นทางการคมนาคมสายยุทธศาสตร์สะดวกขึ้น เครื่องมืออุปกรณืในการผลิตเอาลงมาจากจีนได้สะดวก หัวชื้อน้ำยาก็เอาลงมาจากจีนได้สะดวกเช่นกันเส้นทางคมนาคมดีมีความปลอดภัย จึงย้ายฐานการผลิตไปอยู่ทางภาคเหนือ การผลิตที่เกิดขึ้นนภาคกลางส่วนใหญ่จะเป็นการผลิตที่ผลิตด้วยมือครั้งละ 5-10 เม็ด ซึงการผลิตในภาคกลางจะมีความเสี่ยงสูงกว่าทางภาคเหนือเพราะประชาชนในภาคกลางส่วนใหย่ไม่เ็นด้วยกับพวกพ่อค้ายาเสพติด ถ้าทำการผลิตยาบ้าเมื่อมีกล่ินออกมา หากชาวบ้านทราบก็จะให้ความร่วมมือจ้งเาะแสแก่ตำรวจ จะคอยเป็นหูเป้นตาให้ตำรวจ ถ้าเป้นแหล่งผลติขนาดใหญ่ กลุ่มผู้ผลิตก็จะเป็นกลุ่มเดียว เครือข่ายเดียวกันกับทางภาคเหนือ เพราะผุ้ที่ถุกจับกุมได้ส่วนใหญ่เป้ฯชาวไทยภูเขา แม้ว่าในปัจจุบันแหล่งผลิตในภาคกลางจะไม่ค่อยพบแล้ว แต่กลุ่มผุ้ผลิตกลุ่มดั้งเดิมก็ยังมีตัวตนอยู่ หากมีโอกาสที่เหมาะสม มีความปลอดภัยก็จะเดิกการเคลื่อนไหวเพื่อผลิตยบ้าออกมาสู่ตลาดได้
       
 - เครือข่ายการผลิตในภาคใต้ ในพื้นที่ภาคึใต้จะพบแหลงผลิตน้อยมา กส่วนใหย่ภาคใต้จะรับยาบ้ามาจากทางาคเหนือแล้วจัดจำหน่ายทันที่หากมีการผลิตค ก็จะผลิตที่บริเวณแถบแนวชายแดนจังหวัดชุมพร อ.ท่าแซะ บริเวณชายแดนพม่า เมื่อผลิตเสร็จก็จัดจำหหน่ายโดยส่งเข้ามาในพื้นที่ โดยมีกระบวนการจัดส่งให้แก่ลุกค้าประจำ โดยผุ้ผลิตจะอยู่แล้วว่าจะจัดส่งหให้กับผุ้ใดบ้าง เป็นการผลิตตามความต้องการของลูกค้า


         "เครือข่ายยาบ้าในสังคมไทย : ศึกาาจากประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ปราบปรามยาเสพติด" พ.ต.การุณย์ บัวเผื่อน, วารสารพัฒนาบริหารศาสตร์ ปีที่ 43 ฉบับที่ 2/2546.

วันพุธที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Most Wanted

             ตามประกาศจับ 25 นักค้ายาเสพติดของศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด (ศพส.) สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ตั้งเงินรางวัลนำจับรวมกันสูงถึง 12 ล้านบาท ตอไปนี้คือ ห้าอันดับที่มีหัวในการนำจับสุงสุด
           
1. นายอุสมาน มีพื้นเพอยู่ใน จ.นราธิวาส มีเครือข่ายกว้างขวางเชื่อมโยงระหว่างภาคเหือ-ภาคใต้ และมาเลเซีย ถูกศาลจังหวัดหนองคายออกหมายจับ ในปี 2548 ในข้อหารร่วมกันนำเข้าและครอบครองเพื่อจำหน่ายยาบ้า ปัจจุบันอุสมานกบดามอยู่ใน ต.ก้าวเล้ยว อ.สีโคตรบอง กำแพงนคร เวีัยงจันทน์ ประเทศลาว และยังคงลักลอบส่งยาเสพติดเข้ามาจำหน่ายในประเทศทไย โดยนำเงินรายได้ก้อนโตจาการต้ายาเสพติดให้การสนับสนุนขบวนการแบ่งแยกดินแดนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
            2. นายหน่อคำ หรือจายบุญ หรือจายหน่อคำ หรือหนานคำ ชาวไทยใหญ่ สัญชาติพม่า ผุ้ต้องหาตามหมายจับศาล ศาลจังหวัดเชียงราย ในปี 2547 ในข้อหารำเข้าและครอบครองเพื่อจำหน่ายยาเสพติด ล่าสุดนายหน่อคำ โดดคำสั่งตัดสินประหารชีวิตโดยศาลจีน ในคดีฆ่า 13 ศพลอยลำน้ำโขงอันเป็นข่าวลือลั่น...
              หน่อคำ เป็นอดีตทหารไทยใหญ่ กองทัพเมือไต (MTA) เคยเป้นคนสิทของขุนส่า อดีตราชายาเสพติดโลก ภายหลังขุนส่ามอบตัวกับทางการพม่า นายหน่อคำก็เข้าเป้ฯอาสาสมัครทหารพรานพม่า มีบทบาทสำคัญในการค้ายาเสพติดในพื้นที่ จ.ท่าขี้เหล็ก โดยเป้นทั้งเจ้าของโรงงานผลิตอัดเม็ดยาบ้าและนายหน้าจัดหายาเพติดเข้าไทย
             หน่อคำ เป็นที่รู้จักทั่วทั้งภูมิภาคในฉายก "โจรสลัดแม่น้ำโขง" มีพฤติการณื้ายาเสพติดเรียกเก็บค่าคุ้มครอง ค่ผ่านแดนในการลำเลียงยาเสพติด และปล้นชิงยาเสพติดจากเรือลำเลียงยาเสพติดในแม่น้ำโขงรวมทั้งซุ่มโจมตีเรื่อเจ้าหน้าที่ทางการพม่าและจีน บ่อยครั้ง เกิดเหตุการณ์ยิงปะทะและปล้นเรือที่สามเหลี่ยมองคำ 15 ครั้ง มีผุ้เสียชีวิต 29 คน บาดเจ็บ 11 คน ส่วนใหญ่เป็นฝีมือของกลุ่มนายหน่อคำ
 3. นายชัยวัฒน์ พรสกุลไพศาล หรือ พ.ท.ยี่เซ อายุ 68 ปี ผู้ต้องหาตามหายจับศาลอาญาในปี 2546 อดีตเป็นทหารของขุนส่า คุมพ้นที่ด้านตรงข้ามบ้านผาฮี้ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ปัจจุยันเป้ฯหัวหน้าอาสาทหารพม่า เชื้อสายมูเซอ อาศัยอยู่ที่บ้านน้ำปุ๋ง มีพื้นที่อิทธิพลและแหล่งผลิตยาเสพติดที่บริเวณบ้านน้ำปุ๋งใหม่ บ้านสามปี ฝั่งพม่า ตรงข้าม ต.เทอดไทย อ.แม่ฟ้าฟลวง จ.เชียงราย เมื่อ เดือนธันวาคม ปี พ2546 กองกำลังผาเมือง กองทัพภาค 3 สนธิกำลังกับตำรวจปราบปรามยาเสพติด ตำรวจภูธรภาค 5 และ ป.ป.ส.บุกปิดบ้อมพื้ที่เป้าหมายรวม 18 จุด ใน จ.เชียงราย และเชียงให่ แต่ไม่พบตัว แต่สามารถยึดทรัพย์สินได้กว่า 10 ล้านบาท
         4. นายเมธี หรือประยุทธ แดนชุติมาพาณิชย์ หรือ เมธี หงษาคำ หรือเช่าหัว แซ่หลี หรือลี้ หรือลี้ไทฮัว หรือ ตั๊ว แสนโซ่ง อายุ 47 ปี ผู้ต้องหา ตามหายจับศาลอาญาหรุงเทพใต้ เมื่อปี 2546 นายเมธี ทำหน้าที่เป้นคนกลางระหว่างผู้ผลิตกับนักค้ายาในพื้นที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ มีนาคม 2543 ตำรวจ บช. ปส. และเจ้าหน้าที่ ป.ป.ส. จับกุม นายวิทยา วิเชียรก้องการ กับพวก และยึดยาย้าได้ สองล้านเม็ดเศษ จากการสอบสวนให้การซัดทอดถึงนายเมธี ต่อมา ปี 2546 ตำรวจ ป.ป.ส. สามารถติดตามจบกุมตัวได้และแจ้งข้อหารดำเนินคดีฐานสนับสนุให้มีการต้ายาเสพติด แต่สามารถหลบหนีไปได้
         www.komchadluek.net/news/crime/129853
5. พล.ต. นะคะมวย หรือ พ.อ. นะคำมวย หรือ คำมวย หรือ นะคอมุย หรือ นาคะมวย หรือ นะคำมุย หรือ คามวย หรือนะคะมุย หรือ นาคะมุย ซอ ลา บเว ผุ้ต้องหาตามหายจับศาลอาญาจ้อหาครอบครองเพื่อจำหน่าย และจำหน่ายยาล้ ีพฤติการร์ลักลอบนำเข้ายาเสพติดจาพม่าด้านตรงข้าม อ.แม่สอด จ.ตาก และสังขละบุรี จ.กาญจนบุรี เข้าไทย ทางการข่าวเชื่อว่าเป็นเจ้าของยาบ้า 9.4 ล้านเม็ด ซึ่งฝ่ายปกครอง อ. แม่สอด จ.ตาก และทหาร ฉก.ร. 4 ตรวจยึดได้เมือ ตุลา ปี 2546
        และนี้คือโฉมหน้า Top 5 นักค้ายาเสพติดที่ทางการไทยต้องการต้วมากที่สุด และเมื่อเป็นข่าวไปไม่นานกับคดีดังกะฉ่อนโลกคือ ฆ่า 13 ศพกลางลำน้ำโขง ซึ่งเชื่อกันว่า และสืบทราบว่าเป็นฝีมือของ หน่อคำ หรือ "โจรสลัดแห่งลำน้ำโขง"นั้นเอง
         ในรายงานสรุปผลการศึกษา กรณีฆาตกรรมลูกเรือสัญชาติจีน 13 ศพ ในลุ่มแ่น้ำโขง จ.เชียงราย ทั้งของคณะกรรมาธิการ (กมธ.) ความมั่นคงแห่งรัฐ สภาผุ้แทนราษฎรชุดที่มีนายการุณ โหสกุล เป้นประธาน และของ กมธ. การต่างประเท สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่มีนายสุนัย จุลพงศธร เป้นประธาน
          แม้เรื่องหลักจะอยุ่ที่การสืบหาสาเหตุการเสียชีวิตลูกเรือจีน จากเรือสัญชาติจีน 2 ลำ "ยูชิงปาฮ่าว" และ "หัวผิง" ที่เกิดขึ้นในน่านน้ำไทย เมื่อปลายปี 2554 แต่เนื่องจากบนเรือท้ง 2 ลำ มีการพบบาบ้ารวม 9.2 แสนเม็ด ทำหให้เรื่องดังกล่าวโยงไปถึงประเด็นกาต้ายาเสพติด ในพื้นที่ "สามเหลี่ยมทองคำ" บริเวณลำน้ำโขงที่ไหลผ่านรอยต่อ 4 ประเทศ ได้แก่ จีน, พม่า, ลาวและไทย เป็นเหตุให้ชื่อของ " 2 ราชายาเสพติด" ถูกเขียนไว้ในเอกสารราชการไทยซึงจัทำโดยตัวแทนปวงชนชาวไทยด้วย
         
