เมื่อคณะรัฐมนตรี(ครม.) ได้อนุมัติร่างยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พงศ. 2558-2560 ในช่วงที่ผ่านมา ทำให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเร่งเดินหน้ายุธศาสตร์เขตพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยว โยใช้กลยุทธ์อาเซียนคอนเน็ก เชื่อมโยง 5 ประเทศ สร้างท่องเที่ยวคุณภาพในแข็งแกร่งยิ่งขึ้น ในเเรื่องนี้ นางกอบกาญจน์ รัฒนวรางกุร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กล่ว่า ได้เร่งให้ทุกหน่วยงานเดินหน้าอย่างเต็มที่เพื่อนำไปสู่เป้าหมายการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ สร้างรายได้แก่ประเทศอย่างยั่งยืน โดยจะเป็นการพัฒนาทุกมิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อมในการนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล ช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจขยายตัวได้ตามเป้าหมาย
ขณะที่อาเซียนคอนเน็กซึ่งเป็นกลยุทธ์หนึ่งในแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560 ได้ดำเนินการไปแล้วในหลายส่วน เช่น การประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ย ACMECS ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศราฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง เป้นต้น ทั้งนี้ นางกอบกาญจน์ กล่าวว่าการท่องเทียวแบบเขตพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวจะเป็นทิศทางอนาคตของการท่องเที่ยวไทย เพราะอารยธรรมนกลุ่มล้านนาอีสานใต้และความเป็นเอกลักษณ์ของอันดามัน สามารถพัฒนาสินค้าท่องเทียวตามความสนใจเฉพาะไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้ตรงกลุ่มนิชมาร์เก็ต ไม่ว่าจะเป็นการท่องเทียวเชิงสุขภาพ หรือเมดิคัดแลนด์เวลเนส และท่องเที่ยวเชิงกีฬา หรือการท่องเที่ยวเพื่อากรอนุรักษ์ทางทะเลและป่าเขามรดกโลก เพื่อนไปสู่การเพ่ิมเรื่องเล่าแชร์ส่งต่อความประทับใจในการต่อยอดการทำการตลาดบนโลกออนไลน์แบบดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง เนื่องจากรูปแบบการท่องเที่ยว และเพ่ิมการใช้จ่าย พักผ่านแบบอยู่ยาวมากขึ้น จะช่วยทำให้เกิดการกระจายรายได้และเม็ดเงินลงสู่ประชาชนในพื้ที่ได้เป็นอย่างดี
สำหรับจำนวนนักท่องเที่ยวในช่วงวันที่ 1-31 กรกฎาคม 2558 มีจำนวน 2,6xx,xxx คน ขยายตัว 37.99% จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยักที่องเทียว 2 อันดับแรกคือ จีนและมาเลเซีย โดยสามารถสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวนับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 - กรกฎาคม 2558 มีรายได้จากการท่องเที่ยแล้ว 1.18 ล้านล้านบาท ขยายตัว 23.12% จากลวงเลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา
ด้าน นายอารีพงศ์ ภูชอุ่ม ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬากล่าวถึงการประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ยว ACMECS กลุ่มลุ่มแม่น้ำอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง ซึ่งประกอบด้วยประเทศที่มีชายแดนติดกันได้แก่เมียนมา กัมพูชา-ลาว-ไทย-เวียดนาม เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวหให้มีคุณภาพ ให้เชื่อมโยง และเติบโตยั่งยืน ว่า จากการ่่วมประชุมรัฐมนตรีการท่องเที่ยว ครั้งที่ 2 ทีประเทศเมียนมาที่ผ่านมามีสาระสำคัญด้วยกัน 7 เรื่อง ในการวางแผนทำงานระหว่างปี 2016-2018 โดยมีเป้หาหมายเดียวกันคือมุ่งเน้นการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ 7 ด้าน เป็นสำคัญ โดย
- เป็นการส่งเสริมการตลาดด้านการท่องเที่ย 5 ประเทศ 1 จุดหมายปลายทาง มีผู้รับผิดชอบคือ ไทย และเวียดนาม
- เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวโดยกัมพูชา
- การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการท่องเที่ยวมีเจ้าภาพ คือ ประเทศเมียนมา เป้ผุ้ดำเนินการ
- การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวมีเจ้าภพ คือ ประเทศเมียนมา เป้นผู้ดำเนินการ
- การพัฒนาคุณภาพ มีประเทศไทยและเวียดนามร่วมกันวางแผน
- ให้ความสำคัญเรื่องความปลอดภัย มีประเทศเวียดนามเป็นเจ้าภาพ และ
- การให้เอกชนมีส่วนร่วม ีประเทศลาวและเวียนดนามนำไปวางแผนกลยุทธ์
อย่างไรก็ตาม นายอารีพงศ์ยังกล่วต่อว่า ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว 5 ประเทศอาเวียนถือเป้ฯจุดเริ่มต้นที่ชัดเจนในการทำงานของกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา ซึ่งในช่วงที่ผ่านมามีากรศึกาาข้อมูลระดับลึกลงไปในแต่ละจังหวัด เืพ่อสามารถกำหนดแนวทางและยุทธศาสต์การทำงานให้เมาะกับแต่ละพื้ที่ พร้อมกับทำความเข้าใจกับประเทศเพื่อบ้านเพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่อยู่บนพื้นฐานแวคิดเดียวกัน
"การเดินหน้าด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียนเพื่อให้พัฒนาไปพร้อมๆ กัน จะต้องเร่ิมที่ 5
ประเทศ 1 จุดหมายปลายทาง ในการดึงนักท่องเที่ยวจรากทั่วโลกเข้ามใน 5 ประเทศ ให้มากขึ้นอาจจะต้องมีการเชื่อมโยด้านท่องเที่ยวทั้ง 5 ประทเศ ให้เป็นรูปธรรมากขึ้นด้วยการเด็บข้อมูลด้านการท่องเที่ยว พัฒนาเรื่องของแหล่งท่องเที่ยว ท่จะต้องมีมาตรฐานในการดำเนินการวมไปถึงการพัฒนาบุคลากร รวมไปถึงเรื่องความปลอดภัยที่จะต้องยกระดับในเรื่องดังกล่าวสูมาตรฐ,าานสากล" นายอารีพงศ์ กล่าว
อย่างไรก็ตาม นายอารีพงศ์ ยังกล่าวต่อวา เมื่อกระทรวงท่องเทยวรวมกับหน่วยงานต่างๆ มีความชัดเจนในเรื่องของการทำงานมากขึ้น สิ่งสำคัญที่จะตามคือกรสร้างโลจิสติก การคมนาคมที่ะดวกมากขึ้นโดยจะต้องมีความร่วมมือในการดึงนักลงทุนของแต่ละประเทศเข้ามาลงทุน เพื่อทำให้ภาคเอกชนเกิดความชัดเจนในการทำงานตามรูปแบบตามยุทธศาสตร์การท่องเทียวไทย พ.ศ. 2558-2560 ต่อไป
ขณะที่ นายอิทธิฤทธิ์ กิ่งเล็ก ประธนอุตสาหกรรมท่องเทียวแห่งประเทศไทย หรือ สทท. กล่าวถึงยุทธศาสตร์การท่องเทียว 5 ประเทศอาเซียน ว่าแนวทางดังกล่าวเป็นเรื่องที่ดีเนื่องจากจะทำให้เกิดความร่วมมือทางต้านการตลาด การเชื่อมฌยงเตรื่อข่ายด้านการท่องเที่ยว ดโยเฉพาะเมื่อทางภาครัฐเป็นผุ้ชับเคลื่อนก็ํจะทำให้ทางภาคเอกชนของไทยสามารถประสานการทำงานกับทางผุ้ประกอบการด้วยกันในกลุ่มอาเวียนเชื่อมโยงการตลาดได้สะดวกขึ้นเช่น การทำแ็กเกจการท่องเที่ยวร่วมกัน ในภูมิภาคนี และแนวคิดทิศทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวด่าง ๆ เพื่อเป้ฯประโยชน์ระหว่าประเทศมาชิกด้วยกัน เป็นต้น
"เอกชนสามารถผลักดันและสอดรับกับยุทธศาสตร์ดังกล่วด้วยการขยายฐานทางการตลาดให้กว้างขึ้น จากเดิมที่นำมาตลอดเมื่อมีภาครัฐเข้ามาขับเคลือนก็จะทำห้การทำงานกระชับและเห็นผลมากขึ้น นอกจากนี้ ยังช่วยให้นักท่องเทียวที่เดินทางในภูมิภาคนี้ใช้ประเทศไทยเป้ฯฮับก่อนจะเดินทางไปสู่แหล่งท่องเที่ยวในปะเทศต่างๆ ซึ่งจะทำให้ขยายวันพักและสร้งรายได้เข้ามาในภุมิภาคนี้มากขึ้น อีกทั้งยังเป้ฯการเพ่ิมความหลากหลายของเเหล่งท่องเที่ยวอีกด้วย" นาสยอิทธิฤทธิ์ กล่าว
อย่างไรก็ตา นายอิทธิฤทธิ์ กล่าวต่อว่า เลานี้มีเรื่องเดียวที่เป็นกังวลคือการอำนวยความสะดวกใเรื่องการผ่านแดนทั้งขาเข้าและขาออกจะต้งอมีความชัดเจน ทั้งในเรื่องสิทธิหรือข้อจำกัดต่างๆ ซึ่งจะต้องดำเนินการออกมาเป็นรูปธรรมชัดเจนทั้ง 5 ประเทศ นอกจากนี้ ทุุกแห่งน่าจะมีวามพร้อมเกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งท่องเทียวด้วย www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4418&filename=index
"สมคิด" กดปุ่ม "อาเวียน คอนเนกต์" เชื่อมโยงการท่องเทียวในกลุ่มอาเซียน ร่วมมือกันรวย ดึงการบินไทย-ไทยสมายล์-แอร์เอเชียทำแพ็กเกจ แทนที่จะแข่งขันกันเอง โดยมี ททท.ช่วยทำตลาด ด้านผุว่าการททท.เผยตัวอย่างเส้นทางเชื่อมโยง 5 ประเทศสุดอเมซซิ่ง ตั้งแต่ไทย-เมียนม่า-ลาว-เวียดนาม-กัมพูชา
นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังการประชุมมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว ร่วมกับนางกอบกาญจน์ วัมนวรางกุร รมว. การท่องเที่ยวและกีฬา นายยุทธศักดิ์ สภสร ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) และ 3 สายการบิน ได้แก่ การบินไทย ไทยสมายล์ และไทยแอร์เอเชีว่า ผลการเติบโตของการท่องเที่ยว น่าประทับใจมากทั้งในเรื่องขงอปริมาณคนและรายได้ ถือว่าเป้นผลงานชิ้นโบลแดงขงอกระทรวงการท่องเที่ยและ ททท. แต่จากนี้ไปจะเน้นเรื่องการขับเคลื่อนการปฏิรูปท่องเที่ยวให้ยังยืนและดีกว่าเดิม
ทั้งนี้ ได้ขอให้กาบินไทย ไทยสมายล์และไทยแอร์เอเชีย รวมทั้งสยการบินอื่นๆ รวมกันเป็นหมู่คณะ มานั่งประชุมกับ ททท. เพื่อออกแบบแพ็กเกจการท่องเที่ยวเชื่อมโยงในอาเว๊ยนหรืออาเว๊ยน คอนเนกต์ฺ ทั้งการเชื่อมโยงระหว่างเมืองต่อเมือง ระหวางอาเวีนด้วยกันเองและเชื่อมโยงนอกอาเวีน กับยิงตรงเข้มาสู่อาเวียนและกระจายเส้นทางออกไป เพื่อให้เกิดมิติตใหม่ของการท่องเที่ย โดย ทท. จะร่วมทำการตลาดและประชาสัมพันธ์ให้ด้วย ซึ่งวิธีนี้จะดีกว่าที่แตละสายการบินจะแข่งขันกันเอง
"ขณะนี้การท่องเที่ยวภายในอาเวียนโตขึ้นมาก ทั้งในอาเวียนด้วยกันเองและจากต่างปรเทศที่ต้องการเข้ามาเที่ยวในอาเวียน แต่ละประเทศมีจุดเด่นของตัวเอง นดยบายของการท่องเที่ยวคือจะเน้นเรื่องของอาเวียนคอนเนกต์ ถ้าในระหว่งอาซียนด้วยกันเอง มีนักท่องเที่ยวจากเมืองอะไรบ้างในกลุ่มประเทศซีแอลเอ็มวี ได้แก่ กัมพูชา ลาวเมียนมาและวียดนาม รวมถึงมาเลเซีย"
นายสมคิด กล่าววว่ การดึงนักท่องเที่ยวเข้ามาแลบะไปเที่ยวต่อที่อื่นไม่ใช่แค่เมืองไทย อาจจะเป้ฯอีกหน่งหรือสองประเทศก็ได้ ตอนนี้นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเดิมจะเที่ยวของเขาเอง แต่จะกนีไปและด้วยแนวคิดนี้นักท่องเที่ยวจากกลุ่มยุโรปจะสนใจแน่นอน จะเป้นมิติใหม่ของการท่องเที่ยว โดยจะมีการโปรโมตไปก่อน และเกิดขึ้นใจครึงปีหลัง ซึ่งจะมีประโยชน์สูงมก เพราะกลุ่มประเทศซีแอลเอ็มวีที่ีการเติบโตที่สูงมากและมีคนที่มีรายได้เพเ่มขคึ้นมาก มีการเติบโตต่อเนื่อง 2-3 ปี คนเหล่านี้ยินดีที่จะม่เที่ยวเมืองไทยอยู่แล้ว แตต้องการให้มาประเทศไทยและไปประเทศอื่นด้วย จึงต้องมีสายการบินที่พร้อม
ขณะที่นางกอบกาญจน์ กล่าวว่า การหารือครั้งนี้จะทำให้ไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยได้สมบูรณ์และช่วยสับสนุนให้นโยบายการท่องเที่ยวเชื่อมโยงในอาเวียนเป็นจริงได้ เพราะมีสายการบินหลายสายมาร่วมกันคิดแม้สายการบินนกแอร์ไม่ได้มา แต่ก็จะประสานให้มาร่วมดครงการนี้ด้วย นอกจากนี้คงต้องให้บริษทัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทอท. มาร่วมดั้วย เพราะเป้ฯผุ้กำหนดตารางการบินของายการบินทุกสายที่บินเข้าประเทศไทย....www.thairath.co.th/content/578963
เปิดกลยุทธ์ "กอบกาญจน์" ตอบจริตทัวริสต์ดันเป้า 2.4 ล้านล้านบาท
กอบกาญจน์ วัฒนาวรางกุร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาให้สัมภาษณ์ "ฐาน
เศรษฐกิจ" ว่าหลังจากเข้ารับตำแหน่งได้ร่วม 2 ปี ได้เดินหน้าทำยุทธศาสตร์ท่องเที่ยว วางรากฐานท่องเทียวไปสู่ตลาดนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ ยึดหลักสร้างควาสามดุลรายได้กับสังคม-สิิ่งแวดล้อมและให้เกิดการกระจายรายได้สู่ขุมชน โดยมีการบุรณาการทำงานร่วกับกระทรวงที่เกี่ยวข้อง 10 กระทรวง
แม้หลายคนมองว่าเป้นนามธรรมต่ก็ต้องทำ ขณะทนี้ไ้สะทอ้นออกมาในรูปของรายไ้ จะเห็นว่า การประเมินสถานการณ์ท่องเที่ยวไตรมาสแรกของปีนี้ พบว่ารายได้เพ่ิมข้น 18.2% เป็นไปตมที่รองนายกฯ สมคิดตั้งความหวังไว้ และเราพยายามไม่พูดถึงตัวเลโดยท่าน พล.อ,ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรีที่กำกับดูแลด้านท่องเที่ยวบอกว่าให้เราเจียมตัวไว้ก่อน ซึ่งลึกๆ แล้วน่าจะทำให้ รวม. การท่องเที่ยวฯ กล่าวอย่างมั่นใจพร้อมระบุวา สถานการณ์ไตรมาสแรกคาดจะมีจำนวนนักท่องเที่ย 8.94 เพิ่มขึ้น 14.3% สร้างรายได้ 4.56 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้น 18.2% จากปีที่แล้ว
ขณะนี้หลายคนไม่ห่วงวานักท่องเที่ยจะมไ่มา แต่ปัญหาอยู่ที่ว่ามาแล้วจะไปเที่ยวที่ไหนมากว่า เรื่องนี้ รมว. กอบกาญจน์ กล่าวว่า เราจึงต้องมี 12 เมืองห้ามพลาดและ 1 เมืองห้าพลด (พลัส) เพื่อกระจายนักท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้แม้แต่ละเมืองจะรับได้ไม่มาก เพราะไม่ใช่ตลาด แมส แต่ท้องถ่ินต้องขยันให้การดูแลนักท่องเทียว บางเมืองอาจจะรับได้มาน้อยต่างกัน ..
