Ecotourism

             การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เป็ฯศัพท์บัญญัติที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) นำมาใช้อย่างเป็ฯทางการใน พ.ศ. 2541 โดยให้มีความหมายตรงกับคำว่า Ecotourism ในภาษาอังกฤษ ศัพท์บญญัตินี้ได้รับความเห็นชอบจากราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งเป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบัญญัติศัพท์แล้ว
             Ecotourism เป็นคำที่เกิดใหม่ในวงการ อุตสาหกรรมท้องเที่ยว โดยนำคำ 2 คำมารวมกัน ได้แก่ eco และ tourism  แปลว่า การท่องเที่ยวเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย หมายถึง การท่องเที่ยวที่เน้นในด้านสิ่งแวดล้อมอันเป้นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ส่วนคำว่า นิเว ซึ่งเป็นคำภาษาสันสกฤตที่นำมาใช้ในภาาาไทย ก็แปลว่า บ้านหรือที่อยู่อาศัยเช่นกัน ฉะนั้น การท่องเที่ยวว เชิงนิวเศจึงเป้ฯสัพท์บัญญัติที่มีความมหายตรงกับคำในภาษาอังกฟษอย่างเหมาะสม....
             การท่องเที่ยวอย่างยั่งยน มีัหลักการที่สอดคล้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งเป้นกระแสความคิดหลักของโลกนช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา และได้รับความสนับสนุนจากคณะกรรมาธิการวาด้วยการ
พัฒนาอย่างยั่งยืน ขององค์การสหประชาชาติ ซึงหลักการโดยทั่วไปของการพัฒนาอย่างยั่งยืน คื อจะต้องมีการอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรอย่างพอดี เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ต่อไปได้ในระยะเวลายาวนาน และมีการกระจายผลประโยชน์ให้แก่คนส่วนใหญ่ รวมทั้มีการร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผุ้ทีเ่กี่ยวขช้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย เมื่อนำหลักการนี้มาปรับใช้กับการท่องเที่ยวอยา่งยั่งยืน จึงมีจุดเน้นที่สำคัญดังนี้
           - จะต้องดูแลทรัพยากรการทอ่งเท่ยว ให้สามารถใชประดยชน์ต่อไปได้ในระยะเวา ยาวนานจนถึงชั่วลูกลี่วหลาน มิใช่เพียวเพื่อนรุ่นปัจจิบันเท่านั้น
         
- ลดการใช้ทรัพยากกยอ่างสิ้นเปลื่อง และลดปริมษรของเสียที่จะเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
           - มีการกระจายรายได้และผลประโยชน์ให้แก่คนในท้องถ่ินที่มีแหล่งท่องเที่ยวตั้งอยู่ เปิดโอกาสให้ชุมชนในท้องเถ่ินได้เข้ารวมในการจัดการ และการให้บริการแก่นักท่องเที่ยว
           -มีการประชุมปรึกษาหารอกันอย่างสม่ำเสมอระหว่างผุ้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น หน่ยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ผุ้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว และชุมชนในท้องถ่ิน เพื่อการวางแผนงาน การจัดสรรวงประมาณ และการจัดการทรัพยากรอย่างเมหาะสม
            - มีการสร้างเครื่อข่าายเพื่อเผยแพร่แนวคิด การศึกษาวิจัย และความรู้เกี่ยวกับการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ออกไปในหมู่ประชาชน ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศอยางกว้างขวาง
            กลักการของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ที่สำคัญคือ
           - จะต้องมีการอนุรักษ์ทรัพยากรภารท่องเที่ยวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ หรือทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ให้คงสภาพเดิมไว้ให้มากที่สุด ไม่ถูกทำลาไป