เหยื่อฆาตกรรม ลำน้ำโขง
 คนแรกคือ "หน่อคำ" และคนที่สองคือ "จ้าวเหว่ย"
            ในรายงานของ กมธ.ต่างประเทศ... เขียนโดยอ้างข้อมุลจาก "สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด(ปปส.)" ว่า ในพื้นที่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ (แม่น้ำโขง) เป้นเส้นทางลำเลียงยาเสพติดและเคมีภัณฑ์ของกลุ่มว้าโดยใช้เรือสัญชาติจีนในกาลำเลียง ทั้งนี้เนื่องจากประเทศพม่าใช้ทหารลาดตระเวนทางบกจึงทำให้การขนส่งค่อนข้างยากลำบาก ซึ่งในปัจจบุันมีกลุ่มควบคุมการต้าการลำเลียงยาเสพติด 2 กลุ่มใหญ่ คือ
           1. กลุ่มหน่อคำ โดยมีนายหน่อคำเป้นหัวหน้ากลุ่ ซึ่งเคยเป็นอดีตทหารสมัยขุส่า และอดีตหัวหน้ากองกำลังอาสาสมัครภายใตกำกับกองทัพพม่า โดยมีการลักลอบขนยาเสพติดโดยตลอดและเจ้าหน้าที่ไทยจับกุมได้หลายครั้งพร้อมทั้งได้มีการออกหมายจับด้วย
            ขณะนี้นายหน่อคำได้หลบหนีไปอยู่บรเวณเหนือบ้านโป่ง อ.เมืองพง จ.ท่าขี้เหล็ก ประเทสพม่า และมีการเคลื่อนไหวอยูบริเวณชายแดนประเทศพม่า-ลาว
            กองกำลังของหน่อคำ เป็นกองกำลังขนาดย่อมพร้อมอาวุธเบา มีสมุนแระมาณ 40-50 คน ปัจจุบันนายหร่อคำได้มีพฤติกรรมเป็นโจรสลัดแม่น้ำโขง คือปล้นยาเสพติดเพื่อนำมาขายในประเทศไทยและลาว เรียกค่าไถ่เรือสินค้า เรียกค่าคุ้มครองจากเรือสินค้าและซื้อขาอาวุธสงคราม
          2. กลุ่มจ้าวเหว่ย โดยมีนายจ้าวเหว่ยเป็นหัวหน้ากลุ่ นายจ้าวเหว่ยเป็นคนจีนเซี่ยงไฮ้ โดยปัจจุบันได้เปิดกิจการบ่อนคาสิโน "คิงโรมัน" ในเขตเมืองตันฝั่ง แขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
เหยื่อฆาตกรรมลำน้ำโขง
          กลุ่มจ้าวเหว่ยมีพฤตกรรมค้ายาเสพติดโดยอาศัยเรือสินค้าจีนบางกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรือมีมีตัวอักษรภาษาอังกฤษ Y ปรากณอยู่ ซึ่งจากเหตุการณ์เรือสัญชาติจีนที่โดนยิงมมีตัวอักษรภาษาอังกฤษ Y ปรากฎอยู่เช่นกัน
           การจ้างเรือสินค้าจีนขนยาเสพติดของกลุ่มจ้าวเหว่ยนั้น จะจ้างขนสินค้าจากท่าเรือสบหลวย(เขตอิทธิพลของกลุ่มว้า) ประเทศพม่า โดยลำเลียงยาเสพติดขึ้นบริเวณเมืองตันผึ่ง แล้วนำไปเก็บไว้ในบ่อนคาสิโนคิงโรมัน หลังจากนั้นจึงลำเลียงสินคาเกษตร/ผลไม้ไปยังท่าเรืองเชียงแสน
           "กลุ่มจ้าวเหว่ยเป็นกลุ่มที่ถุกลุ่มหน่อคำเรียกค่าคุ้มครอง ซึ่งต่อมาภายหลังกลุมหนน่อคำได้เรียกค่าคุ้มครองเพิ่มขึ้นเรือยมา ตั้งแต่ปี 2550 เป็นเหตุให้เมื่อ ร.ต.อ. เฉลิม อยู่บำรุง รองนายกรัฐมนตี ขณะน้น เดินทางไปมอบนโยบายปราบยาเสพติดที่ จ. เชียงราย กลุ่มจ้าวเหว่ยจึงวางแผนยัดยาให้กับกลุ่มหน่อคำเป็นเหตุให้ลูกน้องนายหน่อคำโดยจับกุมไปหลายคน อีกทั้งนายจ้าวเหว่ยได้ตั้งค่าหวนายหน่อคำ 50 ล้านบาท และได้ว่าจ้างคนพม่าและลาวระดมยิงกลุ่มหน่อคำเป็นเหตุให้กลุ่มหน่อคำมีความแค้ต่อกลุ่มจ้าวเหว่ยเป็นอย่างมาก"...
           รายงานของ กมธ. ความมั่นคงแห่งรัฐ ..เขียนไว้ว่า การลำเลียงสินค้าระหว่งไทย-จีน ด้วยการแล่นเรือตามร่องแม่นำ้โขง มีเกาะธรรมชาติอยู่เกาะหนึ่งที่สร้างปัญหาต่อากรเดินเรือเป็นอย่างมก คือ "เกาะดอนเรือง" เนื่องจากสภาพภูมิประเทศไทด้แบ่งลำน้ำโขงเป็น 2 ลำน้ำ ส่วนหนึ่งที่ตื้นเขินอยุ่ในประเทศลาวใช้เดินเรือไม่ได้ เรือทุกลำจึงถูกบังคับให้เดินเรือในฝั่งพม่า ซึ่งยาวประมาณ 5 กิโลเมต และบริเวณลำน้ำนี้จะเป็นจุดที่มีกองกำลังซุ่มอยู ได้แก่ ทหารพม่า กลุ่ม BGFและกลุ่มนายหน่อคำwww.isranews.org/isranews-scoop/8051--2--sp-373148022.html
            เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2555 สถานีโทรทัศน์จีน CCTV รายงานว่า ทากงารลาวได้ส่งมอบตัวนานหน่อคำ อายุ 44 ปี อดีตสมุนขุนส่า ผู้ต้องหาค้ายาเสพติดรายใหญ่และเป็นผุ้ตองสงสัยคดีสังหารลูกรือจีน 13 ศพในแม่น้ำโขง ให้แก่ทางการจีนอย่างเป้นทางการแล้ว โดยทางการลาวได้ลงนามบันทึกข้อตกลงในการส่งตัวหนือคำให้ประเทศจีน และเมื่อพธีลงนามบันทึกข้อตกลวเสร็จสิ้น ประเทศลาวได้ส่งตัวหน่อคำขึ้นเครืองบินเดินทางจากกุงเวียงจันทร์ ไปพิจารณาคดในประเทศจีนทันที
          ทั้งนี้ นายหน่อคำ ถูกทางการลาวจับกุมตัวได้โดยการจับกุ่มเกิดขึ้นหลังการสังหารลูเรือจีน 13 ศพ ในแม่น้ำโขง ซึ่งเชื่อกันว่าหน่อคำ อยู่เบื้องหลัง และการจับกุมเกิดขึ้นไม่กี่วัน หลังทางการไทย โดย ร.ต.อ. เฉลิม อยุ่บำรุง รองนายกรัฐมนตรี นฐานะผุ้อไนวยการศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ (ผอ.ศพส.) แถลงข่าว "ประกาศจับนักค้ายาเสพติดรายสำคัญ" Most Wanted จำนวน 25 ราย ตั้งรางวัลนำจับ 12 ล้านบาท ในจำนวนนี้มีชื่อนายหน่อคำ รวมอยุ่ด้วย โดยถูกคั้งค่าหัวไว้ 2 ล้านบาทprachatai.com/journal/2012/05/40463
         
 ..ศาลประชาชนกลางของจีนเริ่มกระบวนการฟ้องร้องต่อนายหน่อคำและผู้ต้องหาอีก 6 คน ในข้อหาฆาตรกรรมโดยเจตนา ค้ายาเสพติดลักพาตัวและปล้นเรือจีน
             โดยนายหน่อคำให้ปากคำเป็นภาษาไทยใหญ่ กล่าวว่า ผมชื่อหน่อคำจากประเทศพม่า อายุ 44 ปี ถูกจับกุมเพราะวางแผนและฆ่าลูกเรือจีน 13 คน ในแม่น้ำโขงเมื่อวันที่5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ที่ลงมือไปเพราะเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2554 เรือสองลำนี้บรรทุกทหารพม่าไปโจมตีฐานทัพของพวกเราผมจึงต้องการแก้แค้น นายหน่อคำ ให้การรับสารภาพต่อไปว่า มีสมาชิก 40 คน โดยอาวุธส่วนหใญ่เป็นปืนแม็กกะซีนเอ็ม 16 และปืนพก อีกทั้งยังได้วางแผนและทำการฆาตรกรรมหมู่โดยสมาชิก 5 คน จากนั้นพวกเขายังป้ายความผิดให้ทหารไทยซึ่งคิดว่าเรือจีนดังกล่าวบรรทุกยาเสพติด เพื่อช่วยปกปิดร่องรอยการฆาตกรรม...hilight.kapook.com/view/76354
             ศาลประชาชนคุนหมิง ( 1 มี.ค. 2556) รายงานว่าเมื่อเวลาเที่ยววัน (ตามเวลาท้องถิ่น) เจ้าหน้าที่เรือนจำคุนหมิง ได้ประหารชีวิต หน่อคำและสุมน 3 คน นกโทษคดีฆาตกรรมลูกเรือจีน 13 ศพ ค้ายาเสพติด ลักพาตัว และปล้นเรือจีน ได้ถูกประหารชีวิตด้วยการฉีดยาพิษให้ถึงแก่ความตายแล้ว ที่เรือนจำเมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน
              ทั้งนี้ CCTV ได้รายงานสดเหตุการณ์ ที่เรือนจำคุรหมิง ก่อนหน้าชั่วโมงประหารชีวิต เผยให้เห็ภาพนายหน่อคำขณะถูกนำตัวไปสู่เตียงประหารดชีวติด้วยการฉีดยาฯ ซึ่งถือเป็นกรณีพิเศษ เพราะปกติทางการจีมักจะไม่ได้เผยภาพนักโทษประหารเหล่่านี้ในวันประหารฯ...manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9560000025924
         
         