... กลยุทธ์ รมว. การท่องเที่ยวฯ มองว่าตลาดอาเวียนถือเป็นตลาดใหญ่ที่ประเทศไทยต้องวางตำแหน่งให้เป็นศุนย์กลงหรือฮับของบภุมิภาคนี้เพราะถ้าเราไม่ทำอะไร ก็จะสเเสียตลาดนักท่องเทียวไปแน่นอน โดยตามสถิติ ปี 2554 มีนักท่องเที่ยวในและนอกอาเว๊ยนเดินทางท่่องเที่ยวรวมกัน 81 ล้านคน ปี 2557 เพิ่มมาเป็น 105 ล้านคน แบ่งเป็นนักท่องเที่ยวจากนอกกลุ่มอาเวียน 56 ล้านคน หรือ 53.2% ที่เหลือเป็นอาเซียนเที่ยวกันเอง 49 ล้านคนหรือ 46.8% ใรกสนชบสบจีงปรฃะ 10%
"จากการพูดคุยกับ รมว. การท่องเที่ยวกัมพูชาเขาก็ตั้งความหวังว่านักท่องเที่ยวไทยก็คือเป้าหมายสำคัญของกัมพุชา ใครไม่มาไม่เป็นไรเขาขอให้คนไทยไปเทียวกัมพุชาก็พอ และต้องการให้นักลงทุนไทยเข้าไปสร้างโรงแรมเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวญี่ปุ่น ซึ่งเราต้องรีบดูลู่ทางการลงทุน ไม่เช่นนั้น ทุนจีน สิงคโปร์จะเข้าไปลงทุนหมด"
เรื่องนี้สะท้อนให้เห็ว่ามไ่ใช่ไทยที่หวังตลาดอาเซีนแต่ทุกประเทศก้หวังที่จะดึงนักท่องเที่ยวในภุมิภาคนี้เที่ยวกันเองส่วน 3 อันดับแรกนักท่องเที่ยวในอาเซียนที่มาไทยคือ มาเลเซีย ลาว และสิงคโปร์ เดินทางทางบก 53% จึงจำเป็นต้องพัฒนา ด่านชายแดนต่างๆ ขึ่นมารองรับ ขณะที่ผลสำรัวจพบว่านักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริบถึง 2.8 หมื่นบาท และนิยมมาซื้อเสื้อผ้าอันดับแรก รองลงม อาหารแห้งของขบเคี้ยว เครื่องหนัง อัญมนี เครื่องประดับ และเครื่องใช้ไฟฟ้า
ดังนั้นจึงเป็นโอกาสการขยายตลาดเพ่ิมเติมส่ิงที่เรากำลังเร่ิมทำ ต้องพยายามเป้นฮับให้มากขึ้นเรามีโลว์คอสต์แอร์ไลน์ที่จะทำให้เกิดเส้นทางเชื่อมโยงระหว่งเมืองหลักสู่เมืองหลัก เมือง
หลักสู่ท้องถ่ิน และท้องถ่ินสู่ท้องถ่ินเพื่อตันไทยเป็นฮับอย่งแท้จริงและได้มอบหมายใน้ ททท. ทำลิสต์เมืองต่างๆ เพื่อให้สายการบิน ไทยสมายล์ นกแอร์ แอร์เอเชีย เปิดเส้นทางบินใหม่ๆ รองรบนักท่องิที่ยวจากทั้งในอาเซียนและนอกอาเซียนให้มาไทยก่อนที่จะเดินทางไปประเทศอื่่นๆ ...www.thansettakij.com/content/39908
ผนึกเส้รทาง CLMV เพื่อนบ้านดันไทยผุ้นำท่องเที่ยวโยอาเซียนคอนเนก
ชาติอาเซียนหนุนไทยผุ้นำเปิดเส้นทางท่องเที่ยวเื่อซีแอลเอ็มวีเวียดนามเปิดตัว สามเหลี่ยมมรดกโลกเที่ยว 3 ประเทศ
นายยุทธศักดิ์ สุภสร ผุ้ว่าการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เปิดเผยว่ ขณะนี้นักท่องเที่ยวอาเวียน โดยเฉพาะกลุ่มประเทศซีแอลเอ็มวี (กัมพูชา สปป.ลาว. เมียนมาร์ และเวียดนาม) ให้ไทยเป็นผุ้นำเปิดเส้นทางเชื่อมโยงการเดินทางท่องเที่ยในโครงการอาเซียน คอนเนอก ภายใต้แนวคิด ทูคันทรี วันเดสติเนชั่น ภายใต้ 3 กลยุทธ์ส่งเสริมหลัก
ประกอบด้วย 1 สั่งการให้ทุกสำนักในประเทศซึ่งมีพื้นที่ท่องเที่ยวติดประเทศเพื่อบ้านเปิดเส้นทางท่องเที่ยวร่วมักน เช่น คุนหมิง ประเทศจีน เตรียมส่งสเริมการเดินทางพื้นที่สามาเหลี่ยมเศรษฐกิจ เชื่อมท่องเที่ยว สปป.ลาว ไทย ยูนนาน เป้นต้น 2. ทยายอเปิดเส้นทางคาราวาน และ 3. เส้นทางการบินใหม่ๆ ให้ครอบคลุม ทุกเมืองหลักและเมืองรอง
ทั้งนี้ล่าสุดสายการบินบางกอกแอร์เวย์ส เตรียมเปิดเส้นทางไปกลับ เชียงใหม่หลวงพระบาง เชียงใหม่-เวียงจันทน์ จำนวน 7 เที่ยวบิน/สัปดาห์ สายกาบินนกอแร์ เส้นทางไปกลับ ดอนเมือง-มัฒฑะเลย์ 3 เที่ยวบิน/สัปดาห์ และสายการบินไทยแอร์เอเชีย ดอนเมือง-เวียงจันทน์ จำนวน 7 เที่ยวบิน/สัปดาห์ เร่ิมเปิดให้บริการ 1 ก.ค.นี้ เป็นต้น
สำหรับแนวทางส่งเสริมการท่องเที่ยวชาติอาเซียนให้เกิดผลสำเร็จ มองว่ารัฐบาลแต่ละประเทศต้องเร่งผลักดันให้เกิดซิงเกิ้ลวีซ่า ซึ่งมีลัดกษณะเหมือนเชงเ้นวีซ่าในกลุ่มอียู โดย ททท. ยังเตรียมปรับกลยุทธ์ส่งเสริมนักท่องเที่ยวอาเซียนเดินทาง ท่องเที่ยวหมุนเวียนระหว่างกันเจาะกลุ่มระดับบน คาดว่าจะม่ไทยประมาณ 6.8-7 ล้านคน เพื่อลดการพึ่งพาตลาดจีนเป็นตลาดที่มีความเสี่ยง เพราะทุกประเทศต่างให้ความสำคัญ
www.posttoday.com/biz/aec/news/436410
นายวู นาม รองผุ้อำนวยการทั่วไผฝ่ายการตลาดท่องเที่ย กระทรวงวัฒนธรรมกีฬาและการท่องเที่ย ประเทศเวียดนาม กล่าวว่า ในวันที่ 9 มิ.ย.นี้ เวียดนามเปิดเส้นทางการท่องเที่ยวสามเหลี่มมรดกโลก เชื่อมโยการท่องเที่ยว 3 ประเทศ (หลวงพระบาง-อดรธานี-ฮาลองเบย์)เพื่อ่งเสริมการเดินทางท่องเทียวในชาติอาเซียน คาดปีนี้จะมีนักท่องเที่ยวคนไทยเดินทางเพ่ิมขึ้น วัดจากยอดการเดินทางเดิอน ม.ค.-พ.ค. ที่ผ่านมา เติบโต 38% อยู่ที่ราว 1.1 แสนคน ส่วนตลาดรวมนักท่องเที่ยวเดินทางทั้งหมด 4.5 ล้านคน คาดปีนี้ต่างชาติจะเดินทางเข้ามา 10 ล้านคน
ททท.ดันเปิด 42 รูตบินใหม่ หนุนเชื่อมเน็ตเวิร์กทั่วอาเซียน
ททท.ดัน 5 แอร์ไทย เปิด 42 เส้นทางการบินใหม่ แจ้งเกิด โครงการอาเวียน ลิงก์ หนุนไทยเป็นฮับบินอาเซียนและอินเดียรับกลยุทธ์ "อาเซียนคอนเน็กต์" ด้านบางกอกแอร์ นกแอร์ ไทยแอร์เอเชีย รับลูกประเดิมเปิด 6 รูตบินจากเชียงใหม่ ตราด กรุงเทพฯ สู่ประเทศซีแอลเอ็มวี โดยใช้เวที่ "ทีที่เอ็มพลัส" สร้าการับรู้ทั่วโลก ลั่นยังสนับสนุนโปรโมตตลาด 3 เดือนก่อนบิน หวังเพ่ิมทั่วริสต์ 10% ทั่วภูมิภาค
นายยุทธศักดิ์ สุภสร ผุ้ว่าการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เปิดเผยกับ "ฐานเศราฐกิจ" ว่าในขณะที่ ททท. ได้จัดทำร่างเ้นทางลบินที่มีศักยภาพในโครงการอาเซียนลิงก์ เน้นผลักดันให้สายการบินต่างๆ ของไทยพิจารณาโอากาสในการเปิดเส้นทางบิน เพื่อขยายตลาดและส่งเสริมห้เกิดการเดินการเดินทางท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียนภายใต้กลยุทธอาเซียน คอนเน็ค ซึ่งจากการศึกาษพบว่ามี 42 เส้นทางบิน โดยเป็นเส้นทางบินเชื่อมระวห่งเมืองหลักและเมืองรองในกลุ่มอาเซีย รวมถึงเมืองต่างๆ ในประเทศอินเดีย และเส้นทงบินภายในประเทศไทย เพื่อำนวนควาสสะดวกในการเดินทางท่องเที่ยวในภุมิภาคนี้เพ่ิมมากขึ้น...www.thansettakij.com/content/60438
วันเสาร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2560
วันศุกร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2560
MPAC 2025 II
ข้อริเริ่มที่ 7 : การจัดตั้งกรอบความร่วมมือร่วมมือเรื่องการจัดการข้อมูลดิจิทััลของอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี คือ เพื่อสนับสนุ ASEAN ICT Master Plane 2025 ซึ่งส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกรอบความร่วมมือในการปองกันข้อมุลส่วนบุคคลที่สอดคล้องและครอบคลุมกัน เร่ิมจากการสร้างความโปร่งใส ดดยวางแนวทางสำหรับการกำหนดข้อปฏิบัติและข้อพึงประสงคในการจัดการข้อมูลโดยประเทศสมาชิกอาเซียน และการพิจารณาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในระดับสากล ผ่านการจัดกตั้งเวทีเพื่อแบ่งปันประสบการณ์สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน
3. โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อลดค่าใช้จ่ายของห่วงโซ่อุปทานในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
- เพื่พัฒนาความรวดเร็วและความน่าเชื่อถือของห่วงโซ่อุปทานในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 8 : การเสริมสร้างความแข็.แกร่งในการแช่งขันของอาเซียนผ่านการพัฒนาเส้นทางการต้าและ โลจิสติกส์
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อมุ่งเน้นการวิเคราะห์ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายของเ้นทางการต้าที่มีความสำคัญระดับต่างๆในอาเซียน สามารถสนับสนุนข้อริเริ่มนี้ได้โดยการทำงานร่วมกับสภาบันวิชาการอง์กรพหุภาคี ภาคเอกชน และคู่เจรจาในการวิเคราะห์เวลาและค่าใช้จ่ายของเส้นทางการต้าในระดับต่างๆ รวมทั้งแก้ไขปัญหาจุดติดขัด โดยเร่ิมจากการะบุเส้นทางการต้าที่มีความสำคัญ การเลือกโภคภัณฑ์ที่มีการขนส่งในเส้นทางดังกลาวเพื่อทดสอบและรายงาน จากนั้นจึงรอบรวมข้อมูลที่ได้เพื่อบรรจุไว้ในคลังข้อมูล แล้วเผยแพร่ในเว็บไซต์ของความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนในหมวดเส้นทางการต้าและโภคภัณฑ์โดยกำหนดให้มีการปรับสถานะของข้อมูลให้เ็นปัจจุบันสม่ำ
ข้อริเริ่มที่ 9 : การส่งเสริมประสิทธิภาถของห่วงโซ่อุปทานโดยการแก้ไขปัญหาจุดติขัด (เชคพ้อยต์) ที่สำคัญ
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่ม คือ เพื่อพัฒนากรอบความร่วมมือของห่วงโซอุปทาน ซึ่งจะทำให้เกิดมาตรการการดำเนินงานเกี่ยวกับห่วงโซ่อุปทานแบบบูรณาการ โดยเร่ิมจากการเจาะจงเส้นทางการต้าที่สำคัญ(ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ) และทำความเข้าใจจุดติดขัน (เชคพ้อยต์) ต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางการต้าเหล่านี้ เช่น กาบริหารจัดการพรมแดน (ศุลกากร การตรวจคนเข้าเมือง การกักกันโรค) รวมไปถึงการจัดการการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของประชาชน สินค้า ระเบียบปฏิบัติ พิธีการด้านศุลกากร และแนวปฏิบัติในการจัดการพรมแดน โดยในการแก้ไขปัญหาจุดติดขัด (เชคพ้อยต์) จะใช้ข้อมุบทีมีอยู่แล้วรวมทั้งความเห็นของภาครัฐและเอกชนร่วมด้วย จากนั้จึงจะ
พัฒนาแผนการดำเนินงานร่วมกับคณะประสานงานด้านโลจิสติกส์ของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน (หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เทียบเท่า)
4. ความเป็นเลิศด้านกฎระเบียบ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อสร้างความสอดคตล้องหรือการยอมรับร่วมกันในมาตรฐาน ความสอดคล้อง และกฎระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มหลัก
- เพื่อลดจำนวนมาตการที่มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการต้าในประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 10 : การสร้างความสอดคล้องหรือการยอมรับร่วมกันในมาตรฐาน ความสอดคล้องและกฎ ระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มที่ได้รับการจัดอันดับความสำคัญ 3 กลุ่ม
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อสนับสนุนแผนงานประชาคมเศณาฐฏิจอาเซียน ค.ศ. 2025 ในการส่งเสริมการประสานงานระหว่างคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของ ASEAN กับเจ้าหน้าที่ด้านการต้าและ(ุ้ออกกฎระเบียบระดับชาติ โดยต้องเร่ิมจากการจัดอนดับความสำคัญของอสินค้ากลุ่มหลัก 3 กลุ่มโดยพิจารณาจากการไหลเวียนของการต้า ระดับของความสอดคล้องก้ดานมาตรฐาน ณ ปัจจุบัน อุปสรรคด้านการต้าเชิงเทคนิค สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบและความเกี่ยวข้องกับภาคเอกชน จากนั้น ต้องมีการรอบรวมและสร้างข้อเท็จจริงบนพื้นฐานของแนวปฏิบัติที่เป้น
เลิศระดับสากลในด้านมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิค รวมถึงประโชน์ที่ค่าดว่าประเทศสมาชิกอเาซียนจะได้รับ
ข้อริเริ่มที่ 11 : การเพิ่มความโปร่งใสและการสร้างความเข้มแข็งให้กับการประเมินผลเพื่อลดมาตรการที่ มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการต้า
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนงนประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ค.ศ. 2025 ในการเร่งขจัดอุปสรรคทางการค้า ที่มิใช่ภาษี โดย MPAC 2025 จะมี่วนช่วยในการเสริมสร้างความร่วมมือและวางกรอบแนวทาง ภายหลังจากการจัดตั้งคลังข้อมูลการต้าอาเซียน สำเร็จลุล่วง อันจะช่วยกระตุ้นให้กระบวนการการดำเนินงานของประเทศสาชิกอาเซียนในการลดมาตรการที่มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการค้ารวดเร็วขึ้น
5. การเคลื่อนย้ายของประชาชน
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- ส่งเสริมให้สมารถเดินทงระหว่างกันภายในอาเซียนได้ง่ายขึ้น
- ลดช่องว่างของอุปสงค์และอุปทานด้านทักษะฝีมือแรงงานในอาเซียน
- การเพ่ิมการเคลื่อนย้ายนักศึกษาในอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 12 : สนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอาเซียนโดยการทำให้สืบค้นข้อมุลได้ง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อทำให้นักท่องเที่ยวสามารถวางแผนการท่องเทียวได้ง่ายขึ้น ดดยการใช้เว็บไซต์ท่องเที่ยวอาเซ๊ยน ที่จะเป็น "one stop shop" ในการใหข้อมูลที่แม่นยำสำหรับการวางแผนการเดินทางในภูมิภาค โดยการพัฒนาเว็บไซต์นี้ ก่อนอื่นต้องตรวจสอบเว็บไซต์อื่นๆ ใน
ระดับชาติ ภูมิภาค และสากล เพื่อสามารถระบุโอกาสที่จะทำให้เว็บไซต์อาเซียนที่มีอยู่ดีขึค้น โดยมุ่งเน้นให้เนื่องหาตอบสนองความต้องการของผุ้ใช้ รวมทั้งมีแผนการเดินทางสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินทางในหลายประเทศในภุมิภาคอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 13 : สนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอาเซียนโดยการทำให้สืบค้นข้อมุลได้ง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่ออำนวนความสะดวกให้แก่ผุ้มาขอรับการตรวจลงตราโดยพัฒนาระบบการตรวจลงตราอิเล็กทรอนิกส์ บนเว็บไซต์อาเซียนให้กับผุ้ร้องออนไลน์ และในอนาคตอาจพัฒนาเป็น aon-stop application สำหรับนักท่องเที่ยว โดยภายใต้ระบบดังกล่าวนักท่องเที่ยวจะสามารถขอรับการตรวจลงตราสำหรับทุกประเทศสมาชิกอาเซียนโยใช้คำร้องรุปแบบเดียวกัน แต่สิทธิในการตรวจนั้นยังคงขึ้นอยู่กับประเทศปลายทาง
ข้อริเริ่มที่ 14 : การตั้งโครงการฝึกอบรมวิชาชีพ และการกำหนดคุณสมบัติทางวิชาชีพให้เป็นแบบเดี่ยว
กันในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน โดยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ภายในที่แตกต่งกัน ของแต่ละประเทศ
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อพัฒนาโครงการฝึกอบรมวิชาชีพขั้นสูง และการกำหนดกรอบคุณสมบัติทางวิชาชีพในกลุ่มประทศสมาชิกอาเวียนแปบบสมัครใจ โดย NPAC 2025 จะช่วยประสานโปรแกรมฝึกอบรมต่างๆ ระหว่งภาคการศึกษาและภาคแรงงาน เพื่อให้มั่นใจ่ มีการกำหนดคุณสมบัติทางวิชาชีพแบบเดียวกันในประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 15 : การสนับสนุนการเคลื่อย้ายทางการศึกษาภายในประเทศสมาชิกอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ ช่วงส่งเสริมข้อริเริ่มที่มีอยู่เดินนด้านการศึกษาอันรวมถึงโครงการมอบทุนการศึกาาให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัย โดยเนนการเพ่ิมการเคลื่อนย้ายนักศึกาาระหว่างกันในประเทศสมาชิกอาเซียน และแก้ไขช่วงว่างใน 4 ด้าน ได้แก่ ข้อมูล, การตระหนักรู้, กฎระเบียบและแรงจูงใจ โดยจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลออนไลน์ที่ละเดียดและแม่นยำเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย ประโยชน์และโอกาสในการศึกษาในประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งมีการอำนวนความสะดวกด้านการตรวจลวตรด้วย
- แผนแม่บทว่าด้วย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ค.ศ. 2025 (คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
ข้อริเริ่มที่ 9 : การส่งเสริมประสิทธิภาถของห่วงโซ่อุปทานโดยการแก้ไขปัญหาจุดติขัด (เชคพ้อยต์) ที่สำคัญ
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่ม คือ เพื่อพัฒนากรอบความร่วมมือของห่วงโซอุปทาน ซึ่งจะทำให้เกิดมาตรการการดำเนินงานเกี่ยวกับห่วงโซ่อุปทานแบบบูรณาการ โดยเร่ิมจากการเจาะจงเส้นทางการต้าที่สำคัญ(ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ) และทำความเข้าใจจุดติดขัน (เชคพ้อยต์) ต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางการต้าเหล่านี้ เช่น กาบริหารจัดการพรมแดน (ศุลกากร การตรวจคนเข้าเมือง การกักกันโรค) รวมไปถึงการจัดการการเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนของประชาชน สินค้า ระเบียบปฏิบัติ พิธีการด้านศุลกากร และแนวปฏิบัติในการจัดการพรมแดน โดยในการแก้ไขปัญหาจุดติดขัด (เชคพ้อยต์) จะใช้ข้อมุบทีมีอยู่แล้วรวมทั้งความเห็นของภาครัฐและเอกชนร่วมด้วย จากนั้จึงจะ
พัฒนาแผนการดำเนินงานร่วมกับคณะประสานงานด้านโลจิสติกส์ของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน (หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เทียบเท่า)
4. ความเป็นเลิศด้านกฎระเบียบ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อสร้างความสอดคตล้องหรือการยอมรับร่วมกันในมาตรฐาน ความสอดคล้อง และกฎระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มหลัก
- เพื่อลดจำนวนมาตการที่มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการต้าในประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 10 : การสร้างความสอดคล้องหรือการยอมรับร่วมกันในมาตรฐาน ความสอดคล้องและกฎ ระเบียบข้อบังคับทางเทคนิคสำหรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มที่ได้รับการจัดอันดับความสำคัญ 3 กลุ่ม
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อสนับสนุนแผนงานประชาคมเศณาฐฏิจอาเซียน ค.ศ. 2025 ในการส่งเสริมการประสานงานระหว่างคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของ ASEAN กับเจ้าหน้าที่ด้านการต้าและ(ุ้ออกกฎระเบียบระดับชาติ โดยต้องเร่ิมจากการจัดอนดับความสำคัญของอสินค้ากลุ่มหลัก 3 กลุ่มโดยพิจารณาจากการไหลเวียนของการต้า ระดับของความสอดคล้องก้ดานมาตรฐาน ณ ปัจจุบัน อุปสรรคด้านการต้าเชิงเทคนิค สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบและความเกี่ยวข้องกับภาคเอกชน จากนั้น ต้องมีการรอบรวมและสร้างข้อเท็จจริงบนพื้นฐานของแนวปฏิบัติที่เป้น