           - กระตุ้นจิตสำนึกของคนในท้องถอ่ินให้พยายามดูแลรักษาและปกป้องทรัพยากรการท่องเที่ยวเหล่านั้น ดดยไม่กระทำการใดๆ ที่เป็นปลเสยต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว เพรียงเพื่อหวังผลประโยชน์ส่วนตน
          - ให้ความรู้ความเข้าใจแก่นักท่องเที่ยว เพื่อตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของแหล่งท่องเที่ยวที่ตนเดินทางเข้าไปเยือนและให้ความร่วมมือแก่ชุมชนในท้องถิ่นในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อันเป้นมรกดตกทอด ของคนในท้องถิ่นนั้นๆ ให้คงสภาพที่ดีต่อไป นานๆ...http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter3/t27-3-l1.htm
            ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : เทรนด์มาแรงแห่งอาเซียน
             การท่องเที่ยวในย่านอุษาคเนย์มีปัจจัยเกื้อหนุนมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเสน่ห์ของสภาพแวดล้อมในภูมิภาค ปริมาณนักเดนทางที่ขยายตามการเติบโตของชนชั้นกลาง ธุรกิจการบินต้นทุนต่ำที่กำลังคึกคัก การโหมอัปโหลดภาพถ่ายแหล่งท่องเที่ยวสู่อนเทอร์เน็ตโดยผุ้ประกอบการไม่ต้องมีต้นทุนในการโฆษณา การเติบโตของธุรกิจไมซ์ แนวโน้มนักเดินทางวัยเกษียณที่กำลังมาแรง และความนิยมในการเดินทางพักผ่อนควบคู่กับรักษาตัว เป็นต้น
            ทว่ายังเกิดแนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยวอีกหนึ่งกระแสที่ภาคอุสาหกรรมท่องเที่ยวทั่วดลกต้องจับตา และก้าวตามให้ทัน นั่นคื อการะแสสำนึกว่าด้วยความยั่งยืน
             นับตั้งแต่เปิดฉากสหรัสสวรรษนี้ ความตื่นตัวว่าด้วยการใช้ชีวิตอย่งยั่งยืนก็เริ่มลงหลักปักฐานอย่างจริงจัง คนทั่วดลกคุ้นชินและคิดถึงวิกฤตของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สู่ชั้นบรยากาศ รู้จักประโยชน์ของรีไซเดิล เข้าใจผลกระทบของอุตสาหกรรมต่อชุมชน เพราะนี้คืออีกด้านของมนุษย์ การดำรงชีวิตของเราย่อมส่งผลกระทบต่อสังคมและสภาพแวดล้อมมากน้อยต่างกันไปตามแต่ละปัจเจก
             ด้วยเหตุนี้ ธุรกิจท่องเที่ยวซึ่งเป้นหนึ่งในภาคอุตสาหกรรมหลักของเอเชียตะวันออกเแียงใต้ที่เติบโตอย่างรวดเร็ซ ก็ไม่รีรอที่จะก้าวเดินไปพร้อมกระแสดังกล่าวจนเกิดกระแส การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ที่กำลังเฟืองฟูขึ้น
             
ก่อนอื่นใดเราควรเข้าใจก่อนว่าการท่องเที่ยวเชิงนิเวศมิใใช่แค่ทัวร์เดินป่าเท่านั้น แต่อาจเป็นกิจกรรมคู่ขนานไปกับการชมธรรมชาติอันงดงามได้ โดยต้องแสดงให้เห็นว่าเป็นกิจกรรมที่รับผิดชอบต่อสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมโดยรอบ
              IUCN ให้นิยามว่า การทอ่งเที่ยวเชิงนิเวศนั้นช่วยส่งเสริม "ให้เกิดสำนึกรับผิชอล ท่องเที่ยวอย่างระมัดระวัง เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมน้อยทีสุด รวมทั้งชื่นชมต่อวัฒนธรรมและความหลากหลายของพื้นถิ่น สนับสนุนภารกิจงานอนุรักษ์ของชาวบ้าน เพื่อประดยชน์ที่ยั่งยืนแก่คนในชุมชน โดยเปิดให้คนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ"
              ผุ้เขียนของยกบางตัวอย่างในประเทศอาเวียน เพื่อชี้ให้เห้ฯความคิดอันสร้างสรรค์ว่าภาคธุรกิจท่องเที่ยวจะเดินเคียงคู่ไปกับความยั่งยืนได้ โดยการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจะยังประโยชน์แก่ตัวเรา ภาคธุรกิจ และผุ้คนทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง และขอเชิญชวนให้ผุ้อ่านรู้จักกิจกรรมท่องเที่ยวเขิงนเวิศที่น่าสนใจในภุมิภาคอาเซียนร่วมทั้งในประเทศไทย ดังต่อไปนี้