วันอังคารที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Bann hin tak

             "พิพิธภันณ์บ้านหินแตก" หรือฐานที่มั่นของกองกำลังขุนส่าในอดีต และยังคงหลงเหลือร่องรอยแห่งการต่อสุ้ที่ยาวนา แข็งแกร่ง มั่นคง และมีมนต์ขลัง เต็มไปด้วยกลิ่นอายของการต่อสู้ ที่ประากฎอยุ่ตามโรงเรือนฝึกทหาร โรงครัว คุกิดน สถานที่ประชุมก่อนปฏิบัติการแต่ละครั้ง รวมไปถึงบ้านพักของขุนส่าบนเนื้อที่ 12 ไร่ ณ สถานที่แห่งนี้เมื่ออดีตจะมีกองกำลังของขุนส่าประจำอยู่ 2,000 คนทุกๆ 6 เดือนจะมีกองกำลังผลัดใหม่จากพม่าผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนมาฝึกยุทธวิธี ก่อนจะกลับไปปฏิบัติการตามฐานที่มัี่นต่างๆ สถานที่ที่ครั้งหนึ่งเต็มไปด้วยผุ้คน มาบันนี้กลับว่างเปล่า มีเพียง "เครือเดือน ตุงคำ" นักวิจัยท้องถ่ินและเจ้าหน้าที่โครงการพัฒนาดอยตุง อยู่ดูแลในฐานะผู้เก็บรวบรวมข้อมุลเกี่ยวกบขุนส่าเอาไว้ในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้
               ขุนส่า เกิดเมือ่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2477 (1934) ที่บ้านผาผึ้ง ต.ดอยหม่อ อ อ.เมืองใหญ่ จ.ล่าเสี้ยวแคว้นแสนหวี (รัฐฉาน) เป็นบุตรของขุนอ้าย (จีน) กับนางแสงชุ่ม (ไทยใหญ่) ขุนอ้ายเป็นอดีตมะโยจา(กำนัน) ดอนหม่อ จึงมีคำนำหน้าว่า "ขุน" เครือเดือน อธิบายว่าหมายถึงคนที่สืบเื้อสายมาจากตระกูลชาวไทยใหญ่ ขุนส่าเกิดได้ไม่นานพ่อก็เสียชีวิต แม่แต่งงานใหม่ จงตกไปยุ่ในความดูแลของพ่อเลี้ยง
              ตอมา "ขุนยี่" ปู่ได้นำขุนส่าไปเลี้ยงที่เมืองดอยหม่อ ซึงเป้นช่วงที่เกิดสงครามโลครั้งที่ 2 เขาจึงได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ ตั้งแต่รเื่องภาษาจีน การเลี้ยงม้า ผสมพันธืม้า ล่อ รวมไปถึการปลูกข้าว ไร่ชา ตลอดจนไร่ฝิ่น เมื่อโตเป้นหนุ่ม "ขุนจ่า" ผุ้เป็นอาได้สอนยุทธวิธีการต่อสู้และปรัชญาชีวิต "ยอมหักไม่ยอมงอ" เพื่อไม่ให้ถูกทหารญี่ป่นุ พม่า หรือแม้แต่ทหารก๊กมินตั้ง (เคเอ็มที) กองพล 93 รังแก แต่กระนั้นเขาก็ยังจำภาพความโหดร้ายเมื่อรั้งหมุ่บ้านถูกปล้นสะดมไ้ติดตา
              กระทั่งปี 2491-2505 พม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษ ขุนส่าจึงรวบรวมสมัครพรรคพวกต่อต้านขับไล่ทหารก๊กมินตั้ง ที่เข้ามารุกรานชาวไทยใหญ่ โดยได้รับการสนับสนุนเรื่องค่าใช้จ่ายในการสู้รบจากการปลูกฝิ่นและขายฝิ่น จึงเป็นจุดเร่ิมต้นที่ทำให้ช่อของขุนส่าก้าวขึ้รมาอยู่แถวหน้าของขบวนการปลดแอกไทยใหญ่
              "กองกำลังเขาเเข็งแกร่งขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อทางการพม่าต้องการตอบโต้ทหารก๊กมินตั๋งจึงจับมือกับขบวนการปดแอกไทยใหญ่ใช้ชื่อว่า กากวยเย (KKY) หรืออาสาสมัคร แต่ขุนส่าเองก็ถูกลอบทำร้ายหลายครั้ง ครั้งที่โด่งดังที่สุดก็คือช่วงสงครามฝิ่น เมื่อวันที่ 6-9 กรกฎาคม 2510 ทหารก๊กมินตั๋งวางแผนถล่มขุนส่าที่บ้านขวัญ ประเทศลาว" เครือเดือน เปิดลิ้นชักความรู้..ไม่นานขุนส่าก็ขยายอาณาเขตด้วยการต้งฐานที่มั่นอยู่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า-ลาว ซึงขณะนั้นยังเต็มไปด้วยป่าเขายากแก่การเข้าปกครองของทางการ ปี 2506 กองกำลังติดอาวุธของขุนส่าก็เข้ามาบุกเบิกบนดอยหินแตก ภายหลังเกิดไข้ป่าระบาดผุ้คนลามตายลงจำนวนมาก...เครือเดือน อธิบายว่าสาเหตุที่ขุนส่าเลือกเอกบ้านหินแตกเป็นฐานที่มั่น ก็เพราะบ้านหินแตกเป็นที่ที่ชาวไทยใหญ่อพยพเข้ามาตั้งรกรากอยู่ก่อนแล้ว เป็นที่พักแรมของบรรดาพ่อค้าวัว และยังเป็นจุดศูนย์กลางการต้าระหว่งรัฐฉานกับรัฐโยนก ไม่นานนักบ้านหินแตกก็เจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการสรี้างโรงพยาบาล สร้างโรงเรียน บูรณะซ่อมแซมวัดวาอารามต่างๆ โดยนำเงินที่ได้จากการขายฝิ่นมาสร้างสิ่งเหล่านี้
           
  ขุนส่าลักลอบขนฝิ่นจาก รัฐฉานมายังบ้านหินแตก ด้วยการปะปนมากับคาราวานม้าต่างๆ ของพ่อค้านายทุน จากฐานที่มั่นเมืองดอยหม่อเข้าเมืองต้างยาน บ้านผาผึ่ง บ้านหนองคำ ข้ามแม่น้ำสาละวินที่ทาวันนอง ปากันฮ่อก ข้ามถนนใหญ่เส้นทางเชียงตุง-ตอง จีที่เมืองเปีียง เข้าเมืองขอน เมืองปั๊ก เมืองลุงข้ามแม่น้ำสายเข้าประเทศไทยที่บ้านผาจี ห้วยอื้น บ้านหินแตก เขาทำการต้ายาเสพติดมานานและด้วยปริมาณที่มากมายที่กระจายไปทั่วโลก ชื่อของขุนส่าจึงติดอนดับราชายาเสพติดโลกในชัวเวลาไม่นานเมื่อขุนสามาสร้างหลักปักฐานอยู่ที่บ้านหินแตก ทางการพม่าก็เร่ิมไม่ไว้วางใจราชายาเสพติดโลกคนนี้เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับรัฐบาลไทยมีนโยบายปราบปรามยาเสพติดให้หมดไปจากราชอาณาจักร โดยได้รับความช่วยเหลือจากองค์กรสหประชาติ การกวาดล้างผลักดันครั้งใหญจึงเกิดขึ้น
            ขณะที่ทางการพม่าเองก็พยายามกัน ตัวเองให้พ้นจาข้อครหาของปรชคมโลกว่ เป้ฯผุ้อยู่เบื้องหลังการต้ายาเสพติดของขุนส่า เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจจึงจับกุมขุนส่าไปจำคุก ทว่าก็เป็นแค่ช่วงเวลาสั้นๆ เพียง 5 ปีเท่านั้น เพราะลูกสมุนขุนส่าได้ลักพาตัวแพทย์ชาวรัศเซีย ไปกักขังไว้ที่บ้านหินแตก พร้อมกับื่อนข้อเสนอให้แลกเปลี่ยนตัวประกัน นายกรัฐมนตรีของไทย ร่วมกับเอกอักครราชทูตรัสเซียนประจำประเทศไทย เป้นตัวแทนช่วยเจรจากับทางกรพม่า นำมาสู่การแลกเปลี่ยนตัวประกันในที่สุด แต่กระนั้นก็ใช้เวลานานถึง 6 เพื่อน กว่าการเจรจาจะเป็นผลสำเร็จ
            เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้ประเทศไทยตื่นตัว และเริ่มดำเนินนโบายผลักดันกองกำลังติดอาวุธของขุนส่าอย่างจริงจัง นำมาสู่ยุทธการบ้านหินแตกboard.postjung.com/924303.html
ต.ช.ด.ประจำฐานปฏิบัติการบ้านหินแตก

            เมื่อครั้ง พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อปี 2423 ประเทศไทยได้รับการตำหนิจากนานาชาติว่า ไม่เอาจริงเอาจังกับการปราบปรามยาเสพติด บางคำหล่วหาก็ตั้งข้อสงสัยว่ารัฐบาลไทยร่วมมือกับขุนส่า ข่าวปรากฎค่อนข้างัดเจนว่าขุนส่าได้มาตั้งฐานผลิตเฮโรอีอยู่ที่บ้านหินแตก ซึ่งอยู่ลึกเข้ามาในเขตแดนไทย กว่า 10 กิโลเมตร เรื่องทำลายแหล่งผลิตยาเสพติดจึงนับเป็นนโยบายเร่งด่วยประการหนึ่งของท่าน โดยเฉพาะโรงานผลิตเฮโรอีนที่บ้านหินแตก ซึ่งในกองทัพบกช่วงนั้น พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป้นผู้บัญชาการทหารบก
              พล.อ,อรพันธ์ วัฒนวิบูลย์ ซึ่งปัจจุบันเกษียณอายุแล้วเล่าให้ฟังว่... "พล.อ.เปรมฯ ได้หารือกับกองทัพบกว่ากองทัพบกรับทำเรื่องน้ได้ไหม กองทัพบกก็ตอบรับ เรื่องไม่ได้พูดกันกว้างขวางชนิดว่ามีหนังสือโต้ตอบกัน เป้ฯการพูดเฉพาะตัว เพราะเป็นเรื่องที่รั่วไหลไม่ได้
              พล.อ.ชวลิต.. ท่านได้รับเรื่องมาแล้ว ผมจำได้ว่าเป็นปลายเดือน ก.ค. 2524 ท่านเรีกผมไปพบ ตอนนั้นผม่ยศเป็นพันเอก มีตำแหน่งเป้นผุ้บงคับการกรมรบพิเศษที่ 2 ท่านบอกว่ามีงานที่สำคัญชิ้นหนึ่ง เป้นงานในระดบรัฐบาลมอบหมายมาให้กองทัพบก..ท่านบอกว่าจะใช้กำลังต่อกลุ่มบุคคลหรือกองกำลังกลุ่มหนึ่ง แต่ไม่พุดว่าเป้นปัญหายาเสพติด ท่านบอกว่าบริเวณตะเขช็บชายแดน ในการเดินเข้าไปนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ท่านบอกว่าอยากได้กำลังที่เข้มแข็งกล้าหาญเอาจริงเอาจังและกล้าตาย เราไม่สามารถใช้คนมาเพราะเป้ฯการทำงานที่ล่อแหลมมาก ไม่สามารถจะให้คนรู้มา รู้เท่าที่จำเป็นเท่านั้น"
           
