Billions Human Trafficking

         ขบวนการต้ามนุษย์ยุโรป มีมูลค่านับพันล้านอดลารื ขณะที่ตำรวจยังไม่ได้ติดตามกวาดล้างจับกุมขบวนการเหล่านี้อย่างจริงจัง ในท่านกลงวิกฤตผู้ลี้ภัยที่หลังไหลเข้ามาในยุโรป และในขณะที่ทั่วโลกำลังับามองว่ารัฐบาลชาติสมาชิกสหภาพยุดปจะัดการปัญหานี้อย่างไร อีกแง่มุมหนึ่งที่ยังไม่เป็นที่พูดถึงมากนั้ก ก็คือขบวนการค้ามนุษย์ ธุรกิจลักลอบขนคนข้ามทีปจากแอฟริการและตะวันออกกลางไปยังยุโรป ซึ่งเป็ฯการฉวยโอกาสทำกำไรบนความทุกขยากของผุ้ลี้ภัย และเป็นสวสำคัญที่ทำให้ผุ้ลี้ภัยจำนวนมากต้องเสียชีวิตกลางทะเลจากการขนส่งที่ไม่ได้มาตรฐาน
          ขบวนการต้ามนุษย์ที่ค่อยจ้างเป็นที่ค่อนข้างเป็นที่รู้จักกันดี ก้คือการต้า
มุษย์ในแถบเดิเตอร์เรเนียน มีฮับใหม่อยู่ในตูนิเซีย ส่งผุ่ลี้ภัยข้ามแดนมายังยุโรปโดยขึ้นที่อิตาลีหรือกรีซ ส่วนในหรีซเอง ัฐบาลก็ยอมรับว่ามีขบวนการค้ามนุษย์ในลักษระนี้อยุ่ถึง กว่า 200 ขบวนการ โดยกรีซเป็นแหล่งของแก๊งคามนุษย์เหล่านี้เนื่องจากตามกฎในปัจจุบัน ปรเทศที่ผู้ลี้ภัยขึ้นฝั่งได้ จะต้องรับผุ้ลี้ภัยไว้ กรีซซึ่งเป็นปะเศหน้าด่านรับผุ้ลี้ภัยจงรับบทหนัก เช่นเดียวกับอิตาลี
         แต่นอกจากเส้นทางทะเล อีกเส้นทางค้ามนุษย์ทางบกก็คือเส้นทางที่ทำให้เกิดวกฤตผุ้ลีภัยในอังการีขณะนี้ รัฐมนตรีมหาดไทยของออสเตรเลียเปิดเผยว่าีการเติบโตของขบวนการต้ามนุษย์ในลัลแกเรีย ฮังการี โรมาเนีย เซอร์เบีย และมาเซโดเนีย นำผู้อพยพจาอัฟการนิสถานและปกาีสถานไปยังออสเตรยและฮังการี ดดยเม็ดเงินที่สะพัดในแวดวงการต้ามนุษย์เส้นทางนี้ มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์เลยที่เดียวขณะที่ตำรวจยังไม่ได้ติดตามกางล้าจับกุมขบวนการเหล่านี้อย่างจริงจัง เพ่ิจะมีการดำเนินคดีไปเพียงกลุ่มเดียวเท่านั้นhttps://www.voicetv.co.th/read/254379
           กลุ่มเสี่ยงเหยื่อค้ามนุษย์ในยุโรปตะวันออก
           บีบีซี ได้ส่ง แซม โพลิง ผู้สื่อข่าวสืบสวนสอบสวนลงพื้นที่เพื่อเปิดเผยวิธีการท่ขวยนการต้านุษย์ใชล่ลวองผุ้หญิงที่เสี่ยงตกเป็นเหยื่อ หลังจากพบว่าแ็งอาชญากรมในยุโปตะวันออกบังคับให้ผุ้หญิงซึ่งมีฐานะเป็นพลเมืองยุโรป (อียู) ค้าบริการทางเพศและสมรสลวงกับชาวต่างชาติที่ต้องการสมัครขออยู่อาศัยในสหรัชอาณาจักร
         