เลิศระดับสากลในด้านมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิค รวมถึงประโชน์ที่ค่าดว่าประเทศสมาชิกอเาซียนจะได้รับ
ข้อริเริ่มที่ 11 : การเพิ่มความโปร่งใสและการสร้างความเข้มแข็งให้กับการประเมินผลเพื่อลดมาตรการที่ มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการต้า
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนงนประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ค.ศ. 2025 ในการเร่งขจัดอุปสรรคทางการค้า ที่มิใช่ภาษี โดย MPAC 2025 จะมี่วนช่วยในการเสริมสร้างความร่วมมือและวางกรอบแนวทาง ภายหลังจากการจัดตั้งคลังข้อมูลการต้าอาเซียน สำเร็จลุล่วง อันจะช่วยกระตุ้นให้กระบวนการการดำเนินงานของประเทศสาชิกอาเซียนในการลดมาตรการที่มิใช่ภาษีซึ่งบิดเบือนด้านการค้ารวดเร็วขึ้น
5. การเคลื่อนย้ายของประชาชน
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- ส่งเสริมให้สมารถเดินทงระหว่างกันภายในอาเซียนได้ง่ายขึ้น
- ลดช่องว่างของอุปสงค์และอุปทานด้านทักษะฝีมือแรงงานในอาเซียน
- การเพ่ิมการเคลื่อนย้ายนักศึกษาในอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 12 : สนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอาเซียนโดยการทำให้สืบค้นข้อมุลได้ง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อทำให้นักท่องเที่ยวสามารถวางแผนการท่องเทียวได้ง่ายขึ้น ดดยการใช้เว็บไซต์ท่องเที่ยวอาเซ๊ยน ที่จะเป็น "one stop shop" ในการใหข้อมูลที่แม่นยำสำหรับการวางแผนการเดินทางในภูมิภาค โดยการพัฒนาเว็บไซต์นี้ ก่อนอื่นต้องตรวจสอบเว็บไซต์อื่นๆ ใน
ระดับชาติ ภูมิภาค และสากล เพื่อสามารถระบุโอกาสที่จะทำให้เว็บไซต์อาเซียนที่มีอยู่ดีขึค้น โดยมุ่งเน้นให้เนื่องหาตอบสนองความต้องการของผุ้ใช้ รวมทั้งมีแผนการเดินทางสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินทางในหลายประเทศในภุมิภาคอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 13 : สนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอาเซียนโดยการทำให้สืบค้นข้อมุลได้ง่ายขึ้น
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่ออำนวนความสะดวกให้แก่ผุ้มาขอรับการตรวจลงตราโดยพัฒนาระบบการตรวจลงตราอิเล็กทรอนิกส์ บนเว็บไซต์อาเซียนให้กับผุ้ร้องออนไลน์ และในอนาคตอาจพัฒนาเป็น aon-stop application สำหรับนักท่องเที่ยว โดยภายใต้ระบบดังกล่าวนักท่องเที่ยวจะสามารถขอรับการตรวจลงตราสำหรับทุกประเทศสมาชิกอาเซียนโยใช้คำร้องรุปแบบเดียวกัน แต่สิทธิในการตรวจนั้นยังคงขึ้นอยู่กับประเทศปลายทาง
ข้อริเริ่มที่ 14 : การตั้งโครงการฝึกอบรมวิชาชีพ และการกำหนดคุณสมบัติทางวิชาชีพให้เป็นแบบเดี่ยว
กันในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน โดยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ภายในที่แตกต่งกัน ของแต่ละประเทศ
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อพัฒนาโครงการฝึกอบรมวิชาชีพขั้นสูง และการกำหนดกรอบคุณสมบัติทางวิชาชีพในกลุ่มประทศสมาชิกอาเวียนแปบบสมัครใจ โดย NPAC 2025 จะช่วยประสานโปรแกรมฝึกอบรมต่างๆ ระหว่งภาคการศึกษาและภาคแรงงาน เพื่อให้มั่นใจ่ มีการกำหนดคุณสมบัติทางวิชาชีพแบบเดียวกันในประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 15 : การสนับสนุนการเคลื่อย้ายทางการศึกษาภายในประเทศสมาชิกอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ ช่วงส่งเสริมข้อริเริ่มที่มีอยู่เดินนด้านการศึกษาอันรวมถึงโครงการมอบทุนการศึกาาให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัย โดยเนนการเพ่ิมการเคลื่อนย้ายนักศึกาาระหว่างกันในประเทศสมาชิกอาเซียน และแก้ไขช่วงว่างใน 4 ด้าน ได้แก่ ข้อมูล, การตระหนักรู้, กฎระเบียบและแรงจูงใจ โดยจำเป็นต้องมีฐานข้อมูลออนไลน์ที่ละเดียดและแม่นยำเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย ประโยชน์และโอกาสในการศึกษาในประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งมีการอำนวนความสะดวกด้านการตรวจลวตรด้วย
- แผนแม่บทว่าด้วย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ค.ศ. 2025 (คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
วันพฤหัสบดีที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2560
MPAC 2025 (MASTER PLAN ON ASEAN CONNECTIVITY 2025)
อาเซียนได้จัดตั้งคณะกรรมการอาเซียน ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหวางกันในภูมิภาค เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนแม่บทฯ นี้คณะกรรมการดังกล่าวจะทำงานอย่างใกล้ชิดกับผู้ประสานงานระดับชาติ และหน่วยงาน ตลอดจนองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน ในสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตามยุทธศาสตร์และมาตรการสำคัญที่ได้ระบุไว้ในแผนแม่บท นอกจากนั้นได้มีการจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะ ในสำนักเลขาธิการอาเซียน เพื่อให้การสนับสนุนคณะกรรมการประสานงานฯ ในการประสานงาน ตรวจสอบ ติดตามเร่งรัด และรายงานผลความคือหน้าในการดำเนินการตามแผนแม่บทฯ ต่อผู้นำอาเซียน ผ่านคณะกรรมาธิการประสานงานอาเซียน.
แผนแม่บทฯ เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของผุ้นำอาเซียนที่จะขับเคลื่อนกระบวนการรวมตัวและก่อตั้งประชาคมอาเซียนในปี 2558 และรักษาแนวโน้มการขับเคลื่อนของการเป็นประชาคมอย่างต่อเนื่อง ภายหลัง ปี 2588
แผนแม่บทฯ ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนมีบทบาทเสมือนเชือกที่เชื่อมโยงและร้อยรัดเสาทั้งสามของประชาคมอาเซียนเข้าไว้ด้วยกัน ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน, ประชาคมเศณาฐฏิจอาเซียน และ ประชคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยแผนแม่บทจะเป็กำไกขับเคลื่อนการเชื่อมโยงผ่าน 3 มิติ คือ ควมเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบีบบ และความเชื่อมโยงด้านประชาชน
ดังนั้น อาเซยนจำเป็นต้องมแผนแม่บทฯ เพื่อเป็นกรอบการดำเนินการเชื่อมโยงในภูมิภาคใหมีประสทิธิภาพเพื่อเร่งดัดไปสู่เป้าหมายของการเป็นประชาคมอาเซียนและสิ่งสำคัญ คือ จะต้องมีการนำแผนแม่บทไปปฏิบัติใช้อย่างรวดเร็ซ และตรงตามกำหนดเวลา เพพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ
ความแตกต่างของแผนแม่บทฯ กับแผนงานต่างๆ ของอาเซียน ประการแรกการบูรณาการแผนงานต่างๆ ของอาเซียนเข้าด้วยกัน แผนงานต่างๆ ของอาเซยนส่วยมากได้รับการจัดทำขึ้นจกมุมมองขององคกรแต่ละภาคส่วนต่างๆ ของอาเซียนส่วนมากได้ับการจัดทำขึ้นจากมุมองขององคืการแต่ละภาคส่วนต่างๆ จึงขาดมุมมองในภาพรวม แผนแม่บทฯ ฉบับนี้จึงมีเป้าหมายที่จะเชื่อมโยงแผนงานต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยอาศัยความร่วมมือของหลายสาขา นอกจากนี้ แผนแม่บทฯ ยังให้ความสำคัญต่อข้อริเริ่มด้านการเชื่อมโยงในระดับอนุภูมิภาค
ประการที่สอง คือการรดมทรัพยากร แผนแม่บทฯ ได้เน้นย้ำถึงการระดมทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผลโดยได้กำหนดยุทธศาสตร์รองรับคณะทำงานระดับสูงฯ ยังได้นำประสบการณ์ของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย สถาบันเพื่อการวิจัยสำหรับอาเซียนและเอเลียตะวันออก คณะกรรมาธิการเศราฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก และธนาคราดลกมาใช้ในการจัดทำแผนแม่บทฯ นอกจากนั้น คณะทำงานระดับสูงฯ ยังคำนึงถึงบทบาทของประเทศคุ้เจรจาของอเซีนและหุ้นส่วนภายนอกภูมิภาครวมทั้งภาคเอกชน ที่ได้ให้ความช่วยเหลือหรือสนใตที่จะให้ความช่วยเหลืออาเซียนในข้อริเริ่มว่าด้วยความเชื่อมโยงเหล่านี้
- ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน(ฉบับย่อ), กองอาเซียน 3 กระทรวงการต่างประเทศ, ธันวาคม 2554.
วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ และข้อริเริ่มสำหรับความเชื่อมโยงระหว่างในอาเซียน ค.ศ.2025 MPAC 2025 หรือแผนแม่บทฯ 2568 ได้กำหนกยุทธศาสตร์ ไว้ 5 ด้าน ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน, นวัตกรรมดิจิทัล, โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ, ความเป็นเลิศด้านกฎระเบียบ, การเคลื่อนย้ายของประชาชน
1.โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อเพิ่มศักยภาพลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐและภาคเอกชนในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
- เพื่อส่งเสริมการประเมินผลและการแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านผลติภาพของโครงสร้างพื้นฐานในอาเซียน
- เพื่อส่งเสริมการใช้ต้นแบบของการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดภายในภูมิภาคในอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 1 : การสร้างบัญชีรายชื่อโครงการเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานที่มีศักยภาพของอาเซียนและ แหล่งเงินทุน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อจัดการกับประเด็นด้านข้อมูลและช่องวางของขีดควมสามารถในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน โดยขึ้นตอแรกของการดำเนินการคือ จัดทำบรรทัดฐานสำหรับการคัดเลือกโครงการโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ โดยใช้รูปแบบของข้อมุลโครงการที่มีมาตรฐานเดียวกัน และเมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว จะรวบรวมไว้ในฐานข้อมูลออนไลน์และเผยแพร่สู่สาธารณชน เพื่อที่นักลงทุนจะสามารถเข้าถึงข้อมุลดังกล่าวได้โดยงาย นอกจากนี้ ฐานข้อมูลออนไลน์ยังจะให้ข้อมุลเกี่ยวกับแหล่งเงินทุนต่างๆ ที่สามารถนำมาใช้เพื่อช่วยเหลือด้านเงินทุนของโครงการอีกด้วย
ข้อริเริ่มที่ 2 : การสร้างแนวปฏิบัติของอาเซียนเพื่อวัดผลและพัฒนาผลิตภาพของโครงสร้างพื้นฐาน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อวินิจฉัยผลิตภาพของโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมและแสวงหาโอกาสในการพัฒนาการวางแผน การประกาศ และการดำนเนิงานในด้านโครงสร้างพื้นลฐญานโดยเริ่นต้นต้นดำเนินงานจากขององค์กรและสถาบันต่างๆ ในภุมิภาค ซึ่งป็ฯกรอบการทำงานที่อเาซียนเคยเห็นชอบให้รับผิดชอบในการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ในแต่ละประเทศสมาชิกอาเวียน โดยข้อมูลที่ได้นี้จะถูกนำมาอภิปรายในเวทีของเจ้าหน้าี่ผู้รับผิดชอบเรื่องโตครงสร้างพื้นฐานของประเทศสมาชิอาเซียนเพื่อแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ และจะมีการติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความชัดเจนเกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ ที่ได้มีการดำเนินการไปแล้ว
ข้อริเริ่มที่ 3 : ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งบยืนของเมืองต่างๆ ในอาเวียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อขยายต้นแบบการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดในอาเซียนโดยสามารถศึกษาตัวอย่างได้จากเมืองต่างๆ ของอาเซียน อาทิ การรักษามรกดทางวัฒนธรรมของเมือง จอร์จทาวน์ การลดการพึ่งพารถยนต์และการลงทุนต่างๆ ของเมืองเมดานเพื่อทำให้เมืองเปนมิตรต่อการเดินเท้ามากขึ้น การเสริมสร้างขีดความสามารถของสถาบัและการจัดการกับการทุจริตของเมืองดานังดังนั้น แผนแม่บทฯ จึงควรใช้โอกาสนี้ในการสนับสนุนการทำงานกับองค์กรต่างๆ ของอาเวียนและองค์กรพหุภาคีอื่นๆ โดยการตรวจสอบโครงการที่ีอยู่แล้วในอาเวียนและนกรอบอนุภูมิภาค รวมทั้งในฐานข้อมูลต่างๆ ที่สามารถนำมาปฏิบัติได้จริง
2. นวัตกรรมดิจิทัล
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีของวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม
- เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนผ่านนวัตกรรมดิจิทัล
- เพื่อพัฒนาข้อมูลแบลบเปิดในประเทศสมาชิกอาเซียน
- เพื่อสนับสนุนการบริหารข้อมูลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่ม 4 : การเสริมสร้างฐานเทคโนโลยีสำหรับวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อสนับสนนุแผนงานของคณะกรมมการประสานงานอาเซียนว่าวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม ในการเสริมแสร้างการใช้เทคโนโลยีกับภาคธุรกิจ โดยขั้นตอนแรกในการดำเนินงานคือ การแก้ไขปญหาที่เกี่นยวข้องกับการขาดความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสำหรับ MSMEs ในภูมิภาค การรวบรวมแนวปฏิบติที่เป็นเลิศในอาเซียน การจัดเวทีสำหรับผุ้มีส่วนเกี่ยวข้อง และการสร้าง ASEAAN SME Portal เพื่อเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ในด้าน MSMEs ของอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 5 : การพัฒนากรอบการทำงานด้านความครอบคุลมทางการเงินแบบดิจิทับในอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อส่งเสริมความคอบคลุมทางการเงิน ดดยการขยายการสร้างผลิตภัฒฑ์และบริการทางการเงินให้แก่ขุมชนที่กว้างขึ้น อันรวมถึงวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดยอมด้วย รวมทังเพื่อสนับสนุน ASEAN ICT Maaster Plan 2020 ที่ต้องการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการต้าดิจิทัลและการชำระเงนิทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ MPAC 2025 มุ่งเน้นให้เกิควดความร่วมมือระหว่างผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียในหลายภาคส่วน และสนับสนุนแนวทางอันจะได้รับการรับรองโดยคณะทำงาน ว่าด้วยความครอบลุมทางการเงิน และคณะทำงานว่าดวยระบบการชำระเงินของอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 6 : การสร้างเครือข่ายข้อมุลแบบเปิดของอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของ ASEAN ICT Master Plan 2020 ซึ่งได้ระบุจำนวนการดำเนินงานที่มประสิทธิภาพในการพัฒนาข้อมุลแบบเปิดและข้อมูลที่มีขนาดใหญ่จากหลายๆ ภาคส่วน โดยมีขันตอนการดำเนินงานในขันแรกคือ การจัดตั้งเวทีสำหรับภาคเอกชขนในการแบ่งปันการพัฒนาและกิจกรรมในการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ อีกทั้งยังรวมไปถึงการพัฒนาข้อมูลสาะารณะและความพร้อมในอาเวียน และการสร้าง "พจนานุกรมข้อมุลอาเซียน" เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลออนไลน์แบบเปิดของอาเซียน นอกจากนี้ MPAC 2025 ยังสามารถสนับสนุน ASEAN ICT Master Plan 2020 ในการประสานประเด็นคาบเกี่ยวระหว่าง TELSOM กับองค์กรเฉพาะสาขาอื่นๆ ของอาเซียนอีกด้วย....
- "แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ค.ศ. 2025. (คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
แผนแม่บทฯ เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของผุ้นำอาเซียนที่จะขับเคลื่อนกระบวนการรวมตัวและก่อตั้งประชาคมอาเซียนในปี 2558 และรักษาแนวโน้มการขับเคลื่อนของการเป็นประชาคมอย่างต่อเนื่อง ภายหลัง ปี 2588
แผนแม่บทฯ ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนมีบทบาทเสมือนเชือกที่เชื่อมโยงและร้อยรัดเสาทั้งสามของประชาคมอาเซียนเข้าไว้ด้วยกัน ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน, ประชาคมเศณาฐฏิจอาเซียน และ ประชคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยแผนแม่บทจะเป็กำไกขับเคลื่อนการเชื่อมโยงผ่าน 3 มิติ คือ ควมเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบีบบ และความเชื่อมโยงด้านประชาชน
ดังนั้น อาเซยนจำเป็นต้องมแผนแม่บทฯ เพื่อเป็นกรอบการดำเนินการเชื่อมโยงในภูมิภาคใหมีประสทิธิภาพเพื่อเร่งดัดไปสู่เป้าหมายของการเป็นประชาคมอาเซียนและสิ่งสำคัญ คือ จะต้องมีการนำแผนแม่บทไปปฏิบัติใช้อย่างรวดเร็ซ และตรงตามกำหนดเวลา เพพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ
ความแตกต่างของแผนแม่บทฯ กับแผนงานต่างๆ ของอาเซียน ประการแรกการบูรณาการแผนงานต่างๆ ของอาเซียนเข้าด้วยกัน แผนงานต่างๆ ของอาเซยนส่วยมากได้รับการจัดทำขึ้นจกมุมมองขององคกรแต่ละภาคส่วนต่างๆ ของอาเซียนส่วนมากได้ับการจัดทำขึ้นจากมุมองขององคืการแต่ละภาคส่วนต่างๆ จึงขาดมุมมองในภาพรวม แผนแม่บทฯ ฉบับนี้จึงมีเป้าหมายที่จะเชื่อมโยงแผนงานต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยอาศัยความร่วมมือของหลายสาขา นอกจากนี้ แผนแม่บทฯ ยังให้ความสำคัญต่อข้อริเริ่มด้านการเชื่อมโยงในระดับอนุภูมิภาค
ประการที่สอง คือการรดมทรัพยากร แผนแม่บทฯ ได้เน้นย้ำถึงการระดมทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผลโดยได้กำหนดยุทธศาสตร์รองรับคณะทำงานระดับสูงฯ ยังได้นำประสบการณ์ของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย สถาบันเพื่อการวิจัยสำหรับอาเซียนและเอเลียตะวันออก คณะกรรมาธิการเศราฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก และธนาคราดลกมาใช้ในการจัดทำแผนแม่บทฯ นอกจากนั้น คณะทำงานระดับสูงฯ ยังคำนึงถึงบทบาทของประเทศคุ้เจรจาของอเซีนและหุ้นส่วนภายนอกภูมิภาครวมทั้งภาคเอกชน ที่ได้ให้ความช่วยเหลือหรือสนใตที่จะให้ความช่วยเหลืออาเซียนในข้อริเริ่มว่าด้วยความเชื่อมโยงเหล่านี้
- ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน(ฉบับย่อ), กองอาเซียน 3 กระทรวงการต่างประเทศ, ธันวาคม 2554.
วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ และข้อริเริ่มสำหรับความเชื่อมโยงระหว่างในอาเซียน ค.ศ.2025 MPAC 2025 หรือแผนแม่บทฯ 2568 ได้กำหนกยุทธศาสตร์ ไว้ 5 ด้าน ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน, นวัตกรรมดิจิทัล, โลจิสติกส์ไร้รอยต่อ, ความเป็นเลิศด้านกฎระเบียบ, การเคลื่อนย้ายของประชาชน
1.โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อเพิ่มศักยภาพลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐและภาคเอกชนในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
- เพื่อส่งเสริมการประเมินผลและการแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านผลติภาพของโครงสร้างพื้นฐานในอาเซียน
- เพื่อส่งเสริมการใช้ต้นแบบของการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดภายในภูมิภาคในอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 1 : การสร้างบัญชีรายชื่อโครงการเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานที่มีศักยภาพของอาเซียนและ แหล่งเงินทุน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อจัดการกับประเด็นด้านข้อมูลและช่องวางของขีดควมสามารถในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน โดยขึ้นตอแรกของการดำเนินการคือ จัดทำบรรทัดฐานสำหรับการคัดเลือกโครงการโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ โดยใช้รูปแบบของข้อมุลโครงการที่มีมาตรฐานเดียวกัน และเมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว จะรวบรวมไว้ในฐานข้อมูลออนไลน์และเผยแพร่สู่สาธารณชน เพื่อที่นักลงทุนจะสามารถเข้าถึงข้อมุลดังกล่าวได้โดยงาย นอกจากนี้ ฐานข้อมูลออนไลน์ยังจะให้ข้อมุลเกี่ยวกับแหล่งเงินทุนต่างๆ ที่สามารถนำมาใช้เพื่อช่วยเหลือด้านเงินทุนของโครงการอีกด้วย
ข้อริเริ่มที่ 2 : การสร้างแนวปฏิบัติของอาเซียนเพื่อวัดผลและพัฒนาผลิตภาพของโครงสร้างพื้นฐาน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อวินิจฉัยผลิตภาพของโครงสร้างพื้นฐานในภาพรวมและแสวงหาโอกาสในการพัฒนาการวางแผน การประกาศ และการดำนเนิงานในด้านโครงสร้างพื้นลฐญานโดยเริ่นต้นต้นดำเนินงานจากขององค์กรและสถาบันต่างๆ ในภุมิภาค ซึ่งป็ฯกรอบการทำงานที่อเาซียนเคยเห็นชอบให้รับผิดชอบในการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ในแต่ละประเทศสมาชิกอาเวียน โดยข้อมูลที่ได้นี้จะถูกนำมาอภิปรายในเวทีของเจ้าหน้าี่ผู้รับผิดชอบเรื่องโตครงสร้างพื้นฐานของประเทศสมาชิอาเซียนเพื่อแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ และจะมีการติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความชัดเจนเกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ ที่ได้มีการดำเนินการไปแล้ว
ข้อริเริ่มที่ 3 : ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งบยืนของเมืองต่างๆ ในอาเวียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อขยายต้นแบบการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดในอาเซียนโดยสามารถศึกษาตัวอย่างได้จากเมืองต่างๆ ของอาเซียน อาทิ การรักษามรกดทางวัฒนธรรมของเมือง จอร์จทาวน์ การลดการพึ่งพารถยนต์และการลงทุนต่างๆ ของเมืองเมดานเพื่อทำให้เมืองเปนมิตรต่อการเดินเท้ามากขึ้น การเสริมสร้างขีดความสามารถของสถาบัและการจัดการกับการทุจริตของเมืองดานังดังนั้น แผนแม่บทฯ จึงควรใช้โอกาสนี้ในการสนับสนุนการทำงานกับองค์กรต่างๆ ของอาเวียนและองค์กรพหุภาคีอื่นๆ โดยการตรวจสอบโครงการที่ีอยู่แล้วในอาเวียนและนกรอบอนุภูมิภาค รวมทั้งในฐานข้อมูลต่างๆ ที่สามารถนำมาปฏิบัติได้จริง
2. นวัตกรรมดิจิทัล
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
- เพื่อสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีของวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม
- เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนผ่านนวัตกรรมดิจิทัล
- เพื่อพัฒนาข้อมูลแบลบเปิดในประเทศสมาชิกอาเซียน
- เพื่อสนับสนุนการบริหารข้อมูลระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
ข้อริเริ่ม 4 : การเสริมสร้างฐานเทคโนโลยีสำหรับวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อสนับสนนุแผนงานของคณะกรมมการประสานงานอาเซียนว่าวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม ในการเสริมแสร้างการใช้เทคโนโลยีกับภาคธุรกิจ โดยขั้นตอนแรกในการดำเนินงานคือ การแก้ไขปญหาที่เกี่นยวข้องกับการขาดความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสำหรับ MSMEs ในภูมิภาค การรวบรวมแนวปฏิบติที่เป็นเลิศในอาเซียน การจัดเวทีสำหรับผุ้มีส่วนเกี่ยวข้อง และการสร้าง ASEAAN SME Portal เพื่อเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ในด้าน MSMEs ของอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 5 : การพัฒนากรอบการทำงานด้านความครอบคุลมทางการเงินแบบดิจิทับในอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเริ่มนี้ คือ เพื่อส่งเสริมความคอบคลุมทางการเงิน ดดยการขยายการสร้างผลิตภัฒฑ์และบริการทางการเงินให้แก่ขุมชนที่กว้างขึ้น อันรวมถึงวิสาหกิจขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดยอมด้วย รวมทังเพื่อสนับสนุน ASEAN ICT Maaster Plan 2020 ที่ต้องการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการต้าดิจิทัลและการชำระเงนิทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ MPAC 2025 มุ่งเน้นให้เกิควดความร่วมมือระหว่างผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียในหลายภาคส่วน และสนับสนุนแนวทางอันจะได้รับการรับรองโดยคณะทำงาน ว่าด้วยความครอบลุมทางการเงิน และคณะทำงานว่าดวยระบบการชำระเงินของอาเซียน
ข้อริเริ่มที่ 6 : การสร้างเครือข่ายข้อมุลแบบเปิดของอาเซียน
วัตถุประสงค์ของข้อริเร่ิมนี้ คือ เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของ ASEAN ICT Master Plan 2020 ซึ่งได้ระบุจำนวนการดำเนินงานที่มประสิทธิภาพในการพัฒนาข้อมุลแบบเปิดและข้อมูลที่มีขนาดใหญ่จากหลายๆ ภาคส่วน โดยมีขันตอนการดำเนินงานในขันแรกคือ การจัดตั้งเวทีสำหรับภาคเอกชขนในการแบ่งปันการพัฒนาและกิจกรรมในการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ อีกทั้งยังรวมไปถึงการพัฒนาข้อมูลสาะารณะและความพร้อมในอาเวียน และการสร้าง "พจนานุกรมข้อมุลอาเซียน" เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลออนไลน์แบบเปิดของอาเซียน นอกจากนี้ MPAC 2025 ยังสามารถสนับสนุน ASEAN ICT Master Plan 2020 ในการประสานประเด็นคาบเกี่ยวระหว่าง TELSOM กับองค์กรเฉพาะสาขาอื่นๆ ของอาเซียนอีกด้วย....
- "แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ค.ศ. 2025. (คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560
ASEAN CONNECTIVITY IV
ความท้าทายอันเกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
1 การปรับตัวของภาคการเกษตร ในปัจจุบันาคการเกษตรของไทยจะมีสัดส่วนมูลค่าการผลตเพียงแค่ร้อยละ 10 ของGDP ของทั้งประเทศ แต่ประเทศไทยยังคงเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการส่งออกสินค้าเกษตรในระดับสุง โดยสินค้าส่งออกหลักของไทย ประกอบด้วย
- ข้าว ซึ่งในปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วดลก 5.341.1 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 706.8 ล้านดอลล่าร์ ( 13.23%)
- น้ำตาลทรายและกากน้ำตาลในปี 2553 มีมุลค่าส่งออกทั่วโลก 2,182.5 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 1,263.1 ล้านดอลลาร์ ( 57.79%)
- ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วดลก 2,161.4 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 535.7 ล้านดอลลาร์ ( 16.36%)
ยางพารา ในปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วโลก 7,896 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 1,467.8 ล้านดอลลาร์ (18.59%)
หากมองในภาพรวมแล้ว โดยมีประเทศสมาชิกอาเซียนต่างมีภูมประเทศที่คล้ายคลึงกัน ลักาณะสินค้าจึงไม่ได้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ทำให้ปริมาณการส่งออก หรือนำเข้าสินค้าจึงไม่ได้มีความแตกต่างอย่างขัดเจน ทำให้ปริมาณการส่งออก หรือนำเข้าสินค้าระหว่างกันจะไม่ได้รับผลกระทบมากนัก แม้จะมีความเชื่อมโยงระหว่างกันสูงก็ตาม
แม้ว่าความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนจะนำมาซึ่งโอกาสทางเศราฐกิจอย่างกว้างขวาง แต่เกษตรกรและผุ้ประกอบการก็จำเป้นต้องเร่งปรับตัวและหาทางใช้ประโยชน์จากโอกาสดังกล่าวอยางเต็มที่ ดดยควรศึกษาหาลู่ทางในการใช้ช่องทางการขนส่งสินค้ารูปแบบใหม่ๆ การพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผุ้บริโภคอาเซียน รวมไปึถงการขยายการลงทุนไปยังประเทศอาเซียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งการลดอุปสรรคทางการต้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี
2. การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรมนับเป้ฯภาคการผลิตที่มีความสำคัญทางเศณาฐกิจของสมาชิกอาเซียนรวมทั้งประทเศไทย เนื่องจากมีมูลค่าในสัดส่วนเมื่อเรปรียบเทียบกับ GDP ของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องเร่งเพ่ิมพูนขีดความสามารถในการแขช่งขัน ดดยากรพัฒนาคุณภาพสินค้า และบิรการ ตลอดจนลดต้นทุนของการผลิต แนวทางหนึ่งซึ่จะช่วยลดต้อนทุนการผลิตดดยอาศัยประโยชน์จากความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน คือ การนำเข้าวัตถุดิบหรือสินค้าประเภทกึ่งสำเร็จรูปจากสมาชิกอาเซียน ที่มีคุณภาพดี ราคาเหมาะสมในอัตราภาษีร้อยละ 0 มาผลิต หรือต่อยอดมูลค่าเพิ่มสินค้า ก็เพื่อลดต้นทุน และเปนการสร้างรายได้เพ่ิมให้กับประทเศุ้สงออก และนำเข้า
3. การระดมเงินทุนเพื่อก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2554 อาเซียนได้เห็จชอบการจัดตังกองทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน กองทุนนี้มีจุดกำเนิดมาจากข้อเสนอของไทยในการประชุม
รัฐมนตรีคลังอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ 2552 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยประเทศสมาชิกในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ ถนน ทางรถไฟ หรือโครงสร้างพื้นฐานสำคัญด้านพลังงานและอื่นๆ เพื่อกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่งจะนำไปสู่การลดข่องว่างทางรายได้ภายในภุมิภาคในที่สุด
ในเบื้องต้นกองทุนนี้มีเงินตั้งต้นจำนวน 485.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ดดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย จะให้เงินสนับสนุนจำนวน 150 ล้านดอลลาร์สหรัฐในระยะต่อไปเมื่อกองทุนฯ มีความเข้มแข็งมากขึ้น จะมีการออกธนบัตรกึ่งหนีุ้นเพอให้ประเทศสมาชิกและผุ้สนใจร่วมลงทุนด้วยอย่างไรก็ตามการระดมเงินทุนเป้าหมายจากประเทศสมาชิกจำเป็นต้องมีความต่อเนื่องและเพียงพอต่อการดำเนินโครงการสำคัญๆ ต่างๆ ในอนาคต
ในปีแรกกองทุนฯ จะให้เงินยืมจำนวน 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสนับสนุนโครงการด้านการเชื่อมดยงในภุมิภาคใน 3 ด้าน คือ การคมนาคมขนส่ง พลังงาน และการจัดการน้ำ โดย ADB จะออกเงินสมทบดครงการเหล่านี้ด้วย
กองทุนฯ ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซียโดยมีลักษณะเป็นบริษัทจำกัด ดำเนินการภายใต้กฎหมายของมาเลเซียและมีประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นกรรมการบริหารกำกับดูแลการดำเนินการของกองทุนฯ ร่วมกับ ADB
4. การสร้างอัตลักาณ์อาเซียน และการใช้ภาษาสื่อสารระหว่างกัน การสงเสริมความเชื่อมโยงด้านประชาชนมุ่งเน้นการสร้างความรุ้ความเข้าใจระหว่างประเทศสมาชิกในด้านความเชื่อยงทางประวัติศาสตร์มรดกทางวัฒนธรรมอาศัยการสร้างทัศนคติที่ดีต่อกันระหว่งพลเมืองในภูมิภาค ซึ่งมีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่มีความขัดแย้ง และหลากหลายซึ่งเป็นส่ิงที่ท้าทายสำหรับอาเซียนในการสร้างเอกลักษณ์ร่วมกัน
นอกจากนี้ความแตกต่างทางด้านภาษายังเป็นอุสรรคสำคัญในการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ ดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานไทยยังคงมีจุอ่อนทางด้สนภาษา ส่งผลให้แรงงานไทยสูญเสียโอกาสการได้งานทำ เมพื่อเปรียบเทียบกับแรงงานในประเทศเืพ่อบ้านจึงเป้ฯจุดอ่อนที่ทำให้บรรดานายจ้าง เลือกแรงงานที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษเข้ามาทำงานก่อน
กล่าวโดยสรุป
- ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน คือ ข้อริเริ่มที่จะยกระดับการเชื่อมโยงกันของอาเว๊ยน ทั้งในด้านดครงสร้างพื้นฐษน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชนให้ก้าวไปด้วยกันอย่างราบรื่นและมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นส่ิงที่สำคัญมากต่อการนำไปสู่ความเป้ฯประชาคมอาเซียน โยมีองค์ประกอบหลักที่สำคัญ ได้แกj
ความเชื่อมดยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ากรคมนาคม เทคโนลโลนีสารสนเทศและการสื่อสาร และพลังงาน ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน หมายถึง โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้านคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศและพลังงาน ตลอดจนกรอบกฎระเบียบที่จำเป็นในการให้บริการสาธารณณปโภคที่เกี่ยวข้อง
แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่งกนในอาเซียนได้กำหนด 7 ยุทธศาสตร์หลักในการเพ่ิมพูนความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ดังนี้
- ก่อสร้างทางหลวงอาเซียนให้แล้วเสร็จ
- ดำเนินโครงการเส้นทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ
- สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำบนภาคพื้นทวีปให้มีประสิทธิภาพและเชือมโยงกัน
- สร้างระบบขนส่งทางทะเลที่เชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ และสามารถแข่งขันได้
- สร้างระบบการขนสงต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คบ่องตัวเพื่อให้อาเซียนเป้นศูนย์กลางการขนส่งในเอชียตะวัออกและภูมิภาคอื่นๆ
- เร่งรัดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศสมาชิก
- ให้ความสำคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน
ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ การเปิดเสรีทางการต้าและการอำนวยความสะดวกทางการต้า การเปิดเสรีและการอำนวยคามสะดวกในการบริการและการลงทุน ความตกลง/ ข้อตกลง ยอมรับร่วมกัน ความตกลงการขนส่งในภูมิาภค พิธการในกาข้ามพรมแดน และดคงการเสริมสร้างศักญภาพต่างๆ ยุทธศาสตร์หลักในแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระวห่งกันในอาเซียเพื่อการเพ่ิมพูนความเชื่อมดยงด้านกฎระเบียบ มีดังนี้
- ดำเนินตามกรอบความตกลงทั้ง 3 กรอบว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่ง
- เร่ิมดำเนินโครงการการอำนวยความสะดวกด้านขนส่งผุ้โดยสาร ในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ
- สร้างตลาดการบินเดียวภายในอาเซียน
- สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน
- เพ่ิมการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสีในภูมิภาคอาเซียน โดยการลดอุปสรรคทางการต้าภายในระดับภูมิภาค
- เร่งรัดการพัฒนาภาคกรบริการทางการขนส่งให้มีประสิทธิภาพและแขงขันได้โดยเฉพาะในสาขาโทรคมนาคม และารบริาการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อมโยงในภูมิภาค
- การพัฒนาโครงการการอำนวยความสะดวกทางด้านการต้าในภูมิภาคอยางจริงจัง
- ยกระดับความสามารถของการบริหารจัดากรพรมแดน
- เร่งรัดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดรับการลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาคายใต้กฎระเบีบการลงทุนที่เป็นธรรม
- เสริมสร้างความสามารถของหน่ยงานด้านกฎระเบียบในพื้นที่ และประเทศที่พัฒนาน้อยกว่าในภูมิภาคและปรับปรุง การประสานงานทางด้านนโยบาย แผนงานและดครงการในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค
ความเชื่อมโยงด้านประชาชน การศึกษา วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว คือ การเชื่อมโยงทางสังคมและวัฒนธรรมที่ประานและยึดรวมประชาชนเข้าไว้ด้วยกัน ดดยประกอบไปด้วยข้อริเร่มทางการศึกษา วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว
ยุทธสาสตร์หลักในการเพ่ิมพูนความเชื่อมโยงด้านประชาชน มีดังนี้ ส่งเสริมความเข้าใจด้านสังคมและวัฒนงะรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น และ ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชากรภายในอาเซียนให้เพิ่มขึ้น
- ความเชื่อมระหว่างกันในอาเวียนเป็นแนวความคิดที่มีการหยิบยกขึ้นหารือกันเป็นครั้งแรก โดยผุ้นำอาเซียนในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ณ ชะอำ- หัวหิน เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2552 โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับการเชื่อมดยงในภูมิภาคให้ดีขึ้น ซึ่งจะเป้นประโยชน์ต่อเสราฐกิจของประเทศสมาชิก ลดช่องว่างทางการพัฒนา และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประชากรอาเซียน ซึ่งจะมีส่วนส่งเสริมการสร้างประชาคมอาเซียน
แนวคิดนี้ยังใช้ประโยชน์จากที่ตั้งของภูมิาภคอาเวีย ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ใจกลงภูมิภาคที่กำลังเจริญเติบโต มเสราฐกิจที่แข็งแกร่ง ห้อมล้อมด้วยอินเดียทางทิศตะวันตก จีน ญี่ปุ่น และเากหลีใต้ทางทิศตะวันอกเแียงเหนือ ออสเตรเลีย และนิซีแลนด์ ทางทิศมต้ การเพิ่มพูนความเชื่อมโยงระว่างกันในอาเวียนจะสนับสนุน ให้อาเซียนเป้ฯศูยกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออก และดำรงไว้ซึ่งความเป้ฯสูนยกลางในภูมิภาค
1 การปรับตัวของภาคการเกษตร ในปัจจุบันาคการเกษตรของไทยจะมีสัดส่วนมูลค่าการผลตเพียงแค่ร้อยละ 10 ของGDP ของทั้งประเทศ แต่ประเทศไทยยังคงเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการส่งออกสินค้าเกษตรในระดับสุง โดยสินค้าส่งออกหลักของไทย ประกอบด้วย
- ข้าว ซึ่งในปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วดลก 5.341.1 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 706.8 ล้านดอลล่าร์ ( 13.23%)
- น้ำตาลทรายและกากน้ำตาลในปี 2553 มีมุลค่าส่งออกทั่วโลก 2,182.5 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 1,263.1 ล้านดอลลาร์ ( 57.79%)
- ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วดลก 2,161.4 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 535.7 ล้านดอลลาร์ ( 16.36%)
ยางพารา ในปี 2553 มีมูลค่าส่งออกไปทั่วโลก 7,896 ล้านดอลลาร์ ส่งไปตลาดอาเซียน 1,467.8 ล้านดอลลาร์ (18.59%)
หากมองในภาพรวมแล้ว โดยมีประเทศสมาชิกอาเซียนต่างมีภูมประเทศที่คล้ายคลึงกัน ลักาณะสินค้าจึงไม่ได้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ทำให้ปริมาณการส่งออก หรือนำเข้าสินค้าจึงไม่ได้มีความแตกต่างอย่างขัดเจน ทำให้ปริมาณการส่งออก หรือนำเข้าสินค้าระหว่างกันจะไม่ได้รับผลกระทบมากนัก แม้จะมีความเชื่อมโยงระหว่างกันสูงก็ตาม
แม้ว่าความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนจะนำมาซึ่งโอกาสทางเศราฐกิจอย่างกว้างขวาง แต่เกษตรกรและผุ้ประกอบการก็จำเป้นต้องเร่งปรับตัวและหาทางใช้ประโยชน์จากโอกาสดังกล่าวอยางเต็มที่ ดดยควรศึกษาหาลู่ทางในการใช้ช่องทางการขนส่งสินค้ารูปแบบใหม่ๆ การพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผุ้บริโภคอาเซียน รวมไปึถงการขยายการลงทุนไปยังประเทศอาเซียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งการลดอุปสรรคทางการต้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี
2. การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรมนับเป้ฯภาคการผลิตที่มีความสำคัญทางเศณาฐกิจของสมาชิกอาเซียนรวมทั้งประทเศไทย เนื่องจากมีมูลค่าในสัดส่วนเมื่อเรปรียบเทียบกับ GDP ของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องเร่งเพ่ิมพูนขีดความสามารถในการแขช่งขัน ดดยากรพัฒนาคุณภาพสินค้า และบิรการ ตลอดจนลดต้นทุนของการผลิต แนวทางหนึ่งซึ่จะช่วยลดต้อนทุนการผลิตดดยอาศัยประโยชน์จากความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน คือ การนำเข้าวัตถุดิบหรือสินค้าประเภทกึ่งสำเร็จรูปจากสมาชิกอาเซียน ที่มีคุณภาพดี ราคาเหมาะสมในอัตราภาษีร้อยละ 0 มาผลิต หรือต่อยอดมูลค่าเพิ่มสินค้า ก็เพื่อลดต้นทุน และเปนการสร้างรายได้เพ่ิมให้กับประทเศุ้สงออก และนำเข้า
3. การระดมเงินทุนเพื่อก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2554 อาเซียนได้เห็จชอบการจัดตังกองทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน กองทุนนี้มีจุดกำเนิดมาจากข้อเสนอของไทยในการประชุม
รัฐมนตรีคลังอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ 2552 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยประเทศสมาชิกในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ ถนน ทางรถไฟ หรือโครงสร้างพื้นฐานสำคัญด้านพลังงานและอื่นๆ เพื่อกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่งจะนำไปสู่การลดข่องว่างทางรายได้ภายในภุมิภาคในที่สุด
ในเบื้องต้นกองทุนนี้มีเงินตั้งต้นจำนวน 485.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ดดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย จะให้เงินสนับสนุนจำนวน 150 ล้านดอลลาร์สหรัฐในระยะต่อไปเมื่อกองทุนฯ มีความเข้มแข็งมากขึ้น จะมีการออกธนบัตรกึ่งหนีุ้นเพอให้ประเทศสมาชิกและผุ้สนใจร่วมลงทุนด้วยอย่างไรก็ตามการระดมเงินทุนเป้าหมายจากประเทศสมาชิกจำเป็นต้องมีความต่อเนื่องและเพียงพอต่อการดำเนินโครงการสำคัญๆ ต่างๆ ในอนาคต
ในปีแรกกองทุนฯ จะให้เงินยืมจำนวน 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสนับสนุนโครงการด้านการเชื่อมดยงในภุมิภาคใน 3 ด้าน คือ การคมนาคมขนส่ง พลังงาน และการจัดการน้ำ โดย ADB จะออกเงินสมทบดครงการเหล่านี้ด้วย
กองทุนฯ ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซียโดยมีลักษณะเป็นบริษัทจำกัด ดำเนินการภายใต้กฎหมายของมาเลเซียและมีประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นกรรมการบริหารกำกับดูแลการดำเนินการของกองทุนฯ ร่วมกับ ADB
4. การสร้างอัตลักาณ์อาเซียน และการใช้ภาษาสื่อสารระหว่างกัน การสงเสริมความเชื่อมโยงด้านประชาชนมุ่งเน้นการสร้างความรุ้ความเข้าใจระหว่างประเทศสมาชิกในด้านความเชื่อยงทางประวัติศาสตร์มรดกทางวัฒนธรรมอาศัยการสร้างทัศนคติที่ดีต่อกันระหว่งพลเมืองในภูมิภาค ซึ่งมีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่มีความขัดแย้ง และหลากหลายซึ่งเป็นส่ิงที่ท้าทายสำหรับอาเซียนในการสร้างเอกลักษณ์ร่วมกัน
นอกจากนี้ความแตกต่างทางด้านภาษายังเป็นอุสรรคสำคัญในการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ ดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานไทยยังคงมีจุอ่อนทางด้สนภาษา ส่งผลให้แรงงานไทยสูญเสียโอกาสการได้งานทำ เมพื่อเปรียบเทียบกับแรงงานในประเทศเืพ่อบ้านจึงเป้ฯจุดอ่อนที่ทำให้บรรดานายจ้าง เลือกแรงงานที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษเข้ามาทำงานก่อน
กล่าวโดยสรุป
- ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน คือ ข้อริเริ่มที่จะยกระดับการเชื่อมโยงกันของอาเว๊ยน ทั้งในด้านดครงสร้างพื้นฐษน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชนให้ก้าวไปด้วยกันอย่างราบรื่นและมี
ความเชื่อมดยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ากรคมนาคม เทคโนลโลนีสารสนเทศและการสื่อสาร และพลังงาน ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน หมายถึง โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้านคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศและพลังงาน ตลอดจนกรอบกฎระเบียบที่จำเป็นในการให้บริการสาธารณณปโภคที่เกี่ยวข้อง
แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่งกนในอาเซียนได้กำหนด 7 ยุทธศาสตร์หลักในการเพ่ิมพูนความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ดังนี้
- ก่อสร้างทางหลวงอาเซียนให้แล้วเสร็จ
- ดำเนินโครงการเส้นทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ
- สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำบนภาคพื้นทวีปให้มีประสิทธิภาพและเชือมโยงกัน
- สร้างระบบขนส่งทางทะเลที่เชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ และสามารถแข่งขันได้
- สร้างระบบการขนสงต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คบ่องตัวเพื่อให้อาเซียนเป้นศูนย์กลางการขนส่งในเอชียตะวัออกและภูมิภาคอื่นๆ
- เร่งรัดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศสมาชิก
- ให้ความสำคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน
ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ การเปิดเสรีทางการต้าและการอำนวยความสะดวกทางการต้า การเปิดเสรีและการอำนวยคามสะดวกในการบริการและการลงทุน ความตกลง/ ข้อตกลง ยอมรับร่วมกัน ความตกลงการขนส่งในภูมิาภค พิธการในกาข้ามพรมแดน และดคงการเสริมสร้างศักญภาพต่างๆ ยุทธศาสตร์หลักในแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระวห่งกันในอาเซียเพื่อการเพ่ิมพูนความเชื่อมดยงด้านกฎระเบียบ มีดังนี้
- ดำเนินตามกรอบความตกลงทั้ง 3 กรอบว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่ง
- เร่ิมดำเนินโครงการการอำนวยความสะดวกด้านขนส่งผุ้โดยสาร ในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ
- สร้างตลาดการบินเดียวภายในอาเซียน
- สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน
- เพ่ิมการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสีในภูมิภาคอาเซียน โดยการลดอุปสรรคทางการต้าภายในระดับภูมิภาค
- เร่งรัดการพัฒนาภาคกรบริการทางการขนส่งให้มีประสิทธิภาพและแขงขันได้โดยเฉพาะในสาขาโทรคมนาคม และารบริาการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อมโยงในภูมิภาค
- การพัฒนาโครงการการอำนวยความสะดวกทางด้านการต้าในภูมิภาคอยางจริงจัง
- ยกระดับความสามารถของการบริหารจัดากรพรมแดน
- เร่งรัดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดรับการลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาคายใต้กฎระเบีบการลงทุนที่เป็นธรรม
- เสริมสร้างความสามารถของหน่ยงานด้านกฎระเบียบในพื้นที่ และประเทศที่พัฒนาน้อยกว่าในภูมิภาคและปรับปรุง การประสานงานทางด้านนโยบาย แผนงานและดครงการในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค
ความเชื่อมโยงด้านประชาชน การศึกษา วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว คือ การเชื่อมโยงทางสังคมและวัฒนธรรมที่ประานและยึดรวมประชาชนเข้าไว้ด้วยกัน ดดยประกอบไปด้วยข้อริเร่มทางการศึกษา วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว
ยุทธสาสตร์หลักในการเพ่ิมพูนความเชื่อมโยงด้านประชาชน มีดังนี้ ส่งเสริมความเข้าใจด้านสังคมและวัฒนงะรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น และ ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชากรภายในอาเซียนให้เพิ่มขึ้น
- ความเชื่อมระหว่างกันในอาเวียนเป็นแนวความคิดที่มีการหยิบยกขึ้นหารือกันเป็นครั้งแรก โดยผุ้นำอาเซียนในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ณ ชะอำ- หัวหิน เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2552 โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับการเชื่อมดยงในภูมิภาคให้ดีขึ้น ซึ่งจะเป้นประโยชน์ต่อเสราฐกิจของประเทศสมาชิก ลดช่องว่างทางการพัฒนา และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประชากรอาเซียน ซึ่งจะมีส่วนส่งเสริมการสร้างประชาคมอาเซียน
แนวคิดนี้ยังใช้ประโยชน์จากที่ตั้งของภูมิาภคอาเวีย ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ใจกลงภูมิภาคที่กำลังเจริญเติบโต มเสราฐกิจที่แข็งแกร่ง ห้อมล้อมด้วยอินเดียทางทิศตะวันตก จีน ญี่ปุ่น และเากหลีใต้ทางทิศตะวันอกเแียงเหนือ ออสเตรเลีย และนิซีแลนด์ ทางทิศมต้ การเพิ่มพูนความเชื่อมโยงระว่างกันในอาเวียนจะสนับสนุน ให้อาเซียนเป้ฯศูยกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออก และดำรงไว้ซึ่งความเป้ฯสูนยกลางในภูมิภาค
- ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน(ฉบับย่อ), กองอาเซียน 3 กระทรวงการต่างประเทศ, ธันวาคม 2554.
วันอังคารที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2560
ASEAN CONNECTIVITY III
กรอบความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง
ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาอาเซียนได้มีข้อริเริ่มหลายประการในการอำนวยความสะดวกทางการขนส่งเพื่อสร้างระบบโลจิสติกส์ และระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ เืพ่อากรเคลื่อยย้ายสินค้าและการเชื่อมโยงการขนส่งข้อริเร่ิมเหล่านี้ ได้แก่
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขน่ส่งสินค้าผ่านแดน ซึ่งมีวัตถุปรสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้า โดย อนุญาตให้รถยนจ์ขนส่งที่จดทะเบียวในประเทศสมาชิกอื่นๆ สามารถขนส่งสินค้าผ่านเขตแดนขอวงประเทศตนได้
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการขนส่วอเนื่องหลายรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสรมการเชื่อมโยงการขนส่งต่อเนื่องทั้งทางบก ทางทะเล และทางอาเกาศ เพื่อำนวยความสะดวกในการส่งสินค้าไปึงผุ้รับในรูปแบบต่างๆ
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งวข้ามแดน ซึ่งมีวัตถุประสคืเพื่ออำนวนความสะดวกในการขนส่งสินค้าข้ามแดน โดยอนุญาตให้ผุ้ประกอบการขนส่งในประเทศหนึ่งสารถขนส่งินค้าเข้า หรือออกาจาอีกประเทศหนึ่ง และมีสิทธิในการบรรทุุกและขนถ่ายสินค้าที่มีปลายทางในอีกประเทศหนึ่งได้
ระบบอำนวยความสะวกด้านสุลการกรด้วยอเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน
ระบบ ASEAN Single Window มีวัตถุประสงค์หลักในกาเรชเื่อมโยงข้อมุลด้านศุลกากรแบบบูรณาการเพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จจากการติดต่อเพื่องจุดเดีวโดยผุ้นำเข้า ผุ้ส่งออก ตัทนออกของ และผุ้ประกอบการขนส่ง สามารถส่งข้อมุล อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ต้องกรอกข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน ทำให้ความผิดพลาดลดลง และลดการทำงานที่ไม่สร้างมูลค่าเพื่อม อีกทัี้งยังสมารถแลกเปลียนข้อมูบกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจได้อย่างสะดวกรวดเร็วแบบครบวงจร ทำให้ลดต้นทุนการบริหารการจัดการ แฃะการช้ทรัพยากรต่างๆ ตลอดกระบวนการต้าระหว่งประเทอีกทั้งสอดคล้องกับการดำนินการตามความตกลงอาเซียน
ปัจจุบันประเทศไทยมีระบบอำนวยความสะดวกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวในระดับประเทศ ที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานต่างๆ ได้ในระดับหนึ่ง ทำให้เอกสารบางประเภท อาทิ ใบอนุญาต การนำเข้า ใบอนุญาต การส่งออก และใบรับรองต่างๆ สามารถที่จะจัดส่งทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างอัตโนมัติไปให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจได้อย่างครอบวงจรทำให้ภาพรวมของการประกอบการต้ามีความสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงมากยิ่งขึ้นลดขึ้นตอนการทำงานระหวางหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของไทยได้มีการเชื่อมโยงข้อมมูลกันแล้วจำนวนหนึ่ง ได้แก่ กรมศุลกากร กรมการต้าต่างประเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม และการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในอนาคตจะมีการเชื่อมโยงหน่วยงานเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ เมื่อการจัดทำระบบเสณ็จสิ้นโดยสมบุรณ์แล้ว จะก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้
- การนำเข้าส่งออกสะดวกรวดเร็ว สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางติดต่อหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน
- ผุ้ประกอบการสามารถใช้ข้อมูลเพียงชุดเดียวในการติดต่อหลายส่วนราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ลดความซ้ำซ้อนในการจัดทำ จัดส่ง ติดตาม และจัดเก็บข้อมูล
- หน่วยงานออกใบอนุญาตและใบรับรองต่างๆ สามารถลดการใช้เอกสาร ใบอนุญาต และใบรับรองต่างๆ จึงสามารถให้บริการผุ้ประกอบการต้าแบบครบวงจร
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี
อาเซียนมีเป้าหมายในการส่งเสริมการเคลื่อนย้ายประชาชนในภุมิภาคให้มากขึ้น โดยการอำนวยความสะดวกในการเดินทางของบุคคลที่เกี่ยข้องกับการต้า และการ ลงทุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานฝีมือ โดยอาเซียนได้ตกลงร่วมกันที่จะอำนวนความสะดวกในการตรวจลงตรา และการออกใบอนุญาติทำงานสำหรับผุ้ประกอบวิชาชีพและแรงงานฝีมืออาเวียน ดดยในส่วนของแรงงานฝีมือนั้น อาเซียนได้ตั้งเป้าหมายให้เกิดการเคลือนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี โดยได้แบ่งการดำเนินการไว้ 2 แนวทางคือ 1) การจัดตั้งกรอบทักษะฝีมือแงงานระดับประเทศ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการนำไปสู่กรอบการยอมรับฝีมือแรงงานของอาเซียน และ 2) การจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม สำหรับผุ้ประกอบวิชาชีพบริการ
การสงเสริมการเคลื่อนย้ายแรรงานฝีมือในอาเซียนมีเป้าหมายหลัก ได้แก่
- บูรณาการมาตรฐานและระบบการให้การรับรองฝีมือแรงงานอาเซียน เข้าด้วยกัน
- สร้างมาตรฐานฝีมือและแนวปฏิบัติที่สอดประสานกัน
- บรรลุการเป็นตลาดแรงงานอาเซียนในประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ในปี 2558
เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว อาเซียนได้จัดทำข้อตกลง MRA ขึ้น 8 ฉบับ ในสาขาวิชาชีพ วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม ข่างสำรวจ ท่องเที่ยว แพทย์ ทันตแพทย์ การบัฐชี เพื่อใช้เป็นกรอบการให้การยอมรับร่วมกันเรื่องคุณสมบัติของแรรงานฝีมือ ปะวัติการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการขอรับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ อย่างไรก็ตาม ข้อตกลง MRA มิได้ให้สิทธิพิเศษแก่แรงงานฝีมือที่ได้รับอนุญาตแต่อย่างใด ผุ้ที่ไปทำงานในต่างประเทศยังคงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ อยู่
แม้ว่าข้อตกลง MRA เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการทำให้เกิดการเคลื่อนยายแรงงานได้จริง แต่ MRA ก็เป็นเพียงเครืองมือในการช่วยอำนวยความสะดวกการของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเวียนเท่านั้น การเคลื่อนย้ายแรงงานจะเกิดขึ้นได้จริงจะต้องมีการเปิดเสรีการเคลื่อยย้ายบุคลากรในภาคบริการและการลงุนควบคู่ไปกับการสร้างความพร้อมของแรรงานฝีมือทั้งในด้านความรุ้ความสามารถ และการใช้ภาษา
โอกาส จากการความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
- การเข้าสู่ตลาดในภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ ปัจจุบันอาเซียนนับเป็นประเทศคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย ดยในปี 2553 การส่งออกของไทยไปยังอาวียนมีมุลค่า 1.4 ล้านล้านบ้า คิดเป็นร้อยละ 22.7 ของกรส่งออกทั้งหมด และสูงกว่าปริมาณการส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรปเกือบเท่าตัว ขณะที่การนำเข้าของไทยจากอาเซียนในปี 2553 มีมุลค่าเกือบ 1 ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.6 ของการนำเข้าทั้งหมด ดังนั้นการส่งเสริมความเชื่อมโยงภายในอาเซียนจะช่วยให้ไทยสามารถทำารต้าขายกับอาเซียนได้สะดวกยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ อาเซีนประกอบด้วยประชากรกว่า 570 ล้านคน จึงมีขนาดของอุปสงค์ในการบริโภคึสินค้าอย่างมหาศาล ผุ้ผลิตที่สามารถเจาะตลาดอาเซียนได้จะได้รับ ประดยชน์นเรื่องของการประหยัดที่เกิดจาขนดของการลิต กล่าวคือ สามารถผลิตสินค้าในประมาณมาก และมีตนทุนการผลิตที่ลดลง
- ขยายการต้าและการลงทุน ความเชื่อมโยงระหว่างกันที่ดีขึ้น การคมนาคมขนส่งที่มีประสิทธิภาพ จะช่วยเกาษตรกรและผุ้ประกอบการที่ทำธุรกิจ ส่งออกในตลาดอาเซียนมีดอกาสในการขายสินค้าและบริการมากขึ้น และผุนำเข้าสามารถ ซื้อวัตถุดิบทั้งในด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมจากอาเซียนได้ในราคาถูกลง ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนในการผลิตและแปรรูปสินค้า ส่งผลให้ขีดความสามารถในการแข่งขันเพ่ิมขั้น แต่ในอีกด้านหนึ่ง ผุ้ประกอบธุรกิจภายในประเทศก็จะต้องเผชิญกับการแข่งขันจากสินค้าและบริการที่นำเข้าจากภายในอาเซียนได้สะดวกขึ้น จึงจำเป็นต้อง เร่งปรับตัวให้สามารถแข่งขันได้
- เพ่ิมขีดความสามารถของประเทศนการเจรจาต่อรองในเวทีโลก แนวโน้มของนโยบายการต้าและการลงทุนในอนาคต จะอยู่ในรูปของการเจรจาต่อรองกับกลุ่มประเทศมหาอำนาจ อาทิ อเมริกาเหนือ สหภาพยุดรป ตะวันออกกลาง อินเดีย และสาะารณรัฐประชาชนจีน ดังนั้นการรวมกลุ่มของประเทศสมาชิกในอาเซียนจะช่วยเพิ่มอำนาจในการต่อรองให้กับประเทศไทยในเวทีการต้าโลก เนื่องจากประเทศไทยจะมีประเทศในกลุ่มสมาชิกเป็นแนวร่วมในการต่อรอง อีกทั้งสามารถสร้างความน่าสนใจให้กับประเทศอื่นๆ ที่จะเขช้ามาเปิดการต้าเสรีกับประเทศที่มีความพร้อมทางดครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงที่มประสิทธิภาพ อย่างเช่น ประเทศไทย ดดยผ่านช่องทางของประชาคมเศราบกิจอาเซียน
- สร้างความพร้อมให้กับประเทศสมาชิกเพื่อรับมือกับความเสี่ยงทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันปัญหาทางด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมในทุกๆ ประเทศทวีความรุนแรงมากขึ้น ปัญหาเหล่านั้นจะส่งผลกระทบต่อประเทศคู่คาดดยผ่าระบบการต้าการลงุทนระหว่างประเทศ และกระแสโลกาภิวัฒน์ ตัวอย่างของปัญหาเหล่านี้ ได้แก่ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำ ปัญหายาเสพติดปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ปัญหาโรคระบาดและโรคติดต่อร้ายแรงปัญหาการศึกษาและทรัพยากรมนุษย์
การเชื่อมโยงใกล้ชิดยิ่งขึ้นระหว่างประเทศอาเซียนก้อาจทำให้ปัหญหาเหล่่านี้ทวีมากขึ้นด้วย หากไม่มีมาตรการที่รอบคอบ รัดกุม รอบรับ ดังนั้น อาเซียนจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมอย่างเป็นระบบ รัดกุม รองรับ ดังนั้น อาเซียนจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมอย่างเป็นระบบ โดยประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมกับองค์กรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขาของอาเซียนและภาคส่วนเกี่ยวข้องจะต้องร่วมกันพิจารณาแนวทางป้องกันและรับมือกับปัญหาเหล่านี้ต่อไป
นอกจากนั้น การสร้างความเชื่อมโยงด้านประชาชนเพื่อนำหปสู่สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ก็อาจเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่จะสร้างความเข้มแข็ง และเตรียมความพร้อมให้กับประเทศสมาชิกเพื่อที่จะรับมือกับปัญหาต่างๆ เหล่านี้ต่อไป..