อดีตไร่ฝิ่นที่บ้านหินแตก
เมื่อรับภารกิจมาแล้วท่านก็เร่ิมเตรียมการทันที่ใช้รุปการจัแบบหน่วยจู่โจมเฉพาะกิจซึ่งเรกียกเป้นรหัสของหน่วยว่า "หน่วยเฉพาะกิจเสือดำ" ประกอบด้วยกำลังพลเพียง 62 คน แต่เป็น 62 คนที่ผ่านการคัดเลือกมาแล้วเป็นอย่างดีและเมื่อผ่านการฝึกอย่างหนักแล้วก็เคลื่อ่นย้ายกำลังออกจาค่ายปักธงชัยเพื่อเข้าสู่พื้นที่ปฏิบัติการเมือ 26 ก.ย. 2524 ทั้งนี้อยู่ในการรักษาความลับอยางเช้มงวด
            "เราเดินทางโดยใช้รถ 6 ล้อ 2-3 คัน เมื่อลงรถเราเดินลัดเลาะเข้าไปใกล้ๆ ทางขึ้นดอยตุง แถวนั้นเป็นดงของขุนส่าซึงมีอิทธิพลในหมุ่บ้าห้วยไคร้ เป็นหมู่บ้านไทยใหญ่ เขามีหน่วยสนับสนุน หน่วยส่งกำลังที่จัดตั้งไว้ รวมทั้งสืบความเคลื่อนไหวของเจ้าหน้าที่ด้วย เพาระฉะนั้นเมือไปถึงบริเวณนั้นเกือบ 5 ทุ่มแล้วไม่มีคนสนใจ ไม่มีคนรุ้เห็น หน่วยเดินตัดขึ้นเขา พอถึงสันเขาชายแดนก้รู้สึกจะเป็นเวลา ตีสอง ตีสามแล้ว จากนั้นก็ลงหาลำน้ำแม่สาย ตอนนั้นน้ำป่าเชี่ยวกราก เราอาศัยเกาะห่วงยาง แพยางที่จัดหาไปจากรุงเทพ เราเตรียมไปเสร็จ มีอินหราเรดตายจการณ์กลางคือ ลำน้ำแม่สายถึงแม้ไม่กว้างนักแต่กระแสน้ำเชี่ยวจัด เราเดินตัดข้ามกลับไปกลับมาหลายครั้ง ..แต่ทหารเดินเหมือนเคยเดินมาแล้ว เพาะศึกาาจาแผนที่ ที่จำลองและขยายดูรายละเอียด
              เราเดินตั้งแต่วันที่ 28 ก.ย.จนถึงวันที่ 3 ต.ค. ใช้เวลาหลายวน เดินกลางคือนนอนกลางวันไม่ต้องการหให้ใครเห็นตัวโรงงานผลิตนั้นอยุ่ลึกมาก มันเป็นเวิ้งเข้าไป มีโรงเรือนหลายหลัง เป้นโรงงานค่อนข้างใหญ่ มีกำลงคุ้้มกันเป็นกองร้อย
             คนของเราที่เข้าไปนั้นประมาณ 30-40 คน ส่วนผมควบคุมอยู่บนยดอดดอยสูงด้วยการติดต่อสื่อสารทางวิทยุเข้ารหัสไม่ไกลากเป้าหมายมากนักบริเวณตะเข็บชายแดน
              หลังจากเคลื่อกำลังเป็นวันที่ 6 ก็ถึงที่หมาย เราเดินกลางคือพอกลางวันก็หยุดพัก ในที่สุดก็เข้าโจมตี
              พอเข้าไปก็เจอกับกองรักษาด่าน จุเผ้าตรวจเหมือนกับการปฏิบัติของทหาร มีกำลังติดอาวุธเป็ฯกองร้อยเรียกว่ากองกำลังฉานเสตรท คือกองกำลังของขุนส่ามีหลายพันคน มีอาวุธคอ่นข้างทันสมัย มีอาวุธเอ็ม 16 เอ็ม 79 มีเครืองมือติดต่อสื่อสารทันสมัย มีวิทยุมือถือให้ใช้กัยอย่งมาก (มีเงินมาก) กระทั่งเราเข้าจ่อตรงบรเวิณโรงงานตอนกลางคือและเผ้าอุย่จถึงรุ่งเช้า วางแผนว่าตอนบ่ายจะเข้าตี
             ประมาณ 4 โมงเย็น เข้าโจมตีโดยชาร์จเข้าไปทั้งหน่วย ตอนนั้นเริ่มจะเข้าฤดูหนาว ประมาณสัก 6 โมงเย็นก็มืดสนิท เมื่อชาร์จลไปเขาไม่สู้ (เขารู้ตัวก่อนล่วงหน้า มีการเผาเรือนนอนและแตกตื่นคนวิ่งกันไปมาตั้งแต่ช่วงบ่าย) แตกตื่อนหนีกันอุตลุด จากนั้นเราก็เข้าไปวางระเบิด อย่างระเบิดเพลิงและเผาซ้ำเข้าไป แต่เข้าใจว่าจะขนบางส่วนหนีไปได้ แต่ที่หนีไม่ได้ก็เยอะ
บ้านหินแตกในปัจจุบัน
             ตอนที่ถอนตัว เราตีฝ่าจุดสกัดของฝ่ายตรงข้ามเข้ามาด้านฝั่งไทยซึ่งพวกนี้ยัไงไม่ถอน เราเข้าโจมตีกลางคือ มีอินฟราเรดช่วยนำทางเข้าไปประชิด ยุทธวิธีการรบแบบจู่โจมและการกระจายกำลังกันตีหลายๆ จุดพร้อมๆ กัน เมื่อมารวมกันที่สันชายแดนก็เริ่มสว่างแล้ว ตอนนี้แหละเขาไใช้กำลังจากบ้านหินแกา มีกำลัง กองทัพบรัฐฉาน อยู่ที่บ้านหินแกตหลายกองร้อยเข้าล้อมกรอบตามเส้นทางต่าง ๆเขาชำนาญเส้นทางกว่าเรา เราก็เลยจำเป็นต้องลงตามร่องน้ำแม่คำ ตอนนี้เขารุกเราหลายกองร้อย เขาได้แต่สงสัยแต่หาที่ตั้งเราไม่แน่นอนไม่เจอ เขาใช้ ปืน ค. ระดมยิงรายรอบพื้นที่เป็นระยะยๆ ต่อเนื่องมา 2 วัน...
            เมื่อวันที่เราเข้าโจมตีเป้าหมายโรงานนั้น ทางด้าน พล.อ.เปรมฯ อยุ่ที่สหรัฐกำลังไปพบประธานาธิบดีเรแกน เราเข้าตีวันที่ 6 ของแผนปฏิบัติการ รุ่งเข้าวันที่ 7 ก็ถอนกำลัง ตอนเช้าของวันที่เราถอนตัว ข่าวถึงสหรัฐทางสหรัฐก็รายงานถึงวอชิงตัน พล.อ.เปรมกับท่านเรแกนทราบตลอด..(จากผลอันนี้ทำให้ทางหสรัฐมีความรู้สึกเชื่อมั่นว่าไทยมีความจริงใจในการปราบปรามยาเสพติด ตอนนั้นเหตุการ์ครึกโครมไปทั่วโลก รู้ว่าเป็นกองกำลังของไทย แต่ไ่รู้ว่าหน่วยไหน แม้ในกองทัพบก หลายคนที่ไม่เกี่ยวข้องก็ไม่รู้ ..)
              หลังจากเข้าตีแล้ว ก็ถอนตัวใช้เวลา 2 วัย ฝ่ายเราก็ถูกเก็บไปเรื่อง เราตายวันละคนสองคน เบ็ดเสร็จรวมทั้งหมด 7 คน นายทหาร-นายสิบ 4 ยนาย ทหารพราน 3 นาย ตามศพได้ตามลำจ้ำ ส่วนมากจะบาดเจ็บ มาก่อนที่เราจะล่องนำ้แม่คำ
               น้ำแม่คำเป็นน้ำที่ไลงลงมาจากภูเขามาออกเกือบจะถึงอำเภอแม่จัน เรานำคนเจ็บ่องตามน้ำมาถูกหินกระแทกบ้าง อะไรบ้าง มีการจมน้ำเสียชีวิตบ้าง นอกนั้นบาดเจ็บสาหัสอีก กว่า ยี่สิบคน ครึ่งหน่วยในส่วนโจมตี ส่วนหน่วยสนับสนุน หน่วยปฏิบัติการลวงไม่บอบช้ำมากนัก..
               จากนั้นพอถึงเดือน มกราคม ปีถัดมา รัฐบาลจึงตัดสินใจใช้กำลัง ตชด. จำนวนหลายพันคนเข้าปฏิบัติการจนสามารถเข้ายึดบ้านหินแตกได้อย่างเบ็ดเสร็จ ใช้เวลาประมาณ 1 สัปดาห์ จนทำให้กองกำลังขุนส่าต้องถอยร่อนออกไปจากแผ่นดินไทยอย่างถาวรจากวันนั้นจนบัดนี้www.clipmass.com/story/8237
             

วันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Opium Story

              จุดเริ่มตต้นของฝิ่น ข้อมูลในเว็บไซต์ของ "หอฝิ่น อุทยานสารเหลี่ยมทองคำ" ตั้งอยู่ ใน จ. เชียงราย ระบุว่าประวัติศาสตร์ของฝิ่นเร่ิมขึ้นตั้งแต่ประมาณ 3,400 ปี ก่อนคริสตกาล เมื่อชาวไรทางตอนต้ของเมโสโปเตเมียเพาะปลูกพืชชนิดนี้ นับแต่นั้นผุ้คนก็ได้เพาะปลูกและใช้ฝิ่นเป็นสารเสพติด และเป็นยารักษาโรค
              ฝิ่นมีผลกระทบต่อทวปเอเชียอยางมาก อังกฤษได้กำไรมหาศาลจากการต้าฝิ่น และเพราะต้องการรักษาผลประโยชน์นี้ ไว้จึงทำให้เกิดสงครามกับจีนถึงสองครั้ง..เปิดเผยว่ฝิ่นซึ่งมักเรียกกันว่า
"ทองคำสีดำ" เป็นสิ่งที่มีค่ามากจนคนสมัยนั้นใช้ทองคำแทนเงินในการซื้อ ขาย ในช่วงปลายปีระหว่าง พ.ศ. 2443-2542 การค้าฝิ่นทำให้ "สามเหลี่ยมทองคำ"เป็นที่รู้จักทั่วโลก
               สามเหลี่ยมทองคำ เป็นชื่อที่บรรดาพ่อค้าฝิ่นตั้งให้กับบริเวณที่มีัลักษณะเป็นพท้นที่สามเหลี่ยมบรรจบกันและรอยต่อระหว่างสมประเทศ ไ้แก่ ไทย ลาวและพม่า ิดนแดนสามเหลี่ยมทองคำครอบคลุมพื้นที่มากกว่า แสนตารางกิโลเมตร ซึ่ง่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ตรงกลางของสามเหลี่ยมทองคำมีแม่น้ำสองสายไหลมาบรรจบกัน คือ แม่น้ำโขงและแม่น้ำรวก
             "ยาเสพติจากอินแดนสามเหลี่ยมทองคำเข้าสู่กัมพุชาผ่านทางแนวชายแดนไทย ลาวและพม่า จกนั้นจึงเดินทางฝ่านกัมพุชาเข้าสู่ประเทศไทยและเวียดนามเพื่อส่งออกไปยังภูมิภาคอื่น" ตามข้อมูลในหนังสือ ประเด็นข้อตกลงเรื่องมุมมองของเอเชีย ในเรื่องที่ท่าสทายความมั่นคงข้ามชาติ (2533)  ระบุว่าประเทศที่มีพรมแดนติดกับสามเหลี่ยมทองคำมีความพร้อมอย่างเต็มที่ในการผลิตและค้ายาเสพติด ตัวอย่างเช่น "ห้องปฏิบัติกาลับที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรอาชญากรรมผลิตยาผิดกฎหมายในพื้นที่ที่มีประชารเบาบางของกัมพูชา" นอกจากนี้ชายแดนที่เต็มไปด้วยช่องโหว่ยังดึคงดูดให้นักลักลอบค้ายาใช้กัมพุชาเป็นเส้นทงขนยาเสพติด
              รายงานยุทธศาสตร์การควบคุมสารเสพติดระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2553 ของกระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริการะบุว่าประเทศไทยเป้น "จุดพักของสารกระตุ้นในกลุ่มแอมเฟตามีนก่อนที่จะส่งออกไปยังประเทศต่าาง๐ ทั้งนี้ยาบ้าจากพม่าจะถูกลักลอบขนข้ามชายแดนทางภาคเหนือเข้าสู่ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีข้อมูลที่เชื่อได้ว่ายาเสพติดถูกขนอออกจากแหล่งผลิตในพม่าผ่านทางลาวเข้าสู่กัมพูชาแล้วผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทางพรมแดนไทย-กัมพูชา
             ตามรายงานระบุว่าการลักลอบขนส่งยาบ้าจากสามเหลี่ยมทองคำมีปริมาณเพ่ิมมากขึ้น ตัวอย่งในปี พ.ศ. 2551 ทางการจีนยึดยาบ้าน้ำหนักกว่า  2.4 ตันได้ในมณฑฃยูนนาน
             นอกจากนี้ ตามรายงานยังเปิดเผยว่า จีนและอินเดียเป็นผถ้ผลิตอีเฟดรีนและซูโดอีเฟดรีนอย่างถุกกฎหมายรายใหญ่ แต่สารทั้งสองชนิดนี้ถูกนำไปใช้อย่างผิดกฎหมายในการผลิตยาบ้า...
            ลำดับเหตุการณ์ของสิ่งเสพติดบริเวณสามเหลี่ยมทองคำผลข้างเคียง
           