ในการลงพื้นที่ โพลิงได้เดินทางไปทั่วยุโรปตะวันออกเพื่อหาตัวเหยื่อที่ถูกขยให้กับแก๊งอาชญกรรในเมืองกลาสโกวของสกอตแลนด์ เธอยังได้เยือนชุมชนแออัดของชาวโรมาที่ใหญ่ที่สดดในสโลวาเกี่ยวด้วย ที่นั้นไม่มีน้ำประแา ไม่มีๆฟฟ้า ทุกคนไม่มีงานทำ โพลิงได้พุดคุยกับผุ้หญิงคนหน่งและถามเธอว่าหากมีคนบอกว่า จะพาไปสหราชอาณาจักร มีงานให้ทำ มีที่พักให้เธอจะไปไหม..
            แองเจลิกา มอลนาร์ จากหน่วยค้ามนุษย์ของยูโรโพล หรือหน่วยงานตำรวจของยุโรป รุบุว่ เหยื่อหลายคนถุกล่อให้หนี้ความยากจนในประเทศอย่าง โรมาเนีย และสโลวาเกีย เพื่อเข้ามาทำงานที่มีรายได้ดีในสกอตแลนด์ แต่เมื่อมาถึงจึงพบว่าไม่มงาน และต้องแต่งงานกับชายชาวปากีสถานโดยเจ้าบ่าาวเหล่านี้ต้องการจะอยู่ในสกอตแลนด์ แต่จำเป็นต้องแต่งงานกับพลเมืองของอียูจึงจะสามารถสมัครขออยู่อาศัยได้
           มอลนาร์ กล่าวว่า หลังจากแต่างงาน ผู้หญิงเหล่านี้ถุกควบคุมโดยคนที่หลอกพาพวกเธอมา ต้องทำงานบ้านรับใช้สามอย่างไม่เป็นธรรม และยังถุกข่มขืนและถูกนำไปหาประโยชน์ทางเพศจากเพื่อนร่วมชาติของผู้ที่ล่อลวงพวกเธอมาด้วยhttp://www.bbc.com/thai/international-39923059
           จากสถานะผุ้อบยพ สู่เหยื่อค้ามนุษย์ในลิเบีย
           เรื่องผู้อพยพลี้ภัย ที่ยังคงหลังไหลไปยังภูมิภาคยุโรปอย่างต่อเนื่อง ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ในหลายประเทศที่ยังแก้ไม่ตก และดูเหมือนจะกลายเป็นปัญหาที่ลุกลามใหญ่โร โดยเฉาพะปัญหาเรือ่ง "ค้ามนุษย์" ที่ผุ้ตกเป็นเหยื่อไม่มีทางเลือก โดยเฉพาะที่ประเทศลิเบีย ที่มีรายงานพบว่า มีผุ้อพยพตก
เป็นเหยื่อของการต้ามนุษย์จำนวนมาก จนกลายเป็นที่มาของการที่ศาลอาญาระหวางประเทศ หรือไอซีซี เตรียมทีจะเข้าไปตรวจสอบเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจัง และพุว่า จะสมารถนำเรื่องขึ้นศาลได้หรือไม่
           นางฟาทู เบนซูดา ทนายความชาวแกมเบียและอัยการศาลอาญาระวห่างประเศ (ไอซีซี) เป็นผุ้ออกมาเปิดเผยเรื่องราวดังกล่ว่อคณะในตรีความั่นคงแห่งสไประชาชา ิมื่อวนที่ 8 พฤษภาคม 2560  ระบุว่าทางไอซีวีกลังพิจารณาว่าจะเข้าไปตรวสองการก่อาชญากรรมต่ผุ้อพยพในประเทศลิเบย ที่กำลักลายเป็นตลาดของการต้ามนุษย์ไปแล้วในตอนนี้
           เบนซูดาบอกว่ ขณะนี้ไอซีซีได้รวบรวมหลักฐานต่อข้อกล่าวหาที่ว่ามีความพยายามลักลอบส่งผ่านตัวผู้อพยพในประเทศลิเบีย และว่ มีผู้อพยพที่ด้อยโอกาศหลยพันคน รวมทั้งผู้หยิ.และเด็กที่ถุกควบคุมตัวอยู่ตามศูนย์ต่างๆ ทั่วประเทศลิเบีย และถูกกระทำต่างๆ นานา ไม่ว่าจะเป็นการถุกฆ่า ข่มขืนและทรมาน ที่มีรยงนว่า เกิดขึ้นเป็นประจำ "ทุกวัน"
          เบนซูดาบอกว่ เธอรู้สึกตกใจอย่างมากกับข้อมูลที่น่าเชื่อถือเหล่านี้ทีระบุ่า "ลิเบีย" ได้กลายเป็นตลาดของการต้ามนุษย์ไปแล้ว
         