- ความเชื่อมดยงระหว่างกันในอาเซียน (ฉบับย่อ) ASEAN CONNECTIVITY, กองอาเซียน 3 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ 443 ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม., 2554.
ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาอาเซียนได้มีข้อริเริ่มหลายประการในการอำนวยความสะดวกทางการขนส่งเพื่อสร้างระบบโลจิสติกส์ และระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ เืพ่อากรเคลื่อยย้ายสินค้าและการเชื่อมโยงการขนส่งข้อริเร่ิมเหล่านี้ ได้แก่
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขน่ส่งสินค้าผ่านแดน ซึ่งมีวัตถุปรสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้า โดย อนุญาตให้รถยนจ์ขนส่งที่จดทะเบียวในประเทศสมาชิกอื่นๆ สามารถขนส่งสินค้าผ่านเขตแดนขอวงประเทศตนได้
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการขนส่วอเนื่องหลายรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสรมการเชื่อมโยงการขนส่งต่อเนื่องทั้งทางบก ทางทะเล และทางอาเกาศ เพื่อำนวยความสะดวกในการส่งสินค้าไปึงผุ้รับในรูปแบบต่างๆ
- กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งวข้ามแดน ซึ่งมีวัตถุประสคืเพื่ออำนวนความสะดวกในการขนส่งสินค้าข้ามแดน โดยอนุญาตให้ผุ้ประกอบการขนส่งในประเทศหนึ่งสารถขนส่งินค้าเข้า หรือออกาจาอีกประเทศหนึ่ง และมีสิทธิในการบรรทุุกและขนถ่ายสินค้าที่มีปลายทางในอีกประเทศหนึ่งได้
ระบบอำนวยความสะวกด้านสุลการกรด้วยอเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน
ระบบ ASEAN Single Window มีวัตถุประสงค์หลักในกาเรชเื่อมโยงข้อมุลด้านศุลกากรแบบบูรณาการเพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จจากการติดต่อเพื่องจุดเดีวโดยผุ้นำเข้า ผุ้ส่งออก ตัทนออกของ และผุ้ประกอบการขนส่ง สามารถส่งข้อมุล อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ต้องกรอกข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน ทำให้ความผิดพลาดลดลง และลดการทำงานที่ไม่สร้างมูลค่าเพื่อม อีกทัี้งยังสมารถแลกเปลียนข้อมูบกับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจได้อย่างสะดวกรวดเร็วแบบครบวงจร ทำให้ลดต้นทุนการบริหารการจัดการ แฃะการช้ทรัพยากรต่างๆ ตลอดกระบวนการต้าระหว่งประเทอีกทั้งสอดคล้องกับการดำนินการตามความตกลงอาเซียน
ปัจจุบันประเทศไทยมีระบบอำนวยความสะดวกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวในระดับประเทศ ที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานต่างๆ ได้ในระดับหนึ่ง ทำให้เอกสารบางประเภท อาทิ ใบอนุญาต การนำเข้า ใบอนุญาต การส่งออก และใบรับรองต่างๆ สามารถที่จะจัดส่งทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างอัตโนมัติไปให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจได้อย่างครอบวงจรทำให้ภาพรวมของการประกอบการต้ามีความสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงมากยิ่งขึ้นลดขึ้นตอนการทำงานระหวางหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของไทยได้มีการเชื่อมโยงข้อมมูลกันแล้วจำนวนหนึ่ง ได้แก่ กรมศุลกากร กรมการต้าต่างประเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม และการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในอนาคตจะมีการเชื่อมโยงหน่วยงานเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ เมื่อการจัดทำระบบเสณ็จสิ้นโดยสมบุรณ์แล้ว จะก่อให้เกิดประโยชน์ดังนี้
- การนำเข้าส่งออกสะดวกรวดเร็ว สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางติดต่อหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน
- ผุ้ประกอบการสามารถใช้ข้อมูลเพียงชุดเดียวในการติดต่อหลายส่วนราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ลดความซ้ำซ้อนในการจัดทำ จัดส่ง ติดตาม และจัดเก็บข้อมูล
- หน่วยงานออกใบอนุญาตและใบรับรองต่างๆ สามารถลดการใช้เอกสาร ใบอนุญาต และใบรับรองต่างๆ จึงสามารถให้บริการผุ้ประกอบการต้าแบบครบวงจร
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี
อาเซียนมีเป้าหมายในการส่งเสริมการเคลื่อนย้ายประชาชนในภุมิภาคให้มากขึ้น โดยการอำนวยความสะดวกในการเดินทางของบุคคลที่เกี่ยข้องกับการต้า และการ ลงทุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานฝีมือ โดยอาเซียนได้ตกลงร่วมกันที่จะอำนวนความสะดวกในการตรวจลงตรา และการออกใบอนุญาติทำงานสำหรับผุ้ประกอบวิชาชีพและแรงงานฝีมืออาเวียน ดดยในส่วนของแรงงานฝีมือนั้น อาเซียนได้ตั้งเป้าหมายให้เกิดการเคลือนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี โดยได้แบ่งการดำเนินการไว้ 2 แนวทางคือ 1) การจัดตั้งกรอบทักษะฝีมือแงงานระดับประเทศ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการนำไปสู่กรอบการยอมรับฝีมือแรงงานของอาเซียน และ 2) การจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม สำหรับผุ้ประกอบวิชาชีพบริการ
การสงเสริมการเคลื่อนย้ายแรรงานฝีมือในอาเซียนมีเป้าหมายหลัก ได้แก่
- บูรณาการมาตรฐานและระบบการให้การรับรองฝีมือแรงงานอาเซียน เข้าด้วยกัน
- สร้างมาตรฐานฝีมือและแนวปฏิบัติที่สอดประสานกัน
- บรรลุการเป็นตลาดแรงงานอาเซียนในประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ในปี 2558
เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว อาเซียนได้จัดทำข้อตกลง MRA ขึ้น 8 ฉบับ ในสาขาวิชาชีพ วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม ข่างสำรวจ ท่องเที่ยว แพทย์ ทันตแพทย์ การบัฐชี เพื่อใช้เป็นกรอบการให้การยอมรับร่วมกันเรื่องคุณสมบัติของแรรงานฝีมือ ปะวัติการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการขอรับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ อย่างไรก็ตาม ข้อตกลง MRA มิได้ให้สิทธิพิเศษแก่แรงงานฝีมือที่ได้รับอนุญาตแต่อย่างใด ผุ้ที่ไปทำงานในต่างประเทศยังคงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ อยู่
แม้ว่าข้อตกลง MRA เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการทำให้เกิดการเคลื่อนยายแรงงานได้จริง แต่ MRA ก็เป็นเพียงเครืองมือในการช่วยอำนวยความสะดวกการของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเวียนเท่านั้น การเคลื่อนย้ายแรงงานจะเกิดขึ้นได้จริงจะต้องมีการเปิดเสรีการเคลื่อยย้ายบุคลากรในภาคบริการและการลงุนควบคู่ไปกับการสร้างความพร้อมของแรรงานฝีมือทั้งในด้านความรุ้ความสามารถ และการใช้ภาษา
โอกาส จากการความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
- การเข้าสู่ตลาดในภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ ปัจจุบันอาเซียนนับเป็นประเทศคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย ดยในปี 2553 การส่งออกของไทยไปยังอาวียนมีมุลค่า 1.4 ล้านล้านบ้า คิดเป็นร้อยละ 22.7 ของกรส่งออกทั้งหมด และสูงกว่าปริมาณการส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรปเกือบเท่าตัว ขณะที่การนำเข้าของไทยจากอาเซียนในปี 2553 มีมุลค่าเกือบ 1 ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.6 ของการนำเข้าทั้งหมด ดังนั้นการส่งเสริมความเชื่อมโยงภายในอาเซียนจะช่วยให้ไทยสามารถทำารต้าขายกับอาเซียนได้สะดวกยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ อาเซีนประกอบด้วยประชากรกว่า 570 ล้านคน จึงมีขนาดของอุปสงค์ในการบริโภคึสินค้าอย่างมหาศาล ผุ้ผลิตที่สามารถเจาะตลาดอาเซียนได้จะได้รับ ประดยชน์นเรื่องของการประหยัดที่เกิดจาขนดของการลิต กล่าวคือ สามารถผลิตสินค้าในประมาณมาก และมีตนทุนการผลิตที่ลดลง
- ขยายการต้าและการลงทุน ความเชื่อมโยงระหว่างกันที่ดีขึ้น การคมนาคมขนส่งที่มีประสิทธิภาพ จะช่วยเกาษตรกรและผุ้ประกอบการที่ทำธุรกิจ ส่งออกในตลาดอาเซียนมีดอกาสในการขายสินค้าและบริการมากขึ้น และผุนำเข้าสามารถ ซื้อวัตถุดิบทั้งในด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมจากอาเซียนได้ในราคาถูกลง ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนในการผลิตและแปรรูปสินค้า ส่งผลให้ขีดความสามารถในการแข่งขันเพ่ิมขั้น แต่ในอีกด้านหนึ่ง ผุ้ประกอบธุรกิจภายในประเทศก็จะต้องเผชิญกับการแข่งขันจากสินค้าและบริการที่นำเข้าจากภายในอาเซียนได้สะดวกขึ้น จึงจำเป็นต้อง เร่งปรับตัวให้สามารถแข่งขันได้
- เพ่ิมขีดความสามารถของประเทศนการเจรจาต่อรองในเวทีโลก แนวโน้มของนโยบายการต้าและการลงทุนในอนาคต จะอยู่ในรูปของการเจรจาต่อรองกับกลุ่มประเทศมหาอำนาจ อาทิ อเมริกาเหนือ สหภาพยุดรป ตะวันออกกลาง อินเดีย และสาะารณรัฐประชาชนจีน ดังนั้นการรวมกลุ่มของประเทศสมาชิกในอาเซียนจะช่วยเพิ่มอำนาจในการต่อรองให้กับประเทศไทยในเวทีการต้าโลก เนื่องจากประเทศไทยจะมีประเทศในกลุ่มสมาชิกเป็นแนวร่วมในการต่อรอง อีกทั้งสามารถสร้างความน่าสนใจให้กับประเทศอื่นๆ ที่จะเขช้ามาเปิดการต้าเสรีกับประเทศที่มีความพร้อมทางดครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงที่มประสิทธิภาพ อย่างเช่น ประเทศไทย ดดยผ่านช่องทางของประชาคมเศราบกิจอาเซียน
- สร้างความพร้อมให้กับประเทศสมาชิกเพื่อรับมือกับความเสี่ยงทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันปัญหาทางด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมในทุกๆ ประเทศทวีความรุนแรงมากขึ้น ปัญหาเหล่านั้นจะส่งผลกระทบต่อประเทศคู่คาดดยผ่าระบบการต้าการลงุทนระหว่างประเทศ และกระแสโลกาภิวัฒน์ ตัวอย่างของปัญหาเหล่านี้ ได้แก่ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำ ปัญหายาเสพติดปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ปัญหาโรคระบาดและโรคติดต่อร้ายแรงปัญหาการศึกษาและทรัพยากรมนุษย์
การเชื่อมโยงใกล้ชิดยิ่งขึ้นระหว่างประเทศอาเซียนก้อาจทำให้ปัหญหาเหล่่านี้ทวีมากขึ้นด้วย หากไม่มีมาตรการที่รอบคอบ รัดกุม รอบรับ ดังนั้น อาเซียนจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมอย่างเป็นระบบ รัดกุม รองรับ ดังนั้น อาเซียนจึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมอย่างเป็นระบบ โดยประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมกับองค์กรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขาของอาเซียนและภาคส่วนเกี่ยวข้องจะต้องร่วมกันพิจารณาแนวทางป้องกันและรับมือกับปัญหาเหล่านี้ต่อไป
นอกจากนั้น การสร้างความเชื่อมโยงด้านประชาชนเพื่อนำหปสู่สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ก็อาจเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่จะสร้างความเข้มแข็ง และเตรียมความพร้อมให้กับประเทศสมาชิกเพื่อที่จะรับมือกับปัญหาต่างๆ เหล่านี้ต่อไป..
- ความเชื่อมดยงระหว่างกันในอาเซียน (ฉบับย่อ) ASEAN CONNECTIVITY, กองอาเซียน 3 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ 443 ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม., 2554.
วันจันทร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2560
ASEAN CONNECTIVITY II
โครงการพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนที่สำคัญ
โครงข่ายทางหลวงอาเซียน คือ โครการก่อรสร้างโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการขนส่งทางบกนำร่องซึ่งจะรวมกันเป็นเส้นทางสายหลัก หรือ ทางหลวงระหว่างประเทศ เพื่อสร้างเป็นระบบเรือข่ายการขนส่งโดยรวมของอาเซียน ทางหลวงอาเซียนจะมีส่วนร่วมห้ผุ้ประกอบการสามารถเข้าถึงตลาดที่ใหญ่ขึ้น รวมทั้งลดต้นทุนการขนส่งและการค้า ทำหน้าที่เชื่อต่อห่วงโซ่อุปทานระดับภูมิภาคและระดับโลก ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือ การรวมตัว และการลดช่องว่างทางการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน
การดำเนินงานก่อสร้างทางหลวงอาเซียนในปัจจุบัน ยังคงมีเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแกนในบางช่วงที่ไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ดังนั้นโครงข่ายทางหลวงอาเซียนจึงมีวัตถุประสงค์หลักในหารก่อสร้างถนนเพ่ิมเติมในช่วงของการขนส่งที่ไม่ต่อเนือง และทำการปรับปรุงยกระดับถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ในเส้นทางที่กำหนด ภายในปี พ.ศ. 2558
สำหรับช่วงของการขนส่งที่ขาดหาย และต้องการเชื่อมต่อการขนส่งที่ต่อเนื่องมุ่งเน้นไปที่การก่อสร้าง 1) ทางหลวง AH 112 ระยะทาง 60 กม. เชื่อมโยงระหว่างท่าตอน เมาะละแห่ง ละยา และคลองลอย ในสหภาพพม่า และ 2) ทางหลวง AH 123 ระยะทาง 141 ก.ม. เชื่อมโยงระหว่างทวาย และ ช่องแม่สะแม ในสหภาพพม่า ในส่วนของการปับปรุงเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแดนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงเส้นทางต่อไปนี้
- ลาว AH 12 เวียงจันทน์ - หลวงพระบาง ระยะทาง 393 กม.
- ลาว AH 15 บ้านลาว - น้ำนาว ระยะทาง 98 กม.
- พม่า AH 1 ตามู - มัณฑะเลย์ -บากู -เมียวดี ระยะทาง 781 กม.
- พม่า AH 2 เม็กทิลา - ลอยเล็ม - เชียงตุง - ท่าขี้เหล็ก ระยะทาง 593 กม.
- พม่า AH 3 เชียงตุง - เมืองลา ระยะทง 93 กม. สำหรับทางหลวงอาเซียนช่วงที่ผ่านประเทศไทยประกอบด้วยเส้นทางหลัก 6 สาย ได้แก่
A-1 เร่ิมต้นจากเขตแดนของพม่าที่ อ. แม่สอดไปตามทางหลวงหมายเลข 105 ถึง จ.ตาก เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.บางปะอิน เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.หินกองเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 33 ผ่าน จ. นครนายก ปราจีนบุรี จรดชายแดนเขชมรที่ อ.อรัฐประเทศ เป้นทางผิวลาดยาง และคอนกรีตตลอดระยะทางประมาณ 698 กม.
A-2 เร่ิมต้นจากเขตแดนของพม่าที่ อ. แม่สอด ไปตามทางหลวงหมายเลข 110 ถึง จ. เชียงราย ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.ลางปะอิน เลี้ยวขวาไปทางหลวงหมายเลข 1 ถึงกรุงเทพฯ และจากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายพลเขล 4 ผ่าน จ.นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และชุมพร แล้วตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 41 ถึง จ.พัทลุง เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่าน อ. หาดใหญ่และไปจรดชายแดนของมาเลเซียที่ อ. สะเดา สภาพทางเป็นผิวลาดยางและคอนกรีต ตลอดสายระยะทางประมาณ 1,945 กม.