พ.ศ. 2143-2242 ผุ้ที่อาศัยในเปอร์เซียนและินเดียดื่ม และรับประทานอาหารที่มีฝ่ินเป้ฯส่วนผสมเพื่อความบันเทิง เหล่าพ่อค้าชาวโปรตุเกสเป็นผุ้นำฝิ่นอินเดียเข้าสู่ประเทศจีน
            พ.ศ. 2243-2342 ชาวดัตท์ส่งออกฝิ่นอินเดียสู่ประเทศจีนและเกาะต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ่อค้าเหล่านี้ยังเป็นผุ้แนะนำชาวจีน ให้รู้จักการสูบฝิ่นโดยใช้กล้องยาสูบ
            พ.ศ. 2272 จักรพรรดิ์หย่งเจิ้นแห่งจีน สั่งห้ามการสูบฝิ่น และห้ามขายฝิ่นในประเทศ ยกเวิ้นจะได้รับอนุฐาตให้ใช้เพ่อวัตถุประสงค์ทางการแพทย์
           พ.ศ.2310 การนำเข้าฝิ่นสู่ประเทศจีนของบริษัทบริติช อีสต์ อินเดีย มีปริมาณสูงถึ 2,000 หีบต่อปี หีบหนึ่ง จะบรรจุฝิ่นดิบถึง 60 กิโลกรัม
           พ.ศ. 2354 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย ทรงสั่งห้ามการขายและการสูบฝิ่น
           พ.ศ.2382 พระบาทสมเด็จพระนั่งเหล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดโทษประหารชีวิตสำหรับผุ้ลักลอบค้าฝิ่นรายใหญ่ อย่างไรก็ตาม ปัญหาฝ่ินก็ได้แพร่หลายเกินกว่าที่ทางการจะควบคุมได้
           พ.ศ. 2385 อังกฤษชนะจีนในสงคราฝิ่นค้งแรกที่เกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2385 จีนยกฮ่องกงให้กับอังกฤษ หลังจากที่อังกฤษบังคับให้จีนคงการเปิดเส้นทางฝิ่นไว้ ฮ่องกงจึงกลายเป็นจุดหลักสำหรับการส่งผิ่นอินเดียต่อไปสู่ตลาดจีนที่กว้างใหญ่
          พ.ศ.2399 อังกฤษและฝรั่งเศสต่อสุ้กับจีนในสงครามฝิ่นครั้งที่สองระหว่างปี พ.ศ. 2399-2403 ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให้การนำเข้าฝิ่นกลายเป็นสิ่งถูกกฎหมาย ในปี พ.ศ. 2403 จีนจึงเร่ิมปลูกฝิ่นเองบนพื้นทีทมหาศาล
          พ.ศ. 2441 นายไฮน์ดริก เดรสเซอร์ ซึ่งทำงานให้กับบริษัทไบเออร์ ที่เมืองเอลเบอร์เฟลด์ ประเทศเยอรมนี ค้นพบว่าถ้าเอามอร์วินเจื่อจางด้วยอะซิติล จะทำให้ได้ตัวยาที่ไม่มีผลข้างเคยยง ไบเออร์จึงเริ่มผลติดยาดังกล่าวและตั้งชื่อว่า "เฮโรอีน" ซึ่งมาจากคำว่า Heroisch ในภาษาเยอรมันที่แปลว่า วีรบุรุษ
           พ.ศ. 2443-2542 สมาคมการกุศลเซนต์เจมส์ในสหรัฐฯ ส่งเฮโรอีนฟรีทางไปรษณีย์แก่คนติดมอร์ฟีนที่พยายามหาทางเลิกอังกฤษและฝรั่งเศสประสบความสำเร็จในการควบคุมการผลิตฝิ่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ตามในที่สุดสามเหลี่ยมทองคำก็มีบทบามสำคัญในการต้าฝินที่มีกำไรมหาศาลระหว่าง พ.ศ. 2483-2492
           พ.ศ.2453 หลังจาก 150 ปีที่จีล้มเหลวในการกำจัดฝิ่นให้หมดไปจากประเทศ ในที่สุดจีนก็ประสบความสำเร็จในการโน้มน้างอังกฤษให้ยกเลิกการต้าฝิ่นระหว่งอินเดียกับจีน
           พ.ศ. 2483-2492 สงครามโลกครั้งที่สองตัดเส้นทางการต้าฝิ่นจากอินเดียและเปอรเซีย เนื่องจากเกรงว่า จะสูญเสียความเป็นเจ้าตลาดฝิ่น ฝรั่งเศสจึงสนับสนุนให้เกษตรกรชาวม้ง ที่อาศัยอยู่ตามเทือกเขาทางภาคใต้ของจีนขยายพื้นที่เพาะปลูกฝิ่น
           พ.ศ. 2491 พม่าได้รัีบเอกราชจากอังกฤษ ฟลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง การเพาะปลูกแลค้าฝิ่นเริ่มเฟื่องฟูในรัฐฉาน
         
พ.ศ.2493-2502 สหรัฐฯ พยายามจำกัดการแพร่กระจายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเชีย โดยการผูกสัมพันธ์กับบรรดาชนเผ่าและผุ้นำทางทหารต่างๆ ในบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ ทำให้สามารถเข้าถึงกและมีการคุ้มครองตามแนวชายแดนทางตอนใต้ของจีน พรรคชาตินิยมของจีน(ก๊กมินตั๋ง) ถอยร่นออกมาอยู่ในพื้นที่รอบๆ สามเหลี่ยมทองคำหลังจากถูกกองทัพแดง ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนปราบปราม ในการหาเงินทุนสนับสนุนภารกิจต่อต้านการรุกรานของลัทธิคอมมิวนิสต์ ก๊กมินตั๋งชักชวน ชาวไร่ชาวนาที่เป็นชนเผ่าในพม่าให้หันมาปลูกฝิ่นมากขึ้น ยังผลให้ปริมษรฝิ่นจากพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำเฉพาะสวนที่อยู่ในพื้นที่ประเทศพม่าเพ่ิมขึ้นถึง 10-20 เท่า จาก 30 ตันเป็น 300-600 ตัน
          พ.ศ. 2503-2521 ขุ่นส่าพ่อค้าฝิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งโรงงานสกัดเฮโรอีนขึ้นเป้ฯครั้งแรกในช่วงปี พ.ศ. 2503-2512 บนเทือกเขาในลาว ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามแม่น้ำโขงกับ อ.เชียงของ ในประเทศไทย หลังจากนั้นก็มีการสร้างดรงงานเพิ่มบริเวณชายแดนไทย-พม่า
           พ.ศ. 2515 ขุนส่า ผุ้นำชนกลุ่มน้อยชาวพม่าควบคุมการสงออกเฮโรอีนจกสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งเป็นแหล่งผลิต ฝิ่นดิบที่มบทบาทสำคัญในการต้ายาเสพติด
            พ.ศ. 2521 การต้าเฮโรอีนจากเอเชียสะดุดลง ทำให้พ่อค้ายาเสพติดต้องเสาะหาแหล่งผลิตฝ่ินดิบแห่งใหม่ และได้พบกับ เชียร่า มาเตร ในเม็กซิโก "โคลนจากเม็กซิโก" สามารถแทนที่เฮโรอีน "สีขาวของจีน" ได้เพียงชั่วคราวจนถึงปี พ.ศ. 2521 เท่านั้นในปีเดียวกันนี้ รัฐบาลสหรัฐฯ และเม็กซิโกได้โปรยสารเคมีสีส้มลงบนพื้นที่เพาะปลูกฝิ่นในเชียร่ามาเดร ทำให้ปริมาณ "โคลนจาเม็กซิโก" ในสหรัฐฯ ลดลง เพื่อุดช่องว่างในตลาด ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวสีทอง ในอิหร่านอัฟกานิสถานและปากีสถานจึงผลิตและค้าเฮโรอีนผิดกฎหมายมากขึ้น
             พ.ศ.2531 การผลิตฝิ่นมีการเพ่ิมปริมาณมากขึ้นในสมัยการปกครองของกำลังทหารพม่า ที่มีชื่อว่า กฎหมายและข้อบังคับ ของคณะกรรมการฟื้นฟูการสั่งซื้อ ทำให้ทางสหรัฐฯ สงสัยว่าเฮโรอีนน้ำหนัก 1088 กิโลกรัมที่จับได้ในเมืองไทยขณะกำลังจะลงเรือไปนิวยอร์กน่าจะมีแหล่งผลิตอยุ่ที่สามเหลี่ยมทองคำ
             พ.ศ. 2536 กองทัพไทยโดยการสนับสนุของหน่วยปราบปรามยาเสพติดของสหรัฐฯ ดำเนินปฏิบัติการทำลายไร่ฝิ่นจำนวนหลายพันไร่ในบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ
           