 และทางทีมอัยการของไอซีซี กำลังตรวจสอบอย่งละเอียดเพื่อสึกาษความเป็นไปได้ที่จะสอบสวนเกี่ยวกับอากรก่ออาชญากรรมที่เกี่ยวโยงกับการอพยพของผุ้คนนประเทศลิเบีย หากประเด็นดังกล่าวถือว่าอยู่ภายใต้ขอบเขตการดูแลของศาลอาญาระหว่งประเทศ
           ทั้งนี้ ประเทศลิเบียบตกอยู่ภายใต้ความวุ่นวายนับตั้งแต่ พันเอกโมอามาร์ กาดาฟี ผุ้นำเผด็จการของลิเบียถูกโค่นจากอำนาจเมื่อปี ค.ศ. 2001 ประเทศลิเบียก็ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มต้านรัฐบาล 2 กลุ่มที่ไ้รับการหนุนหลังโดยกองกำลังิดอาวุธ ซึ่งบางกลุ่มก็ประกาศสวามิภักดิ์ต่อกลุ่มกองกำลังัฐอิสลาม หรือไอเอส
           ด้วยความโกลาหลวุ่นวายภายในประเทศของลิเบีย ทำให้เกิดการลักลอบขนผ้ย้ายถ่ินและการต้ามนุษย์ที่ได้ปเปลียนแปลงทำให้ชายฝั่งของประเทศลิเบียกลายเป็นประเทศของลิเบียกลายเป็นด่านสำคัญในการส่งคนไปยัง "ยุโรป" เป้าหมายที่ทุกคนใฝ่ฝันเพื่อชีวิตที่ดีกว่า
           เบนซูดายังได้ย้ำถึงเ่องความมั่นคงโดยรวมของประเทศลิเบีย ที่กำลัง "ตกต่ำลงอย่างมีนัยยะสำัญ" นับตั้งแต่ปีที่ผ่านมา พร้อมกับเตือนว่า การลักลอบขนผุ้ย้ายถิ่นจะกลายเป็นัวกระตุ้ให้เกิดเครือข่ายการก่อการร้ายและอาชญกรรมไปทั่วบริเวณตอนเหนือของประเทศลิเบีย
           เบนซุดาบอกด้วยว่า สำนักงานของเธอติตามการปฎิบัติการเชิงรุกของกองกำลังที่ภักดีต่อ คาลิฟา ฮาฟตาร์ ในเมืองเบงกาซีอย่าางใหล้ชิ หลงจากปรากฎวิดีโอแสดงให้เห็นว่า กองทัพแก่งชาติลเบียก่ออาชญากรรมร้ายแรง เช่น การประหารอมุ่ผุ้ที่ถุกควบคุมโดยไม่มีการไต่ส่วน
           เรียกร้องให้ทางลิเบียจับกุมตัวอดีตหัวหน้าฝ่ายความมั่นคง อัล ทูฮามี โมฮัมเหม็ด คาเห,้ด ซึ่งเธระบุว่าพำนักอยู่ในลิเบีย และตกเป็นผู้ต้องหาเป็นอาชญากรสงคราม ที่ไอซีซีได้ออกหมายจับนายคาเหล็ดเมื่อปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมา
       
ทั้งนี้ จำนวนของผุ้อพยพ 2 ลำที่ออกจากชายฝั่งประเทศลิเบียล่มกลางทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ที่ผ่านมา หน่วยงานของสหประชาชาติรายงานว่า คาดว่าจะมีผุ้อพยพเสียชีิวิตราว 250 คนขณะที่กลุ่มเสี้ยววงเดือนแดงพบว่ามีศพที่ถุกซัดขึ้นฝั่งลิเบียแล้วอย่างน้อย 11 ราย ในจำนวนวนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง และมีเด็กหญิงที่อายุไม่ถึง 1 ขวบอยู่หนึ่งราย
          ขณะที่เจ้าหน้ที่ยามฝังสามารถช่วยเหลือผุ้อพยพมาได้อย่างน้อย 7 คน และผุ้รอดชีวิตเหล่านี้ต่างบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า เรือลำเดียวบรรทุกคนได้ถึง 170 คน
          ส่วนผู้รอดชีวิตจากเรื่องอีกลำ เปิดเผยว่า เรือของพวกตนที่ผู้อพยพอยู่บนเรือราว 130 คนคำบอกเหล่าเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความพยายามของผุ้อพยพที่ขอเสี่ยงที่จะอาศยเรือท่แม้จะเห็นว่าเต็มไปด้วยผุ้คนและเกินพิกัดบรรทุก แต่ก็จะขอใหช้เป็นหนทางเพื่อมุ่งหน้าสู่ยุุโรป
          โศกนาฎกรรมครั้งล่าสุด ทำให้ยอดผุ้เสียชีวิตจากการอพยพในปีนี้เพ่ิมขึ้นเป็น กว่า 1,300 รายแล้ว ในช่วงเวลาเพียง แค่ 5 วัน มีผู้อพยพที่ได้รับการช่วยเหลือจกการล่องทะเลเพือลี้ภัยไปยุโรปแล้วอยางน้อย 75,000 คน จะเห็นได้ว่า แม้ะือผุ้ลีภัยอยู่ตลอดเวลา ที่สุดแล้ว ชะตากรรมของผุ้อพยพลี้ภัยเหล่านี้ก็ยังคงต้องตกอยู่ในความเสี่ยง ไ่ว่าจะเสี่ยงต่อการเดินทางกลางทะเล ที่อาจะเกิดเหตุเรือล่มและต้องจบชีวิตกลางทะเล หรือแม้แต่เสี่ยงตอการตกเป็นเหยื่อ้ามนุษย์
          แต่ทั้งหลายทั้งปวง ก็เกิดจกวามจำเป็นในการละทิงบ้านเกิดเมืองอนอ เพราะควมรุนแรงที่ไม่มีใครสามารถหยุดยั้งได้...https://www.matichonweekly.com/in-depth/article_36659
         
       

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)