              ลาว.. "เนชั่นแนลจีโอกราฟิก" ขนานนามดินแดนแห่งนี้ว่า เป้นจุดหมายปลายทางแ่งการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่กำลังขึ้นชื่อลือชาในเวลานี้ สืบเนื่องจากนโยบายภาครัฐที่จะสร้างให้ประเทศเล็กๆ ที่ไม่มีทางออกสุ่ทะเลแห่งนี้เป็น "รัฐนิเวศประชาชาติ"
              นิตยสาร ฟอร์บ ได้ยกตัวอย่างธุรกิจรีสอร์ตแห่งหนึ่ง ซึ่งเป้นบังกะโลริมแม่น้ำที่ตั้งอยุ่ใกล้เขตป่าสวนทางตอนเหนือของประเทศ โดยที่ผุ้ประกอบธุรกิจมุ่งมั่นที่จะลดการท้ิงของเสียอย่างจริงจังด้วยการลทุนติดต้งระบบรีไซเคิลและโรงหมักปุ๋ยเืพ่อชจัดองเสรียที่เกิดจากธุรกิจของตัวเอง จนเป็นหนึ่งในกิจการที่ได้คำรับรองว่าเป็นธุรกิจท่องเที่ยวที่ยัะงยืน จาก กรีน โกล์บ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ช่วยยกมาตรฐานเพื่อสิ่งแวดล้อมให้แก่ธุรกิจโรงแรม
          อินโดนีเซีย.. มีแหล่งที่พักในแบบท่องเที่ยวเชิงนิเวศอยุ่จำนวนมาก โยทำเนียบ เวิร์ด เบส กรีน วาเคชั่น ของนิตยสาร ฟอร์บ ยกรีสอร์ตที่ชื่อว่า Misool Eco Resort ให้ตื่นตาตื่นใจกันว่าเป็นแหล่งพักตากอากาศที่อัศจรรย์สมคำร่ำลือ ตัวกระท่องเมที่พักทอดตัวเป็นแนวเรียงรายเหนือผิวน้ำอันใสสะอาด จนผุ้มาเยือนใช้เป็นจุดดำน้ำชมโลกใต้ท้องทะเลได้เลย รีสอร์ตอยู่บนเกาะส่วนตัวอันสงบเงีย ต้องใช้เวลาเดินทางทางอากาศจากกรุงจาการ์ตาถึงห้าชั่วโมง นอกจานี้แล้ว รีสอร์ตยังรับหนาที่เฝ้าดุแลทรัพยากรธรรมชาติได้พื้นน้ำกว่า  640 ตารางกิโลเมตร ด้วยวางข้อตกลงร่วมกับชาวบ้านว่าจะไม่หาปลาในแถบนี้มาตั้งแต่ปี 2005

             ฟิลิปปินส์.. ด้วยสภาพภุมิประเทศที่เป้ฯหมู่เกาะทำให้ฟิลิปปินส์เหมาะอย่งยิ่งสำหรบกิจกรรมท่องเที่ยวเชินิเวศโดยเฉพาะโปรแกรมอันโดดเด่นจนหาที่ไหนเทียบได้ยาก นั่นคือการชมฉลามวาฬ ที่เมืองคอนซอล
              ข้อมูลจากเว็บไซต์ ไลฟ์ สไตล์ ระบุว่า ดอนซอล เป้นเมองเล็กๆ ของฟิลิปปินส์ที่ขึ้นชื่อว่าเป้ฯ "ศุนย์รวมฉลามวาฒของดลก" ประหนึ่งเป้นเมืองหลวงของประชากรสัตว์น้ำสายพันธุ์นี้ ทั้งนี้ ฉลามวาฬจะเร่ิมชุมชุมในช่วงพฤศจิการยนไปจนถึงมิถุนายน และจะว่ายมาโชว์ตัวให้เห็นชัดๆ ในช่วงกุมภาพันธ์ ทั้งน้ ฉลามวาฬจะเริ่มชุกชุมในช่วงพฤศิการยนไปจนถึงมิถุนายน และจะว่ายมาโชว์ตัวให้เห็นชัดๆ ในช่วงกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม โดยเมืองี้มีการจัการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่ประยุกต์ใช้ในงานอนุรักษ์ประชากรฉลามวาฬ ทำให้การท่องเที่ยวช่วยสร้างรยได้ให้แก่ชุมชนละแวกนั้นเป้นจำนวนมาก
               ความสำเร็จทั้งหมดนี้เกิดจาแรงสนับสนุนของรัฐบาลและองค์กรพันาเอกชน ที่สงเสริมให้เกิดทัวร์ชมฉลามวาฬในสภาพธรรมชาิต จนปัจจุบันการ่องเที่ยวสีเขียวคล้ายกับการเดินป่าในประเทศไทย ไปจนถึงสภานตากอากาศในเขตป่าร้อนชื้นที่เป้ฯมิตรต่อสภาพแวดล้อม
              Taman Negara ขึ้นทะเบียนเป็นป่าอนุรักา์ตั้งแต่ปี 1938 จนปัจจุบันเป็นอุทยานแห่งชาติที่ใหญ่และสำคัญที่สุดของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ 4,343 ตารางกิโลเมตร เป็นป่าฝนเมืองร้อนเก่าแก่ผืนหนึ่งบนโลก และเป็นที่หมายปลายทางในหมู่นักท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่รู้จักกนดี ป่าแห่งนี้ยังเป็นแล่งอาศัยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสายพันธ์หายากมากมาย เช่น เสือมาลายา แรดสุมาตรา นกแว่นสีน้ำตาล เป็นต้น เอกลักษณ์อันโดดเดนของป่าดงดิบผืนนี้คือทางเดนชมธรมชาติที่เป้นสะพานแขวนเชือกลัดเลาะไปตามสภาพป่า สูงเหนือพื้น 45 ม. ยาว 510 ม. ซึ่งเป็นสะพานแขวนเชือกที่มีทางเดินยาวที่สุดในโลกอีด้วย