 พ.ศ.2538 สามเหลี่ยมทองคำเป็นผุ้นำในการผลิตฝิ่น โดยแต่ละปีสามารถผลิตฝิ่นได้มากถึง 2,500 ตันผุ้เชียวชาญด้านยาเสพติดของสหรัฐฯ ชว่านักค้ายาเสพติดใช้เส้นทางใหม่ในการบลำเลียงยาเสพติดโดยขนยาจากพม่าผ่านลาวเข้าสู่ตอนใต้ของจีน กัมพูชาและเวียดนาม เปรียบเทียบกับในปี พ.ศ. 2530 พม่าผลิตฝิ่นดิบได้ 836 ตัน แต่ในปี พ.ศ. 2438 ปริมาณการผลิตเพิ่มึ้นเป็น 2,340 ตัน
             พ.ศ.2542 อัฟการนิสาถานผลิตฝิ่นมากึถง 4,600 ตัน ทั้งนี้โครงการควบคุมยาเสพติดแห่งสหประชาชาติประมาณการว่าอัฟการนิสถานผลิตเฮโรอีนถึงร้อยละ 75 ของปริมาณเฮโรอีนทั่วโลก
             พ.ศ.2545 สำนักงานควบคุมยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ ประกาศว่าอัฟกานิสถานเป้นประเทศที่ผลิตฝิ่นมากที่สุดในโลก
             พ.ศ. 2546 ความพยายามของเกาหลีเหนือในการเจาะตลาดเฮโรอีนของออสเตรเลียด้วยการลักลอบค้าเฮโรอีนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐเริ่มประสบกับปัญหา
             พ.ศ. 2549 สำนักงานว่าด้วยยาเพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติรายงานว่า ในปี พ.ศ. 2549 อัฟกานิสถานจะผลิตฝิ่นได้มากถึง 6,100 ตัน ซึ่งนับเป็นตัวเลขที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 92 ของปริมาณฝิ่นทั่วโลก
             พ.ศ. 2550 ขุนส่าราชายาเสพติด แห่งสามเหลี่ยมทองคำและอดีตผุ้นำกลุ่มแบ่งแยกดินแดนรัฐฉานได้เสียชีวิต ในยุคที่เขาเรืองอำนาจอาณาจักรยาเสพติดของขุนส่าผลิตและส่งออกเฮโรอีนประมาณ 1ใน 4 ของปริมาณเฮโรอีนทั้งหมดในตลาดโลก
             พ.ศ. 2553 แม้ว่าการเพาะปลูกฝิ่นจะลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงสามปีที่ผ่านม แต่พม่าก็ยังเป้ฯผู้ผลิตฝิ่นรายใหญ่ อันดับสองของโลกรองจากประเทศอัฟกานิสถาน โดยปีที่แล้วพม่าสามารถผลิตฝิ่นได้ 330 ตัน หรือร้อยละ 17 ของปริมาณฝิ่นทั้งหมด ตามข้อมุลใน "รายงานยาเสพติดโลกประจำปี พ.ศ. 2553" ของสหประชาชาติwww.oncb.go.th/ncsmi/doc3/%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99.pdf

วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN-NARCO

             15 กันยายน พ.ศ. 2557 ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พล.อ.ไพ
บุลย์ คุ้มฉายา รัฐมตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานประชุมหัวหน้าหน่วยงานกลางด้านยาเสพติดของประเทศอาเวียนทั้ง 10 ประเทศ และประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ป่นุ เกาหลี เพื่อเตียมพร้อมก่อนไทยเข้าสู่ประชาคมอเซียน ในปีหน้าเนื่องจากคาดการณ์ เมื่อเปิดเสรีอาเซียนแล้ว ปัญหายาเสพติด จะทวีความรุนแรงขึ้น ขณะเดียวกัน ไ้มีการเปิดสำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน อย่างเป็นทางการ เพื่อตอบสนองนดยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาเสพติดในกลุ่มปรเทศอาเซียน ให้เป้นไปอย่างมีประสทิะิภา โดยมีไทยเป็นแกนนำ ประสานงานการสืบสวนคดียาเสพติดที่เป็นเป้าหมายกับประเทศอาเซียนอื่นๆ
           พล.อ.ไพบูลย์ กล่าวว่า การเปิดสำนักงาน ป.ป.ส.อาเวียน จะใช้เป็นศูนย์กลางในการกำหนดมาตรการป้องกันปราบปรามยาเสพติดในภูมิภาค ซึ่งจะมีการประชบุมระดับทวิภาคีกับประเทศต่างๆ ดดยเฉพาะ สหภาพเมียนมาร์ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตยาเสพติดสำคัญ เพื่อหาแนวทางร่วมสำคัญ เพื่อหาแนวทางรวมสกัดกั้นยาเสพติด นอกจากนี้ จะมีการหารือร่วมกันถึงต้นตอของปัญายาเสพติดที่แท้จริง เนื่องจาก สภาพเศราฐกิจไทยช่วงที่ผ่านมา แม้จะซบเซา กลับมีปัญหารยาเสพติดเพิ่มขึ้น จึงต้องหาที่มาว่าเกิดจากอะไรเพื่อให้สามารถแก้ปัญาได้อย่าวตรงจุดมากขึ้นwww.posttoday.com/crime/318392
            24 กุมภาพันธ์ 2559 โรงแรมเซ็นจูรี่ปาร์ ถ.รชปรารภ กทม.ได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียน ครั้้งที่ 1/2559 โดยมีจ้าหน้าท่สำนักงาน ป.ป.ส., สำนักงานเลขาธิการอาเซียนและเครื่อข่ายองค์กรวิชากรสารเสพติด ผู้แทนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และประเทศคู่เจรจา 3 ประเทศ  ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาะหลี เข้าร่วมประชุม เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังอาเซียนและกำหนดแนวทางในการจัดทำรายงานการเผ้าติดตามยาเสพติดในอาเซียน ประจำปี 2016 และเตรียมเสนอร่างรายงานดังกล่าวในการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติดครั้งที่ 37 ซึ่งกำหนดจะจัดขึ้นในปี 2559 ที่ประเทศไทย
         
 นางนฤมล ช่วงรังษี รองเลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวว่า สือบเนื่องจากการจัดประชุมเชิ
ปฎิบัติการดังกล่าว ดดยมีผุ้แทนจากประเทศอาเวียนผุ้แทนประเทศคู่เจรจา และองค์กรระหว่งประเทสเข้าร่วมการประชุมฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลเฝ้ระวังปัญหายาเสพติดภายในประชาคมอาเซียนร่วมกันและให้ดำเนินการจัดตั้ง คอนแทค เพอร์ซัน ด้านอุปทาน และอุสงค์ ประเทศละ 2 คน เพื่อทำหน้าที่ประสานและร่วมเป็นทีมวิเคราะห์ข้อมูลในการจัดทำรายงานเกี่ยวกับยาเสพติด
               โดยกล่าวต่อว่า สำหรบสำนักงาน ป.ป.ส. ประเทศไทย ในฐานะผุ้ประสานงานกลางของกลุ่มประทเศสมาชิกอาเซียน ได้นำผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมเครือข่ายข้อมุลเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียนฯ ดังกล่าวพร้อมทั้งแผนการดำเนินงานวิเคราะห์และเชื่อมดยงข้อมุล้าระวังปัญหารยาเสพติดอาเซียนระยะ 1 ปี เสนอต่อมี่ประชุม ในปี 2558 ณ ประเทศสิงคโปร์ และที่ประชุม มีมติเห้นขอบเแล้ว
               "การประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการเผฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเซียน ครั้งที่ 1/2559 ของสำนักงาน ป.ป.ส.อาเซียน จึงเป็นการเชิญผุ้ประสานประจำแต่ละประเทศ และองค์กรที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมมีมวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดอาเวียน เพื่อแสดงห้เห็นถึงความก้าวหน้าอีกระดับหนึ่งของการรวมตัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดเชิงรุกในประชาคมอาเวียนได้อย่างมีประสทิธิภาพต่อไป" รองเลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวwww.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9590000019899
                 ป.ป.ส. ขับเคลื่อนความร่วมมือเฝ้าระวังยาเสพติด ระดับภุมิภาคอาเซียน เมื่อวันที่ 30 ก.ค. 60 นายพิภพ ชำนิวิกัยพงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือ ป.ป.ส. เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดอาเซียน ครั้งที่ 4 โดยมีผุ้แทนจากประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่ 10 ประเทศ และประเทศคูเจรจา 3 ประเทศผู้แทนจากสำนักเลขาธิการอาเซียน, เครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด และเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยที่เกี่ยวข้อง
               การประชุมครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อร่วมกันจัดทำรารงานเ้าระวังสถานการณืยาเสพติดอเาซียน ประจภปี 2559 ฉบับที่ 2 เพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศสมาชิก สำหรับการพัฒนาฐานข้อมูลเผ้าระวังสถานการณ์ยาเสพติดอาเซียนบน เวปไซด์ อาเซียน-นาร์โค รวมถึงเพื่อส่งเสริมความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนด้านวิชาการที่เกี่ยวข้อกับยาเสพติด ระหว่างประเทศสมาชิกอาเวียน และเครื่อข่ายอาเซียนเฝ้าระวังยาเสพติด
             จากสถานการณืปัญหายาเสพติดที่เพ่ิมากขึ้นในภูมิภาคอาเวียน ประเทศไทยโดยสำนักงาน ป.ป.ส. จึงได้มีการจัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหายาเพติดอาเซียน ในปี 2558ื ภายใต้กรอบการปฏิบัติงานของศูนย์ประสานงานความร่วมมือด้านยาเสพติดอาเซียน หรือ สำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน
             อย่างไรก็ตาม สำนักงานป.ป.ส. ประเทศไทย ในฐานะเจ้าภาพได้จัดประชุม เพื่อร่วมกันจัดทำรายงารเฝ้าระวังยาเสพติดมาแล้ว 3 ครั้งได้รับความร่วมมือจากทุกประเทศเป้อย่างดี ซึ่งเป้นตครั้งแรกที่ประเทศในภุมิภาคได้มีการจัดทำรายงานสถานกาณณ์ยาเสพติดประจำปี 2558 ร่วมกัน ซึ่งสถานการณืยาเสพติดในภุมิภาคอาเซียนในปี 2559 ได้รับความร่วมมือจากประเทศสมชิกในหารเปิดเผยข้อมูลมากขึ้น
              ทั้งนี้ พบว่าในพื้นที่หลายๆ ประเทศ มีผุ้กระทำความผิดเกี่ยวกับเมทแอมเฟตามีนมากว่าคตรึ่งหนึ่งของภูมิภาคโดยมีข้อเสนอจากประเทศสมาชิกว่าควรเพ่ิมการเผ้าระหวังการซื้อขายยาเสพติดผ่านทาง โซเชียล เน็ตเวิร์ค รวมถึงการใช้ยาในทางทีผิดมากยิ่งขึ้น และควรเพ่ิมสายด่วนระหว่างประเทศสมชิก ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่ให้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทันท่วงที
             สำหรับแผนการดำเนินงานที่สำคัญอีกประการหนึ่งของการจัดตั้งเครือข่ายเผ้าระวังาเสพติดอเซียน คือ การสร้างฐานข้อมุลเฝ้าระวังยาเสพติดของอาเวียน จากแบบสอบถามที่ประเทศสมาชิกได้ออกแบบร่วมกันเืพ่อเก็บข้อมูลยาเสพติดในภุมิภาค เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถนำเข้ข้อมูได้โดยตรง
             นายพิภพ กล่าวว่า ส่ิงสำคัญในารจัดประชุมครั้งนี้ คือ ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันกำหนดนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อดำเนินการต่อยาเสพติดหลักที่แร่ระบาดในภุมิภาคให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกยังได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และแจ้เงเตือนตัวยาใหม่ที่ค้นพบว่าเร่ิมมีการแพร่ระบาดในภูมิภาค
            ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันเฝ้าระวังและควบคุมได้ทันท่วงที่ โดยแจ้งแตือนหากพบสัญญาของปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิกตามวาระ ซึ่งเป้นที่ตกลงกันของประเทศสมาชิก และร่วมกันตรวจสอบรายงานเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด ปี 2559 ซึ่งเป็นรายงานฉบับที่ 2 ภูมิภาคwww.thairath.co.th/content/1020869
       