A-3 เร่ิมต้นจากปยกสาย A-2 ที่ จ. เชียงราย ไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 ไปจรดเขตแดนทของลาวที่ อ.เชียงของ เป็นทางลาดยางตลอดสายระยะทางประมาณ 115 กม.
A-12 เริ่มต้นจากแยกสาย A-1 ที่สามแยกหินกองไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง จ.สระบุรี เลี่้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2 ผ่าน จ.นครราชศรีมา ขอนแก่นอุดรธานี สิ้นสุดที่หนองคาย สภาพทางเป็นผิวลาดยางและคอนกรีตแล้วตลอดสาย ระยะทางประมาณ 524 กม.
A-15 เริ่มต้นจากแยกสาย A-12 ที่ จ.อุดรธานี ไปตามทางหลวงหมายเลข 22 ผ่าน จ. สกลนคร สิ้นสุดที่ จ. นครพนม สภาพทางลาดยางตลอดระยะทางประมาณ 241 กม.
A-18 เริ่มต้นจากแยกสายที่ A-2 ที่ อ.หาดใหญ่ ไปตามทางหลวง หมายเลข 43 แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงเชย 42 ผ่าน จ.ปัตตานีไปจนถึง จ. นราธิวาส จากนั้นไปตามทางหลวงหมายเลข 4056 ไปจนจรดเขตแดนของ มาเลเซียที่ อ.สุไหง-โกลก เป็นทางลาดยางตลอดสาย ระยะทางประมาณ 275 กม.
เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กับคุนหมิง
เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กับคุนหมิง เป็นโครงการนำรองสำหรับโครงสร้างพื้นฐานทางคมนคมอีกหนึ่งโครงการที่มีความสำคัญ โดยมีเป้าหมายอยู่ที่การเชื่อมโยงประเทศในกลุ่มอาเวียน 7 ประเทศ ซึ่งได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม พม่า และสปป.ลาวกับสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยในเบื้องต้นเพื่อให้โครงการนี้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจะให้ความสำคัญกับ เส้นทางหลัก 4 ช่วง ซึ่งในปัจจุบันยังมีการเชื่อมโยงกันที่ยังไม่สมบูรณ์ ได้แก่
- ไทย อรัญประเทศ - คลองลึก ( 6 กม.)
- กัมพูชา ปอยเปต - ศรีโสภณ ( 48 กม.)
- กัมพูชา พนฒเปญ - ล็อกนิน ( 254 กม.)
- เวียดนาม ล็อกนิน - โฮจิมินห์ (129 กม.)
สำหรับเส้นทางรถไฟสายนี้ตัดผ่านปะเทศไทย 17 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นครปฐม ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ภาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประชวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุ
ง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และช่วงของรางรถไฟที่จะต้องมีการก่อสร้างเพ่ิมเติมในประเทศไทย จะอยู่บริเวณสภานีรถไฟน้ำตก จ. กาญจนบุรี ถึงธันบูซายัด ในสหภาพพม่ ารวมระยะทาง 263 กม.
แนวระเบียงเศราฐกิจ ประกอบด้วย
แนวระเบียงเศษฐกิจตะวันออก- ตะวันตก มีจุดเร่ิมต้นจากเมืองเมาะละแหม่งของพม่ ผ่านเมืองเมียวดี ก่อนจะเข้าสู่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ประเทศไทย และผ่านจ. พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ข้ามสะพานมิตรภาพแห่งที่สองเข้าสู่แขวงสะหวันนะเขต ของ สปป.ลาว ผ่านแดนสะหวั น และเข้าสู่ประเทศเวียดนามที่เมืองลาวบาว ผ่านเมืองเว้ ดองฮา และสิ้นสุดที่เมืองดานัง เมื่องท่าสำคัญของเวียดนาม
แนวระเบียบเศรษฐกิจ แม่โขง-อินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมภูมิภาคลุ่มน้ำโข. ซึ่งประกอบด้วยประเทศ กัมพุชา ไทย และสหภาพพม่ เข้กับฝั่งตะวันออกของอินเดีย โดยผ่าน เส้นทางโฮจิมินห์ -พนมเปญ-กรุงเทพฯ -ทะวาย-เจนไน ซึ่งใช้เป็นเส้นทางลัดสำหรับขนส่งสินค้า ควบคุ่ไปกับการพัฒนาเขตเศราฐกิจและอุตสาหกรรมบริเวณโดยรอบเส้นทาง และเป็นการเน้นบย้ำถึงความสำคัญของอินเดียในฐานะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ทางด้านการต้า แลการลงทุนของอาเซียน รมไปถึงความสอดคล้องกับนโยบาย มองระวันออก ของอินเดียที่มุ่งสนับสนุนการดำเนินความสัมพันธ์กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงการเชื่อมโยงระบบท่อส่งก๊าซอาเซียน ในการประชุมรัญมนตรีอาเซียนด้านพลังงาน ครั้งที่ 20 ณ เมืองบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2545 อาเซียนได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจโครงการเชื่อมโยงท่าก๊าซธรรมชาต ิอาเซียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นกรอบการทำงานอย่างกว้าง ๆ สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนในการประสานความร่วมมือเพื่อดำเนินโครงการให้สัมฤทธิ์ผล และเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของภูมิภาคอาเซียน โดยอาเซียนได้มอบหมายให้คณะมนตรี
อาเซียนว่าด้วยปิโตรเลี่ยม เป็นกลไกหลักในการดำเนินโครงการ ASCOPE ได้จัดตัเ้งคึณะทำงานเฉพาะกิจเกี่ยวกับโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน และได้จัดทำแผนแม่บงทโครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน โดยปรับปรุงจากแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาและการใช้ก๊าซธรรมชาติในภุมิภาคอาเซีน ในปี พ.ศ. 2539
ปัจจุบันอาเซียนมีากรเชื่อโยงท่าส่งก๊าซธรรมชาติ ระยะทางรวมทั้งสิ้น 3,020 กม.และมีแผนการที่จะก่อสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต โดยแหล่งก๊าซนาทูน่า ทางตะวันออกของอินโดนีเซียจะเป็นแหล่งก๊าซหลักที่จะสนับสนุนโครงการท่อก๊าซในอาเซียนและอาจมีการนำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว จากภายนอกภูมิภาค เพื่อนำมากระจายผ่านโครงข่ายก๊าซของอาเซียนอีกด้วย
ระบบท่อก๊าซอาเว๊ยนที่อยุ่ในเขตพื้นที่ของประเทศไทยประกอบด้วย ท่อก๊าซเชื่อมโยงกับพม่าบริเวณจังหวัดราชบุรี และมาเลเซียในบริวเณอ่าวไทย นอกจานี้จะมีการขยายท่อก๊าซเพ่ิมเติมกับมาเลเซียในอ่าวไทย และการก่อสร้างท่อก๊าซใหม่ไปเชื่อมกับแหล่งนาทูน่าตะวันออกของอินโดนีเซยด้วย
โครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเวียนมีนโยบายร่วมกัน ที่จะพัฒนาและเชื่ดม
โยงโครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เพื่อส่งเสริมความมั่นคงของการจ่ายไฟฟ้าของภูมิภาค และส่งเสริมให้มีการซื้อขายพลังงานไฟฟ้าระหว่างประเทศ เพื่อลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าโดยรวม โดยที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้ายพลังงาน ครั้งที่ 25 ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยเรื่อง โครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2550 เพื่อเป้ฯกรอบในการกำหนดนโยบายร่วมของภุมิภาคนการผลัดันให้การเชื่อมโยงระบบสายส่งไฟฟ้า และการซื้อขายไฟฟ้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
สำหรับโครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน มีโครงการเร่งรัด 2 โครงการที่ต้องรีดำเนินการ ซึ่งได้แก่ โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อ มะละกา - เปกันบารู ภายใต้แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ 3 ฝ่าย และโครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อกะลิมนตันตะวันตก และซาวารักภายใจ้เขตพัฒนาเศราฐกิจอาเซียนด้านตะวันออก บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในส่วนของไทยนั้น ได้มีการซื้อขายไฟฟ้ากับ สปป. ลาว และมาเลเซีย ผ่านจุดเชื่อมโยงสายส่งบริเวณจังหวัดสกลนคร อุดรธานี ร้อยเดอ็ด มุกาหาร อุบลราชธานี และผ่านระบบเชื่อโยงไทย - มาเลเซีย บริเวณจังหวัดสงขลา นอกจากนี้ รัฐบาลไทย ยังมีแผนที่จะซื้อขายไฟฟ้ากับพม่าและกัมพา รวมทั้งก่อสร้างจุดเชื่อมโยงสายส่งเพิ่มเติมอีกด้วยwww.mfa.go.th/asean/contents/files/customize-20121218-094305-241038.pdf
โครงข่ายทางหลวงอาเซียน คือ โครการก่อรสร้างโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการขนส่งทางบกนำร่องซึ่งจะรวมกันเป็นเส้นทางสายหลัก หรือ ทางหลวงระหว่างประเทศ เพื่อสร้างเป็นระบบเรือข่ายการขนส่งโดยรวมของอาเซียน ทางหลวงอาเซียนจะมีส่วนร่วมห้ผุ้ประกอบการสามารถเข้าถึงตลาดที่ใหญ่ขึ้น รวมทั้งลดต้นทุนการขนส่งและการค้า ทำหน้าที่เชื่อต่อห่วงโซ่อุปทานระดับภูมิภาคและระดับโลก ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือ การรวมตัว และการลดช่องว่างทางการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน
การดำเนินงานก่อสร้างทางหลวงอาเซียนในปัจจุบัน ยังคงมีเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแกนในบางช่วงที่ไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ดังนั้นโครงข่ายทางหลวงอาเซียนจึงมีวัตถุประสงค์หลักในหารก่อสร้างถนนเพ่ิมเติมในช่วงของการขนส่งที่ไม่ต่อเนือง และทำการปรับปรุงยกระดับถนนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ในเส้นทางที่กำหนด ภายในปี พ.ศ. 2558
สำหรับช่วงของการขนส่งที่ขาดหาย และต้องการเชื่อมต่อการขนส่งที่ต่อเนื่องมุ่งเน้นไปที่การก่อสร้าง 1) ทางหลวง AH 112 ระยะทาง 60 กม. เชื่อมโยงระหว่างท่าตอน เมาะละแห่ง ละยา และคลองลอย ในสหภาพพม่า และ 2) ทางหลวง AH 123 ระยะทาง 141 ก.ม. เชื่อมโยงระหว่างทวาย และ ช่องแม่สะแม ในสหภาพพม่า ในส่วนของการปับปรุงเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแดนที่ต่ำกว่าขั้นที่ 3 ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงเส้นทางต่อไปนี้
- ลาว AH 12 เวียงจันทน์ - หลวงพระบาง ระยะทาง 393 กม.
- ลาว AH 15 บ้านลาว - น้ำนาว ระยะทาง 98 กม.
- พม่า AH 1 ตามู - มัณฑะเลย์ -บากู -เมียวดี ระยะทาง 781 กม.
- พม่า AH 2 เม็กทิลา - ลอยเล็ม - เชียงตุง - ท่าขี้เหล็ก ระยะทาง 593 กม.
- พม่า AH 3 เชียงตุง - เมืองลา ระยะทง 93 กม. สำหรับทางหลวงอาเซียนช่วงที่ผ่านประเทศไทยประกอบด้วยเส้นทางหลัก 6 สาย ได้แก่
A-1 เร่ิมต้นจากเขตแดนของพม่าที่ อ. แม่สอดไปตามทางหลวงหมายเลข 105 ถึง จ.ตาก เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.บางปะอิน เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.หินกองเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 33 ผ่าน จ. นครนายก ปราจีนบุรี จรดชายแดนเขชมรที่ อ.อรัฐประเทศ เป้นทางผิวลาดยาง และคอนกรีตตลอดระยะทางประมาณ 698 กม.
A-2 เร่ิมต้นจากเขตแดนของพม่าที่ อ. แม่สอด ไปตามทางหลวงหมายเลข 110 ถึง จ. เชียงราย ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง อ.พยุหะคีรี ตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 32 ถึง อ.ลางปะอิน เลี้ยวขวาไปทางหลวงหมายเลข 1 ถึงกรุงเทพฯ และจากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายพลเขล 4 ผ่าน จ.นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และชุมพร แล้วตรงไปตามทางหลวงหมายเลข 41 ถึง จ.พัทลุง เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่าน อ. หาดใหญ่และไปจรดชายแดนของมาเลเซียที่ อ. สะเดา สภาพทางเป็นผิวลาดยางและคอนกรีต ตลอดสายระยะทางประมาณ 1,945 กม.
A-3 เร่ิมต้นจากปยกสาย A-2 ที่ จ. เชียงราย ไปตามทางหลวงหมายเลข 1020 ไปจรดเขตแดนทของลาวที่ อ.เชียงของ เป็นทางลาดยางตลอดสายระยะทางประมาณ 115 กม.
A-12 เริ่มต้นจากแยกสาย A-1 ที่สามแยกหินกองไปตามทางหลวงหมายเลข 1 ถึง จ.สระบุรี เลี่้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2 ผ่าน จ.นครราชศรีมา ขอนแก่นอุดรธานี สิ้นสุดที่หนองคาย สภาพทางเป็นผิวลาดยางและคอนกรีตแล้วตลอดสาย ระยะทางประมาณ 524 กม.
A-15 เริ่มต้นจากแยกสาย A-12 ที่ จ.อุดรธานี ไปตามทางหลวงหมายเลข 22 ผ่าน จ. สกลนคร สิ้นสุดที่ จ. นครพนม สภาพทางลาดยางตลอดระยะทางประมาณ 241 กม.
A-18 เริ่มต้นจากแยกสายที่ A-2 ที่ อ.หาดใหญ่ ไปตามทางหลวง หมายเลข 43 แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงเชย 42 ผ่าน จ.ปัตตานีไปจนถึง จ. นราธิวาส จากนั้นไปตามทางหลวงหมายเลข 4056 ไปจนจรดเขตแดนของ มาเลเซียที่ อ.สุไหง-โกลก เป็นทางลาดยางตลอดสาย ระยะทางประมาณ 275 กม.
เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กับคุนหมิง
เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กับคุนหมิง เป็นโครงการนำรองสำหรับโครงสร้างพื้นฐานทางคมนคมอีกหนึ่งโครงการที่มีความสำคัญ โดยมีเป้าหมายอยู่ที่การเชื่อมโยงประเทศในกลุ่มอาเวียน 7 ประเทศ ซึ่งได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม พม่า และสปป.ลาวกับสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยในเบื้องต้นเพื่อให้โครงการนี้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจะให้ความสำคัญกับ เส้นทางหลัก 4 ช่วง ซึ่งในปัจจุบันยังมีการเชื่อมโยงกันที่ยังไม่สมบูรณ์ ได้แก่
- ไทย อรัญประเทศ - คลองลึก ( 6 กม.)
- กัมพูชา ปอยเปต - ศรีโสภณ ( 48 กม.)
- กัมพูชา พนฒเปญ - ล็อกนิน ( 254 กม.)
- เวียดนาม ล็อกนิน - โฮจิมินห์ (129 กม.)
สำหรับเส้นทางรถไฟสายนี้ตัดผ่านปะเทศไทย 17 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นครปฐม ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ภาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประชวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุ
ง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และช่วงของรางรถไฟที่จะต้องมีการก่อสร้างเพ่ิมเติมในประเทศไทย จะอยู่บริเวณสภานีรถไฟน้ำตก จ. กาญจนบุรี ถึงธันบูซายัด ในสหภาพพม่ ารวมระยะทาง 263 กม.