              หากกำลังหาที่พักแรมแนวนิเวศในเขตป่าดงดิน ในรายงานของ "ฟอร์บ" ช่วยชีเป้าไปที่้านพักในเมือง Sukau ที่นั่นเขาต้มน้ำร้อนด้วยพลังแสงอาทิตย์ พร้อมกบสร้างสะพานสัตว์เดินข้าม เพื่อช่วยให้ฝุงช้างอพยพ ได้สะดวกขึ้น และด้วยสภาพทิวทิศน์ที่มีทั้งป่าทึบ ท้องนา และแม่น้ำ จึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะเป็นแหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้งานด้านอนุรักษรพันะ์เต่าพื้นเมือง ที่สำคัญผลกำไรของรีสอร์ตแห่งนี้ยังนำกลับไปเจือนุ้นโครงการอนุรักษ์อื่นๆ ได้อีกด้วย
            ประเทศไทย.. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธู์พืช ได้พยายามวางมาตรการกำกับดูแลการท่องเที่ยวอย่างเข้มข้นเพื่อตอบสนองต่อแนวคิดอนุรักษ์ระบบนิเวศวิทยาให้คงอยู่ตามสภาพธรรมชาิอย่างดีที่สุด ังตัวอย่างจากนังหวัดกระบี่ที่วางกฎระเบียบดูแลนักท่องเที่ยวตามเกาะแก่งน้ยใหญ่ในทะเลอย่างเคร่งครัด รวมทั้งกำหนดบริเวณเพื่อดำน้ำดูปะการังที่แน่นอนเพื่อให้ง่ายต่อการดูแลนักท่องเที่ยวตามเกาะแก่งน้อยใหญ่ในทะเลอยา่งเครงครัด รวมทั้งกำหนดบริเวณเพื่อดำน้ำดูปะการังที่แน่นอนเพื่อให้ง่ายต่อการดูแล
             
หากมีโอกาศพูดคุยกับชาวบ้าน ก็จะรับทราบถึงความคิดริเร่ิมด้านอนุรักษ์ที่น่าชื่นชม เช่น ความร่วมมือของชุมชนที่จะจัดเรือของตัวเองออกเก็บขญะตามเส้นทางเดินเรือของเือสำราญจากบริษัททัวร์ยักษ์ใหญ่ นำของไท่พึงประสงค์ในท้องทะเลขึ้นมาทิ้งบนบก
              กล่าวได้ว่า โครงการนี้ช่วยให้ "ชุมชนท้องถ่ินตระหนักถคงความสำคัญของแนวปะการังชายฝั่งของหมู่เกาะช้างมากกว่าเดิม และประสานความี่วมมือจากกลุ่มอนุรักา์ต่างๆ ในพื้นที่ รวมทั้งคนในชุมชน เพื่อบริหารจัการทรัพยากรชายฝั่งอย่างมีประสิทธิภาพจนสามารถสร้างรายได้ให้แก่ผู่ทำประมงพื้นานไปพร้อมๆ กับการลดวิธีหาปลาแบบผิดกฎหมาย รวมทั้งลดผลกระทบที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ และแนนอนวาการบริหารทรัพยากรชายฝั่งอยางยั่งยืน จะพัฒนาร่วมกับการท่องเที่ยวบนหมู่เกาะแห่งนี้ได้"
              ดังนัน ไม่ว่าจะเดินทางท่องเทียวไปยังที่ใด เราพึงต้องสำนึกและรระลึกอยู่เสมอถึงหน้าที่ที่จะต้องอนุรักษ์และมีส่วนในความยงยืนของที่นั่น ประเด็นนี้หาใช่แค่พันธกิจอันแสดนดรแมนติกที่ใครๆ ก็อย่างแสดงตัวปกปักรักษาโลก แต่เป้นหน้าที่ที่ไม่ต่างจากงานหรือธุรกิจที่เราเป้นเจ้าของนั่นเอง คือต้องมุ่งหวังเป็นธุรกิจที่เกิดรายได้ที่ต่อเนื่องและยังยืน ชุมชนท้องถ่ินก็เช่นเดี่ยวกัน รายได้จากการท่องเที่ยที่ยั่งยืนจะยังประโยชน์คืนสุ่สังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างยืนนานและยาวไกล
              ในที่สุดแล้ว การท่องเที่ยวเชิวนิเวศก็เป็นประหน่งการเดินทางไปยังดินแดนในฝัน เมื่อไปถึงแล้วก็อย่ากกลับไปซ้ำอีกเรื่อยๆ การจะรักษาดินแดนแห่งนั้นให้เป็นดินแดนในฝันตลอดไป ทำให้คุณต้องเพินทางไปเยื้อนอย่างมีสำนึกรับผิดชอบนั่นเอง...http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9580000068319

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)