  ป.ป.ส. อาเซียน 4 ยุทธศาสตร์สกัดค้ายาข้ามชาติ
            การจัดตั้ง สำนักงาน ป.ป.ส. อาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กางข้อมุลเกี่ยวยาเสพติด สนองตอบนโยบายปราบยาของชาติสมาชิกประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ
            ที่ผท่านมาสถิติการจับกุมปุ้ต้องปาชาวต่างชาติในคดรยาเสพติดในประเทศไทย ระหว่างปี 2551-2555 พบว่ามีกลุ่มคนจาชาติอาเซยรถูกจับกุมในไทยเพื่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสัญชาติที่ถูกจับมากที่สุดคือ ลาว รองลงมาคือพม่า กัมพูชา และมาเลเซีย ส่วนชนิดยาเสพติดที่มีการจับกุมมากเป็นอันดับต้นๆ ได้แก่ ยาบ้า ไอซ์ เฮโรอีน และกัญชา
             ท้งนี้ ตลอดหลายสิบปี ปัญหายาเสพติดถือเป้นปัญหาเรื้อรัวและทวีความรุนแรงมากขึ้นนภูมิาภคอาเซียน ตั้งแต่การลักลอบลปลูกฝิ่นและผลิตเฮโรอีนในพื้นที่ "สามเหล่ยมทองคำ" ซึ่งเป็นเขตแดนติดต่อกันของ 3 ประเทศ คือเมียร์มาร์ ลาว และไทย ตามด้วยการลักลอบปลูกกัญชาทั้งในไทย ลาว อินโนีเซีย ไม่เว้นแม้กระทั่งฟิลิปปินส์
             ประเทศต่างๆ ในอาเวียนถูกใช้เป็นจุดแวะพักยาเสพติดจากสามเหลี่ยนมทองคำ ก่อนลำเลียงต่อไปยังประเทศทีสามในทวีปยุโรป อเมริการและออสเตรเลีย
              จากสถานการณ์ดังกล่าว ทำให้ใการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ 31 เมื่อ 2541 ประเทศฟิลิปปินส์ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน 9 ประเศ ได้ลงนาน ปฎิญญาร่วมว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน ค.ศ. 2020 พร้อมวางเป้าหมายแสดงเจตนารมณ์ทางการเมืองที่สำคัญ คื อการประกาศปฎิยญาร่วว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียนฯ เพื่อเน้นย้ำถึงความพยายามของชาติสาชิกในการต่อสู้กับการแพร่ระบาด การต้า และการใช้ยาเสพติดในศตวรรษที่  21 และการตั้งสำนังาน ป.ป.ส. อาเซียน ก็เป็นผลผลิตหนึ่งจากปฏิญญาดังกล่าว เพื่อเป็นหน่วยงานกลางบูรณาการเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจากทั้ง 10 ประเทศให้มาร่วมทำงานกันอย่างใกล้ชิด โดยกำหนดยุทธศาสตร์สำคัญ 4 ข้อที่จะต้องดำเนินการ คือ
              1 ยุทธศาสตร์การสร้างความร่วมมือด้านการปราบปราม ซึ่งจะร่วมมือทั้งด้านการข่าว การปราบปรามกลุ่มผุ้ผลิตในประเทศเมียนมาร์ การสกัดกั้นตามแนวชายแดน ท่าอากาศยาน ละการติดตามยึดทรัพย์สินของขบวนการต้ายาเสพติดข้ามชขาติทั้งในกลุ่มอาเวียนและประเทศอื่นๆ
              2. ยุทธศาสตร์การลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติด ด้วยรูปแบบการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
              3. ยุทธศาสตร์การลดการแพร่ระบาดในกลุ่มที่กำหนเป็นเป้าหมาย ร่วมกันสกัดวงจรผุ้สพรายใหม่ โดยเฉพาะเยาวชนอาเซียน พร้อมทั้งสร้างมารตรฐานร่วมกันในด้านการบำบัดรักาาและฟื้นฟูสมรรถภาพผุ้ติดยาเสพติด
              4. ยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความรวมมือด้านนิติวิทยาศาสตร์ กฎหมาย เพื่อให้ความร่วมมือของกลุ่มอาเว๊ยนมีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น
              นอกจากการตั้ง ป.ป.ส. อาเซียนแล้ว ประชาคมอาเว๊ยนยังมีกลไกความร่วมือด้านยาเสพติดอีกหลายกลไก ที่สำคัญคือการยกสถานะของคณะผุ้เชี่ยวชาญด้านยาเสพติดอาเซียนขึ้นเป็นระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน ซึ่งจะรายงานปัญหาตรงต่อคณะกรรมการประจำอาเซยน ซึงเป้ฯองค์กรสูงสุดในการบริหารความร่วมมือในกรอบอาเซียนในด้านต่างๆ
          รวมทั้งการตั้งคณะกรรมการเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านอาชญากรรมข้ามชาติ โดยยาเสพติดเป็น 1  ใน 8 สาขาของความร่วมมือเพื่อปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติต้องจัดทำรายงานเสนอตรงต่อที่ประชุมรับยมนตรีอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติด้วยwww.bangkokbiznews.com/news/detail/605360
             

วันเสาร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2560

Drug Matters

             ในบรรดาปัญหาของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน นอกจากปัญหาการระบาดของโรค
ติดต่อร้ายแรง เช่น การติดเชื่อเอชไอวี โรเอดส์แล้ว ปัญหายาเสพติดยังเป้นอีกปัญหาหนึ่งเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงต่อประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมากเช่นกัน เนื่องจากยาเสพติดจะทำลายศักยภาพของประชาชนและเยาวชนอาเซียนและจะส่งผลต่อขีดความสามารถในการพัฒนาในอนาคต หากพิจารณาลักษระและความเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดของประเทศต่างๆ ในอาเซียน  ซึ่งแบ่งเป็น
              ประเทศที่มีสถานะผุ้ผลิตยาเสพติด ได้แก่ เมียนมาร์ ซึ่งเป็นผุ้ผลิตฝิ่น เฮโรอีน ยาบ้า และไอซ์
              ประเทศที่มีสถานะเป็นทางผ่านยาเสพติด หรือเป็นเส้นทางลำเลียงยาเสพติดจากแหล่งผลิตในเมียนมาร์ไปยังประเทศอื่นๆ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพุชา เวียดนาม มาเลเซีย
           
ประเทศที่มีสถานะเป็นผุ้บริโภคหรือเป็นแหล่งแแพร่ระบาดยาเสพติด ได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
              สาเหตุที่ไม่มีประเทศบรูไนและสิงคโปร์ ปรากฎในการจำแนกหลุ่มประเทศที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เนื่องจากเป้นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในกลุ่มอาเวียน แต่ก็ไม่ได้หมายคึวามว่าต่างก็เป็นประเทศที่ปลอดยาเสพติดอย่างสิ้นเชิง เนื่องจากเมื่อศึกษาข้อมุลเกี่ยวกับลักษระของปัญหายาเสพติดหลักที่แพร่ระบาดในประศสมาชิกอาเซียน และการดำเนินงานของอาเซียนจะพบว่า
            - พ.ศ. 2519 มีการประกาศปฎิญญาอาเซียนว่าด้วยหลักการในการต่อต้านการใช้ยาเสพติดในทางที่ผิด
            - พ.ศ.2541 มีการประกาศปฎิญญาว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน พ.ศ. 2563
            - พ.ศ.2543 รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเห้นควรให้ร่นเวลาการปลอดยาเสพติดในอาเวียนจากปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2558
แอมเฟตามีน
            - พ.ศ. 2548 มีการยกร่างแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านการลักลอบค้่ายาเสพติด
            - พ.ศ. 2552 เจ้าหน้าที่อาวุโสอเาซียนด้านยาเสพติดให้การรับรองแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติด
            - พ.ศ.2553 มีการกำหนดเกณฑ์วัดผลสำหรับการดำเนินงานการปราบปามการผลิตและการลักลอบลำเลียงยาเสพติด ได้แก่
                   การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการผลิตยาเสพติด
                 
 การขจัดเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการลักลอบลำเลียงยาเสพติด
                   การขจัดการลักลอบและการนำสารตั้งต้นไปใช้ในการผลิตยาเสพติด
                   การส่งเสริมความร่วมมือข้ามพรมแดนและการปฏิบัติการด้านการปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ
               เพื่อให้การปราบปรามการผลิตและการลักลอบวำเบียงยาเสพติดเกิดผลในทางปฏิบติ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ใช้ปฏิญญาว่าด้วยการปลอดยาเสพติดในอาเซียน พงศ. 2558 ซึ่งหมายถึง "การดำเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิดกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ พร้อมทั้งลดผลต่อเนื่องต่างๆ ในเชิงลยอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม" เป็นกรอบความคิดหลัก และได้กำหนดกรอบทางยบุทธศาสตร์ไว้ 6 กรอบความร่วมือ ดังนี้
             1. กรอบความร่วมมือในด้านการลดอุปทานยาเสพติด คือการดำเนินการปราบปรามยาเสพติด ทั้งในด้านการข่าว การปราบปรามกลุ่มการต้ายาเสพติด การสกัดกั้นตามท่าอากาศยาน การยคึดทรัพย์สิน ฯลฯ
            2. กรอบความร่วมมือในด้านการเสริมสร้างความมั่นคงชายแดน คือ การดำเนินงานในด้านการสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน การเสริมสร้างชุมชนตามแนวชายแดนในเข้มแข็ง การจัดระเบียบชายแดน ฯลฯ
            3. กรอบความร่วมมือการลดพื้นที่ปลูกพืชเสพติดด้วยการพัฒนาทางเลือก คือ การใช้แนวทางการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาลดปัญหาการปลูกฝิ่น
           