แนวระเบียงเศราฐกิจ ประกอบด้วย
แนวระเบียงเศษฐกิจตะวันออก- ตะวันตก มีจุดเร่ิมต้นจากเมืองเมาะละแหม่งของพม่ ผ่านเมืองเมียวดี ก่อนจะเข้าสู่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ประเทศไทย และผ่านจ. พิษณุโลก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ข้ามสะพานมิตรภาพแห่งที่สองเข้าสู่แขวงสะหวันนะเขต ของ สปป.ลาว ผ่านแดนสะหวั น และเข้าสู่ประเทศเวียดนามที่เมืองลาวบาว ผ่านเมืองเว้ ดองฮา และสิ้นสุดที่เมืองดานัง เมื่องท่าสำคัญของเวียดนาม
แนวระเบียบเศรษฐกิจ แม่โขง-อินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมภูมิภาคลุ่มน้ำโข. ซึ่งประกอบด้วยประเทศ กัมพุชา ไทย และสหภาพพม่ เข้กับฝั่งตะวันออกของอินเดีย โดยผ่าน เส้นทางโฮจิมินห์ -พนมเปญ-กรุงเทพฯ -ทะวาย-เจนไน ซึ่งใช้เป็นเส้นทางลัดสำหรับขนส่งสินค้า ควบคุ่ไปกับการพัฒนาเขตเศราฐกิจและอุตสาหกรรมบริเวณโดยรอบเส้นทาง และเป็นการเน้นบย้ำถึงความสำคัญของอินเดียในฐานะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ทางด้านการต้า แลการลงทุนของอาเซียน รมไปถึงความสอดคล้องกับนโยบาย มองระวันออก ของอินเดียที่มุ่งสนับสนุนการดำเนินความสัมพันธ์กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โครงการเชื่อมโยงระบบท่อส่งก๊าซอาเซียน ในการประชุมรัญมนตรีอาเซียนด้านพลังงาน ครั้งที่ 20 ณ เมืองบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2545 อาเซียนได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจโครงการเชื่อมโยงท่าก๊าซธรรมชาต ิอาเซียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นกรอบการทำงานอย่างกว้าง ๆ สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนในการประสานความร่วมมือเพื่อดำเนินโครงการให้สัมฤทธิ์ผล และเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของภูมิภาคอาเซียน โดยอาเซียนได้มอบหมายให้คณะมนตรี
อาเซียนว่าด้วยปิโตรเลี่ยม เป็นกลไกหลักในการดำเนินโครงการ ASCOPE ได้จัดตัเ้งคึณะทำงานเฉพาะกิจเกี่ยวกับโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน และได้จัดทำแผนแม่บงทโครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซธรรมชาติอาเซียน โดยปรับปรุงจากแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาและการใช้ก๊าซธรรมชาติในภุมิภาคอาเซีน ในปี พ.ศ. 2539
ปัจจุบันอาเซียนมีากรเชื่อโยงท่าส่งก๊าซธรรมชาติ ระยะทางรวมทั้งสิ้น 3,020 กม.และมีแผนการที่จะก่อสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต โดยแหล่งก๊าซนาทูน่า ทางตะวันออกของอินโดนีเซียจะเป็นแหล่งก๊าซหลักที่จะสนับสนุนโครงการท่อก๊าซในอาเซียนและอาจมีการนำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว จากภายนอกภูมิภาค เพื่อนำมากระจายผ่านโครงข่ายก๊าซของอาเซียนอีกด้วย
ระบบท่อก๊าซอาเว๊ยนที่อยุ่ในเขตพื้นที่ของประเทศไทยประกอบด้วย ท่อก๊าซเชื่อมโยงกับพม่าบริเวณจังหวัดราชบุรี และมาเลเซียในบริวเณอ่าวไทย นอกจานี้จะมีการขยายท่อก๊าซเพ่ิมเติมกับมาเลเซียในอ่าวไทย และการก่อสร้างท่อก๊าซใหม่ไปเชื่อมกับแหล่งนาทูน่าตะวันออกของอินโดนีเซยด้วย
โครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเวียนมีนโยบายร่วมกัน ที่จะพัฒนาและเชื่ดม
โยงโครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เพื่อส่งเสริมความมั่นคงของการจ่ายไฟฟ้าของภูมิภาค และส่งเสริมให้มีการซื้อขายพลังงานไฟฟ้าระหว่างประเทศ เพื่อลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าโดยรวม โดยที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้ายพลังงาน ครั้งที่ 25 ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยเรื่อง โครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2550 เพื่อเป้ฯกรอบในการกำหนดนโยบายร่วมของภุมิภาคนการผลัดันให้การเชื่อมโยงระบบสายส่งไฟฟ้า และการซื้อขายไฟฟ้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
สำหรับโครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน มีโครงการเร่งรัด 2 โครงการที่ต้องรีดำเนินการ ซึ่งได้แก่ โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อ มะละกา - เปกันบารู ภายใต้แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ 3 ฝ่าย และโครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อกะลิมนตันตะวันตก และซาวารักภายใจ้เขตพัฒนาเศราฐกิจอาเซียนด้านตะวันออก บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในส่วนของไทยนั้น ได้มีการซื้อขายไฟฟ้ากับ สปป. ลาว และมาเลเซีย ผ่านจุดเชื่อมโยงสายส่งบริเวณจังหวัดสกลนคร อุดรธานี ร้อยเดอ็ด มุกาหาร อุบลราชธานี และผ่านระบบเชื่อโยงไทย - มาเลเซีย บริเวณจังหวัดสงขลา นอกจากนี้ รัฐบาลไทย ยังมีแผนที่จะซื้อขายไฟฟ้ากับพม่าและกัมพา รวมทั้งก่อสร้างจุดเชื่อมโยงสายส่งเพิ่มเติมอีกด้วยwww.mfa.go.th/asean/contents/files/customize-20121218-094305-241038.pdf
วันอาทิตย์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2560
ASEAN CONNECTIVITY
แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนเป็ฯเอกสารทางยุทธศาสตร์เื่อเร่งรัดการเชื่อมโยงระหวา่งประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศให้เป็หหนึ่งเดียวทั้งในด้านโครงกสร้างพื้นฐาน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชน โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อการสร้างอาเซียนให้เป็นประชาคมอย่างแท้จริงในปี 2558 และเป็นศูนย์กลางของสถาปัตยกรรมภูมิภาค
แม้ว่าอาเซียนจะมีศักยภาพทางภูมิศาสตร์ที่เอื้อต่อการเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นๆ และภายใต้กรอบความร่วมมือในอนุภูมิภาคทั้งหบลาย ได้มีการจัดทำแผนการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมที่สำคัญหลายโครงการแต่การใช้ประโยชน์จากความเชื่อมโยงที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้ เพื่อเข้าสู่ตลาดที่มีขนาดใหญ่เขึ้นและขยยการต้าการลงทุนให้เพ่ิมมากขึ้น ยังต้องเผชิญความท้าทายอยุ่อีกมาก ทั้งในด้านการระดมทุนเพื่อให้แผนงานที่กำหนดไว้ในแผนการเชื่อมโยงในกรอบอนุภูมิภาคเหล่านั้นบรรลุผลสำเร็จ การพัฒนาทักษณะและขีดความสามารถของผุ้ประกอบการแรงงานฝีมือ และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การส่งเสริมความตระหนักรู้ในการเป็นชาวอาเซียน และการเรียนรู้ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสารสร้างความเข้าใจระหว่างกัน
แผนแม่บทว่าด้ยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นกรอบใหญ่ที่ประสานแผนการเชื่อมโยงภายใต้ควารมร่วมมือในอนุภูมิภาคเข้าด้วยกัน โดยได้วางยุทธศาสตร์หลักเพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงด้านต่างๆ ไว้ ดังนี้
- ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์การก่อสร้งและยกระดับถนน เส้นทางรไฟ การขนส่งทางน้ำ การขนส่งทางอากาศร่วมทั้งการเชื่อมโยงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านพลังงาน (โครงการท่อก๊าซและระบบสายส่งไฟฟ้าของอาเซียน) โดยองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนในแต่ละสาขาจะเป็นผุ้รับผิดชอบหลักในการดำเนินการให้เป็นไปทันเวลาที่กำหนดไว้
- ด้านกฎระเบียบ แผนแม่บทฯ จะมีส่วนในการเร่งรัดความตกลง กฎระเบียบต่างๆ ในการอำนวยความสะดวกในการข้ามแดนในอาเซียน ให้มีผลใช้บังคับเพื่อความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใน ลดค่าใช้จ่าย และต่อยอดไปสู่การเคลื่อนบ้ายสินค้าบริกา และการลงทุนโดยภาคเอกชนมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ช่วยป้องกันและแก้ปัญหาที่จะตามมาจาการเชื่อมโยง เช่น อาชญากรรมข้ามชาติ แรงงานผิดกฎหมาย การลักลอบค้ามนุษย์ ยาเสพติดและปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ
- ด้านประชาชน แผนแม่บท จะช่วยเสริมสร้างการไปมาหาสู่ระหว่างกันระหว่างประชาชน การเชื่อมโยบทางสังคม วัฒนธรรม ซึ่งเป้ฯหัวใจของการเป็นประชาคมอาเซียนที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างแท้จริง
ผู้นำอาเวียนได้ให้การรับรองแถลงการณ์่ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ณ ชะอำ หัวหินย ประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เพื่อใช้ข้อได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของอาเซียน ซึ่งตั้งอยุ่ในใจกลางของภูมิภาคที่มีความเจริญเติบโตทงเษนษฐกิจสูง กลาวคือ มีพรมแกนทางทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศอนิเดียแลฃะเอเชียใต้ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับประเทศจี เกาหลีใต้ และญี่ป่นุ และทางด้านทิศต้ใกล้กับประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการเร่งรัดการสร้างประาคมอาเซียนให้เป็นหนึ่งเดียวภายในปี 2558
แผนการสร้งความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียน ไม่เพียงแต่ครอบคลุมช่องทางการเชื่อมโยงทางด้เานโครงสร้างพื้นฐาน แต่ยังรวมไปถึงกฎระเบียบเพื่อำนวยความสะดวกในการเชื่อมโยงระหว่างกัน และการไปมาหาสู่ระหว่างประชาชนด้วย ทั้งนี้องค์ประกอบหลักของความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียนประกอบด้วย
การเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงโครงสร้งพื้นฐานทั้ง ทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ โดยการปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพโครงสร้างพื้นฐานเดิมที่มีอยุ่แล้สให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้นและการขยายเครื่อข่ายโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมทั่วถึงยิ่งขึ้น
ื ยุทธศาสตร์
- ก่อสร้างโครงข่า่ยทางหลวงอาเซียนให้เแล้วเสร็จ
- เร่งรัดโครงการสร้างเส้นทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ
- สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำบนภาคพื้นทวีปที่มีประสิทธิภาพและะเชื่อมโยงกัน
- สร้างระบบการขนส่งทางทะเลที่เชื่อมโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้
- สร้างระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คล่องตัวเพื่อให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอื่นๆ
- เร่งรัดการพัฒนาโครงสร้งพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศสมาชิก
- ให้ความสำคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน
การเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบที่จะช่วยอำนวยความสะดวกกระบวนการทำงานของหน่วยงานต่างๆ อยางมีประสิทธิผล โดยเร่งรัดผลักดัน ความตกลง และข้อตกลงต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการเชื่อมดยงระหว่างกัน ที่มีอยุ่แล้งให้มีผลบังคับใช้ รวมทั้งปรับปรุงรายละเอียดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในงปฏิบัิ อาทิ กรอบความตกลงอาเซยนว่าด้วยการอำนวความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่ง สินค้าข้ามแดน กรอบความตกลงว่าด้วยการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ฯลฯ
ยุทธศาสตร
- ดำเนินการตามกรอบความตกลงทั้ง 3 กรอบว่าด้วยการอำนวนความสะดวกในการขนส่ง
- เริ่มดำเนินโครงการการอำนวนความสะดวกด้านการขนส่งผุ้โดยสารในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ
- สร้างตลาดการบินเดียวในอาเซียน
- สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน
- เพิ่มการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรีภายในภูมิภาคอาเซีนน โดยการกำจัดอุปสรรคทางการต้าระหว่างกันในภูมิภาค
- เร่งรัดการพัฒนาภาคบริการด้านโลจิสตกกส์ให้มีประสิทธิภาพและแข่งขันได้ โดยเฉพาะในสาขาการขนส่ง โทรคมนาคม และากรบริการด้านการเชื่อมโยงอื่นๆ
- พัฒนาและปรับปรุงการอำนวยความสะดวกด้านการต้าในภูมิภาคอย่างจริงจัง
- ยกระดับความสามารถในการบริหารจัดการข้ามพรแดน
- เร่งรัดให้ประเทศสมาชิกอาเวียนเปิดรับการลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาคมากยิ่งขึ้น โดยใช้กฎระเบียบการลงทุนที่เป็นธรรม
เสริมสร้างขีดความสามารถของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านกฎระเบียบในพื้นที่หรือกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาน้อยกว่าในภูมิภาค และปรับปรุงการประสานนโยบายแผนงาน และโครงการในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค
การเชื่อมโยงด้านประชาชน มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงระหว่งประชาชน โดยการสงเสริมการเรียนรุ้ระหว่างกันทางวัฒนธรรมแบะสังคมของประเทศสมาชิกอาเซียน อาทิ การส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาของประเทศต่างๆ ในอาเซียนเป้ฯภาษาที่สาม การเชื่อมโยงระบบการศึกษาระหว่งกันโดยให้มีการโอนย้ายหน่วยกิตระหว่างสถาบันการศึกษาในอาเวียนการแลกเปลี่ยนนักศึกาาและอาจารย์ รวมถึงการส่งเสริมและอำนวนความสะดวกการไปมาหาสู่ระวห่างประชาชน โดยใบ้มาตรการต่างๆ อาทิ การอำนวนความสะดวกและยกเว้นวีซ่าระหว่างกัน และการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในอาเซียนเพื่อให้ประชาชนในภุมิาภคได้เรียนรู้และ เข้าใจถึงประทเศในกลุ่มสมาชิก ได้อย่างลึกซึ้งมากย่ิงขึ้น ทั้งในส่วนของสังคมและ วัฒนธรรม ซึ่งจะช่วยสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่งกันและความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อันเป็นเป้าหมายสำคัญของการเป็นประชาชนอาเซียน
ยุทธศาสตร์
- ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างกันในด้านังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น
- ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้มากยิ่งขึ้นwww.mfa.go.th/asean/contents/files/customize-20121218-0943
-
แม้ว่าอาเซียนจะมีศักยภาพทางภูมิศาสตร์ที่เอื้อต่อการเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นๆ และภายใต้กรอบความร่วมมือในอนุภูมิภาคทั้งหบลาย ได้มีการจัดทำแผนการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมที่สำคัญหลายโครงการแต่การใช้ประโยชน์จากความเชื่อมโยงที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้ เพื่อเข้าสู่ตลาดที่มีขนาดใหญ่เขึ้นและขยยการต้าการลงทุนให้เพ่ิมมากขึ้น ยังต้องเผชิญความท้าทายอยุ่อีกมาก ทั้งในด้านการระดมทุนเพื่อให้แผนงานที่กำหนดไว้ในแผนการเชื่อมโยงในกรอบอนุภูมิภาคเหล่านั้นบรรลุผลสำเร็จ การพัฒนาทักษณะและขีดความสามารถของผุ้ประกอบการแรงงานฝีมือ และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การส่งเสริมความตระหนักรู้ในการเป็นชาวอาเซียน และการเรียนรู้ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสารสร้างความเข้าใจระหว่างกัน
แผนแม่บทว่าด้ยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นกรอบใหญ่ที่ประสานแผนการเชื่อมโยงภายใต้ควารมร่วมมือในอนุภูมิภาคเข้าด้วยกัน โดยได้วางยุทธศาสตร์หลักเพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงด้านต่างๆ ไว้ ดังนี้
- ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์การก่อสร้งและยกระดับถนน เส้นทางรไฟ การขนส่งทางน้ำ การขนส่งทางอากาศร่วมทั้งการเชื่อมโยงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านพลังงาน (โครงการท่อก๊าซและระบบสายส่งไฟฟ้าของอาเซียน) โดยองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนในแต่ละสาขาจะเป็นผุ้รับผิดชอบหลักในการดำเนินการให้เป็นไปทันเวลาที่กำหนดไว้
- ด้านกฎระเบียบ แผนแม่บทฯ จะมีส่วนในการเร่งรัดความตกลง กฎระเบียบต่างๆ ในการอำนวยความสะดวกในการข้ามแดนในอาเซียน ให้มีผลใช้บังคับเพื่อความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใน ลดค่าใช้จ่าย และต่อยอดไปสู่การเคลื่อนบ้ายสินค้าบริกา และการลงทุนโดยภาคเอกชนมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ช่วยป้องกันและแก้ปัญหาที่จะตามมาจาการเชื่อมโยง เช่น อาชญากรรมข้ามชาติ แรงงานผิดกฎหมาย การลักลอบค้ามนุษย์ ยาเสพติดและปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ
- ด้านประชาชน แผนแม่บท จะช่วยเสริมสร้างการไปมาหาสู่ระหว่างกันระหว่างประชาชน การเชื่อมโยบทางสังคม วัฒนธรรม ซึ่งเป้ฯหัวใจของการเป็นประชาคมอาเซียนที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างแท้จริง
ผู้นำอาเวียนได้ให้การรับรองแถลงการณ์่ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ณ ชะอำ หัวหินย ประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เพื่อใช้ข้อได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของอาเซียน ซึ่งตั้งอยุ่ในใจกลางของภูมิภาคที่มีความเจริญเติบโตทงเษนษฐกิจสูง กลาวคือ มีพรมแกนทางทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศอนิเดียแลฃะเอเชียใต้ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับประเทศจี เกาหลีใต้ และญี่ป่นุ และทางด้านทิศต้ใกล้กับประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการเร่งรัดการสร้างประาคมอาเซียนให้เป็นหนึ่งเดียวภายในปี 2558
แผนการสร้งความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียน ไม่เพียงแต่ครอบคลุมช่องทางการเชื่อมโยงทางด้เานโครงสร้างพื้นฐาน แต่ยังรวมไปถึงกฎระเบียบเพื่อำนวยความสะดวกในการเชื่อมโยงระหว่างกัน และการไปมาหาสู่ระหว่างประชาชนด้วย ทั้งนี้องค์ประกอบหลักของความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเวียนประกอบด้วย
การเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงโครงสร้งพื้นฐานทั้ง ทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ โดยการปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพโครงสร้างพื้นฐานเดิมที่มีอยุ่แล้สให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้นและการขยายเครื่อข่ายโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมทั่วถึงยิ่งขึ้น
ื ยุทธศาสตร์
- ก่อสร้างโครงข่า่ยทางหลวงอาเซียนให้เแล้วเสร็จ
- เร่งรัดโครงการสร้างเส้นทางรถไฟสิงคโปร์-คุนหมิงให้แล้วเสร็จ
- สร้างเครือข่ายระบบการขนส่งทางน้ำบนภาคพื้นทวีปที่มีประสิทธิภาพและะเชื่อมโยงกัน
- สร้างระบบการขนส่งทางทะเลที่เชื่อมโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ และแข่งขันได้
- สร้างระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่คล่องตัวเพื่อให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางการขนส่งในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอื่นๆ
- เร่งรัดการพัฒนาโครงสร้งพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศสมาชิก
- ให้ความสำคัญกับโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานของอาเซียน
การเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงในด้านกฎระเบียบที่จะช่วยอำนวยความสะดวกกระบวนการทำงานของหน่วยงานต่างๆ อยางมีประสิทธิผล โดยเร่งรัดผลักดัน ความตกลง และข้อตกลงต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการเชื่อมดยงระหว่างกัน ที่มีอยุ่แล้งให้มีผลบังคับใช้ รวมทั้งปรับปรุงรายละเอียดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในงปฏิบัิ อาทิ กรอบความตกลงอาเซยนว่าด้วยการอำนวความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่ง สินค้าข้ามแดน กรอบความตกลงว่าด้วยการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ฯลฯ
ยุทธศาสตร
- ดำเนินการตามกรอบความตกลงทั้ง 3 กรอบว่าด้วยการอำนวนความสะดวกในการขนส่ง
- เริ่มดำเนินโครงการการอำนวนความสะดวกด้านการขนส่งผุ้โดยสารในโครงข่ายทางหลวงที่เชื่อมรัฐต่างๆ
- สร้างตลาดการบินเดียวในอาเซียน
- สร้างตลาดการขนส่งทางเรือเดียวในอาเซียน
- เพิ่มการเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรีภายในภูมิภาคอาเซีนน โดยการกำจัดอุปสรรคทางการต้าระหว่างกันในภูมิภาค
- เร่งรัดการพัฒนาภาคบริการด้านโลจิสตกกส์ให้มีประสิทธิภาพและแข่งขันได้ โดยเฉพาะในสาขาการขนส่ง โทรคมนาคม และากรบริการด้านการเชื่อมโยงอื่นๆ
- พัฒนาและปรับปรุงการอำนวยความสะดวกด้านการต้าในภูมิภาคอย่างจริงจัง
- ยกระดับความสามารถในการบริหารจัดการข้ามพรแดน
- เร่งรัดให้ประเทศสมาชิกอาเวียนเปิดรับการลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาคมากยิ่งขึ้น โดยใช้กฎระเบียบการลงทุนที่เป็นธรรม
เสริมสร้างขีดความสามารถของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านกฎระเบียบในพื้นที่หรือกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาน้อยกว่าในภูมิภาค และปรับปรุงการประสานนโยบายแผนงาน และโครงการในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค
การเชื่อมโยงด้านประชาชน มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงระหว่งประชาชน โดยการสงเสริมการเรียนรุ้ระหว่างกันทางวัฒนธรรมแบะสังคมของประเทศสมาชิกอาเซียน อาทิ การส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาของประเทศต่างๆ ในอาเซียนเป้ฯภาษาที่สาม การเชื่อมโยงระบบการศึกษาระหว่งกันโดยให้มีการโอนย้ายหน่วยกิตระหว่างสถาบันการศึกษาในอาเวียนการแลกเปลี่ยนนักศึกาาและอาจารย์ รวมถึงการส่งเสริมและอำนวนความสะดวกการไปมาหาสู่ระวห่างประชาชน โดยใบ้มาตรการต่างๆ อาทิ การอำนวนความสะดวกและยกเว้นวีซ่าระหว่างกัน และการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในอาเซียนเพื่อให้ประชาชนในภุมิาภคได้เรียนรู้และ เข้าใจถึงประทเศในกลุ่มสมาชิก ได้อย่างลึกซึ้งมากย่ิงขึ้น ทั้งในส่วนของสังคมและ วัฒนธรรม ซึ่งจะช่วยสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่งกันและความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อันเป็นเป้าหมายสำคัญของการเป็นประชาชนอาเซียน
ยุทธศาสตร์
- ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างกันในด้านังคมและวัฒนธรรมภายในอาเซียนให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น
- ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายของประชาชนภายในอาเซียนให้มากยิ่งขึ้นwww.mfa.go.th/asean/contents/files/customize-20121218-0943
-
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...