4. กรอบความร่วมมือด้านการสร้างภุมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติด คือการดำเนินการด้านการป้องกนยาเสพติดในกลุ่มี่กำนดเป็นเป้าหมายร่วม สกัดวงจรของผุ้เสพยาเสพติดรายใหม่ในกลุ่มประเทศอาเซียน
เมทแอมเฟตามีน
            5. กรอบความร่วมมือด้านการแด้ไขผุ้เสพยาเสพติด คือการดำเนินการด้านบำบัดรักษาผุ้เสพยาเสพติด การพัฒนาความพร้อมเมื่อเกิดเงื่อนไขการเคลื่อนย้ายประชากรในกลุ่มประเทศอาเซียน
            6. กรอบความร่วมมือด้านการพัฒนาวิชาการและการพัฒนาในด้านต่างๆ ได้แก่ การพัฒนาความร่วมมือในด้านการวิจัย วิชาการ การพัฒนาความร่วมมือด้านนิติวิทยาศาสตร์ต่างๆ ดังกล่าว จะเห็นว่าถ้าทุกประเทศในประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนให้ความร่วมมือดำเนินการตามกลยุทธ์ต่างๆ ที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง จริงจัง และจริงใจ เชื่อได้ว่าปัญหายาเสพติดในประเทศอาเวียนน่าจะคลี่คลาย ลงได้ตามสมควร ถึงแม้ว่าอาจจะไม่บรรลุถึงเป้าหมายการเป็นอาเวียนปลอดยาเสพติด ภายใน พ.ศ. 2558 ดังที่กำหนดไว้ก็ตามwww.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4203&filename=index
              ประเทศในกลุ่มอาเซียนมีความร่วมมือกันมากนานแล้วในเรื่องของปัญหายาเสพติด แต่ด้วยสถานกาดรณืของอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดซึ่งเป้นปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้น จำเป้นอย่งย่ิงที่ความร่วมมือในเรื่องนี้ต้องมีความเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่ออยู่ภายใต้กรอบความร่วมมือของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
            อาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดเป็นอาชญากรรมที่กระทำโดยองค์กรอาชญากรรม มีการทำงานแบบลับ มีกระบวนการซับซ้อนเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกจับกุมกวาดล้าง ด้วยเหตุนี้ในการดำเนินการด้านการสืบสนวนติดตามจึงต้องใช้เทคนิคการสืบสวนแบบพิเศษเข้ามาดำเนินการด้วย
             ในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ครั้งที่ 21 (2555) ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพุชา มีการับรองปฏิญญาร่วมของผุ้นำอาเวียน เพื่อให้เกิดการเป้นอาเวียนที่ปลอดยาเสพติดในปี 2015 (พ.ศ.2558) ซึ่งเป้นการเลื่อนกำหนดการปลอดยาเสพติดของอาเซียนให้เร็วขึ้นอีก 5 ปี จากเดิมที่กำหนดไว้ในการประกาศวิสัยทัศน์ของการเป็นเขตปลอดยาเสพติดอาเวียนภายในปี 2020 ( พ.ศ. 2563) ทั้งนี้ ได้มีการกำหนดยิยามของ "ประชาคมที่ปลอดยาเสพติด" ว่าหมายถึง การที่สมาชิกอาเวียนสามารถควบคุมปัญหายาเสพติดได้อย่งมีประสทิธิภาพและประสบผลสำเร็จ โดยไม่สงผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตที่เป็นปกติสุขของสังคม
            ประเทศในอาเซียนที่ประสบปัญหาในเรื่องการเสพยาเสพติดในระดับรุนแรง ได้แก่ อินโดนีเซีย เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ ไทย ในขณะที่ กัมพุชา ชาว มาเลเซีย และเวียดนาม ปัญหาการเสพยาเสพติดอยู่ในระดับปานกลาง สำหรับประเทศบรูไนและสิงคโปร์จัดเป็นประเทศที่มีปัญหายาเสพติดน้อย
            การป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดโดยลำพังเฉพาะประเทศใดๆ จะกระทำได้ยากลำบากเนื่องจากสาเหตุหลายประการ เนื่องจาก
           - ความหลากหลายของรูปแบบการกระทำผิด กล่าวคือมีการขนส่ง การลักลอบลำเลียงในรูปแบบใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ชเ่น การขนส่งทางทะเล ช่องทางไปรษณีย์ การปลอดแปลงเอกสารเพื่ให้ผ่านพิธีการศุลกากร
            - การกระทำผิดบนพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างประเทศ ผุ้ร่วมกระทำผิดมีมากกว่าหนึ่งเชื้อชาติ การว่าจ้าง มีกระบวนการที่ซับซ้อนโดยที่ผุ้รับจ้างไม่รู้ถึงผู้รับจ้างต้นทางที่แท้จริง
            - กระบวนการระหว่งประเทศในเรื่่องยาเสพติดที่ความล่าช้า เนื่องจากข้อจำกัดทางกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องพยานหลักฐานและนโยบายของแต่ละประเทศในการให้ความร่วมมือค้นหาพยานหลักฐาน
            - ยังประสบปัญหารเรื่องขอบเขตอำนาจในการจับกุมและดำเนินคดีผุ้กระทำผิดข้ามพรมแดน
            ด้วยเตหุนี้เอง หากประเทศอาเซียนต้องการแก้ไขปัญหารอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดอย่งจริงจังแล้ว จำเป้นจะต้องร่วมมือกันในการวางกรอบกฎหมายระหว่างประเทศให้มีความรัดกุมและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การจัดการกับปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติในรูปแบบยาเสพติดมีความคล่องตัวมากขึ้น เพื่อให้คาดหวังได้ว่าการเป็นอาเวียนที่ปลอดยาเสพติดใน พงศ. 2558 เป็นความฝันที่ใกล้ความจริงมากยิ่งขึ้นthailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=4531&filename=index

           
            -

วันศุกร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Structure

          โครงสร้างอาเซียน 
         

         ประกอบด้วย การประชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียนซึ่งแบ่งออกเป็นสามเสาหลัก ประกอบด้วย 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Comunity - ASC) 2) ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน (ASEAN Socio3Cultural Comnunity - ASCC) อาเซียนกำลังเร่งรวมตัวทงเศราฐกิจเพื่อสร้างเขตการต้าเสรีอาเซียนและเขตการลงทุนอาเซียน เพื่อพัฒนาอาเซียน ซึ่งมีประชากรกวา 567 ล้านคน และมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ให้ป็นตลาดและฐานการผลิตที่เป้นหนึ่งเดียวภายในปี 2558 ซึ่งจะทำให้อาเวียนน่าสนใจและมีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ASEAN Socio-Cultural Community - ASCCASEAN Socio-Cultural Community - ASCCอาเวียนกำลังมุ่งพัฒนาความร่วมมือในสาขาการศึกาา วัฒนธรรม สาธารณสุข พลังงาน สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีเป้าหมายให้ประชาชนในภูมิภาค รู้จักและเข้าใจกันมากขึ้นมีความรุ้สึกเป้นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียนนี้
          คณะมนตรีประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนทำหน้าที่เตรียมกรประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลงและข้อตัอสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนประสารงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดำเนินงานและกิจการต่างๆ ของอาเวียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเวียนจะมีการประชุมอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี และมีองค์กรเฉพาะสาขา
          คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก ได้แก่ คณะมนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศราบกิจอาเวียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศสมาชิกแต่งตั้งให้เป็นผุ้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอำนาจหน้าที่ในการประสานงานและติดตามการทำงานตามนโยบาย ดดยเสอนรายงานและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมผุ้นำ มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ประธานการประชุมเป็นรัฐมนตรีที่เหมาสมจากประเทศสมชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียน
        องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา องค์การระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาะารณสุข ด้านกลาโหม ด้านการศึกษาฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและข้อตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู่ในขอบข่ายการดำเนินงานของตน และเสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน
        เลขาธิการอาเซียนและสำนักเลขาธิการอาเซียน สำนักเลขาธิการอาเซียนได้จัดตั้งขึ้นตามข้อตกลงที่นามโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเวียน ครั้งที่ 1 ในปี 2519 เพื่อทำหน้าที่ประสารงานและดำเนินงานตามดครงการและกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมอาเซียน และเป็นศุนย์กลางในการติดต่อระหว่างสมาคมอเซียน คณะกรรมการ ตลอดจนสถบันต่างๆ และรัฐบาลของประเทศสมชิกสำนักเลขาธิการอาเซียนตั้งอยู่ที่รุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน โดยมีหัวหน้าสำนักงาน เรียกว่า ไลขาธิการอาเซียน" ซึ่งได้รับการแต่างตั้งดดบที่ปรชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี และต้องได้รับเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก โดยหมุนเวียนตามลำดับตัวอักษร ผุ้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบันเป็นคนไทย คือ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดำรงตำแหน่งระหว่างปี่ ค.ศ. 2008-2012 (พ.ศ. 2551-2555)
        คณะกรรมการผุ้แทนถาวรประจำอาเซียน เป็นผุ้แทนระดับเอกอัตรราชทุตที่แต่างตั้งจากประเทศสาชิกให้ประจำที่สำนักงานใหญ่อาเซียน กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียน มีหน้าที่สนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรระัดบ รัฐมนตรีเฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการสำนักงานอาเซียนและสำนักงานเลขาธิการอาเซียนในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และประสานงานกับสำนักงานเลชาธิการอาเซียนแห่งชาติและองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเวียนเฉพาะสาขา
         สำนักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือกรมอาเวียน เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน วึ่งแต่ละประเทศได้จักตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและความร่วมมือต่างๆ เกี่ยวกับอาเวียนในประเทศนั้นๆ สำหรับประเทศไทยหน่ยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมอาเวียน กระทรวงการต่างประเทศ
         องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยความประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทำงานและอำนาจหน้าทีจะได้กำหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนต่อไป
          มูลนิธิอาเซียน มูลนิธิกาเวียสนับสนุเลขาธิการอาเวียนและดำเนินการร่วมกับอค์กรของอาเวียนที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเวียน โดยการส่งเสริมความสำนึกที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน การดำเนินงานร่วมกันที่ใกล้ชิดระหว่งภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นักวิชาการ และผุ้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ในอาเซียนregion2.prd.go.th/main.php?filename=asean_structure
         ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 
          แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังตมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วย
          การพัฒนามนุษย์ 
          - ให้ความสำคัญกับการศึกษา
          - ลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
          - ส่งเสริมการจ้างงานทีเหมาะสม
          - ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ
          - การอำนวยความมสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
          - เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายะ และผุ้พิการ
          - พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ
         การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 
          - การขจัดความยากจน
          - เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
          - ส่งเสริมความมั่นคง และความปลอดภัยด้านอาหาร 
          - การเข้าถึงการดุแลสุขภาพและส่งเสริมการดำรงชีวิตที่มีสุขภาพ
          - การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
          - รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
          - การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
         ความยุติธรรมและสิทธิ
          - การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายุ และผุ้พิการ
          - การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
          - ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
         ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
          - การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก
          - การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน
          - ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมขอประชาชน
          - ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม
          - ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมืองต่างๆ ของอาเซียน และเขตเมือง
          - การทำการประสานกันเรืองนดยบายด้านส่ิงแวดล้อมและฐานข้อมูล
          - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝัง และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
          - ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาิต และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
          - ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำจืด
          - การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
          - ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
          การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
           - ส่งเสริมการตระหนักรับรุ้เกี่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม
           - การส่งเสริมและการอนุรักษณ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
           - ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
           - การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
           การลดช่องว่างทางการพัฒนา

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...