Effect from human trafficking

           การค้ามนุษย์ ละเมิดสิทธิมนุษยชน ทำลายคุณค่าความเป็นมนุษย์ ส่งผลกระทบต่อ เศาฐกิจ สังคม และการเมือง
           การต้ามนุษย์เป็นปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติที่สำคญในะดับสกกล เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์และวิถีชัวิตของผุ้คนและสังคมนหลายระดับ เกิดขึ้นและมีความเกี่ยวพันกับหลายประเทศทั่วทึกภูมิภาคของโลก มีผุ้นคนับแสนนับล้านคนโดยเฉพาะเด็กและสตรี ต้องถุกแสวงหาประโยชน์และถูกละะเมิดสิทะฺมนุษยชนมากมาย สูญเสียและได้รับความเสียหายทั้งร่างกายและจิตใจ โอกาสและอนาคต ความปลอดภัยและความมั่นคงของมนุษย์ รวมถึงเกิดความสูญเสียหายต่อบุคคลรอบข้าง ชุมชน และสังคม ซึ่งอาจไม่สามารถประเมินมูลค่าได้เป็นตัวเงิน โดยการค้ามนุษย์นั้นโดยมากปรากฎให้เหิ็นในรูปแบบที่ผ่านนายหน้าหรือเอเย่นต์ และผ่านการบริการทางอินเตอร์เน็ต เืพ่อการต้าประเวณีและเพื่อการต้าแรงงาน
          ปัจจุบันพัฒนาการต้าเสราฐกิจ สังคม และเทคโนโยี เกื้อหนุ่นให้เกิดการอพยพย้ายถ่ินเืพ่อแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดดยประเทศไทย เป็นทั้งต้นทาง ทางผ่าน และปลยทางปัจจัยนี้ส่งผลให้สถานกรณ์การต้ามนุษย์ในภูมิภาคเอเชียมีความซับซ้อน มีประชชนของแทบทุกประเทศล้วนตกเป้นเหยื่อ โดยเฉาพะแรงงานข้ามชาติ LPN พบว่า แนวโน้มจำนวนของแรงงานข้ามชาติท่ถูกหลอกนั้นมากขึ้นทุกที
         สถานการณืปัญหาการต้ามนุษ์มีความซับซ้อน หลกหลายมิติ อาทิ การบังคับใช้แรงงานทาสในสถาประกอบการ บนเรือประมง การแสวงหาประดยชน์ บังคับขอทาน กักขังหน่วงเหนียว ทำร้าย ทุบตี ข่มขืน บังคับในขายบริการทางเพศ หายกรณีมักพบเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้ามาเกี่ยวข้องและแสวงหาประโยชน์ เปิดบริสุทธิ์เด็ก รับสินบน มีสวนร่วมในการปลอมแปลงเอกสารปกปิดพยานหลักฐนและมีลักษณธการกระทำที่เป็นการสนับสนุนกระบวนการต้ามนุษย์จนยากต่อการบังคับใช้กฎหมาย
        ปัญหาการต้ามนุษย์ที่ขอบข่ายกว้างขวางและเป็นปัญหาที่รุนแรง ดังนั้นการพัฒนางานในการป้องกันและปราบปรามการต้ามนุษย์จึงมีความสำคัญ โดยเฉพาะการคัดแยกผู้เสียหายที่ตกเป็นเหยื่อ โดยเฉพาะแรงงานข้าชาติ การสัมภาษณ์ผู้เสียหายที่ต้องใช้นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา เข้าร่วม เพื่อสืบหาที่มาของปัญหา และดำเนินการกับผู้กระทำผิดตามกฎหมาย ก่อนที่จะผลกดันกลุ่มคนเลห่านี้กลับประเทศ และประสานงานหน่วยงานที่เีก่ยว้องในประเทศนั้นๆ ในการดูแล คุ้มครอง และฟื้อนผู้ผู้เสียหายอย่างเป็นระบบ..http://daranee-ruangjan.blogspot.com/2012/01/blog-post.html
         ผลกระทบต่อสังคม

          การค้ามนุษย์ ในปัจจุบันได้รับการพิจารณาว่า เป็นสวนหต่งขงอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นการละเมิดสิทธิมนุษย์ชนที่ร้ายแรง และเป็นปัญหาที่บั่นทอนความมั่นคงของมนุษย์ โดยเฉพาะการต้าเด็กและหญิง ซึ่งก่อให้เกิดอาชญากรรมทั้งในระดับนนาชาติ ระดับประเทศ และระดับ้องถ่ิน และรวมถึงปัญหาสังคมต่างๆ เช่น การแพร่ระบาดของโรคติตต่ออื่นๆ โดยเฉาพโรคเอดส์ ปัญหายาเสพติด ทั้งกรค้าและการเสพเป็้น ซึ่งมีผลต่อการดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีของมนุษย์การพัฒนาคุภาพชีวิต และความมั่นคงของประเทศนั้นทั้งทางเศาฐกิจ และสังคม วัฒนธรรมของประเทศและประชาคมโลก
           ปัญหาที่เกิดจากการต้ามนุษย์
           - การกระทบ และละเมิดถึง สิทธิในชีวิตร่างกายและเสรีภาพ ซึ่งถือว่าเป็นสิทธิที่ติตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด และไม่มีใครสามารถพรากไปจากตัวบุคคลผุ้ทรงสิทธินั้นได้ โดยการกระทำอท่กระทบกระเทือนต่อสิทะินี้ ย่อมไม่สามารถทำได้
          - การกระทบ และละเมิดถึงสิทธิในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นสิทธอย่างหนึ่งที่รับรองคุ้มครองให้แก่บุคคล มให้ไดรับการปฏิบติที่ไม่สมกับความเป็นมนุษย์ของบุคคลนั้น ซึ่งถื่อเป็นคุณค่าอันมลักษณะเฉพาะและเป็นคุณค่าที่มีความผูกพันอยู่กับความเป็นมนุษย์ ซึ่งบุคคลในฐานะที่เป็นมนุษย์ทุกคนไ้รับคณค่าดังกล่าว ดดยไม่ว่าจำเป็นต้องคำนึงถึงเพศ เชื้อชาติ ศาสนาา วัยหรือคุณสมบัติอื่นๆ ของบุคคลนั้นและโดยที่ศักดิ์ศรีความเป็นมุษย์นั้นเป็น ส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน ดังนั้นการที่บังคับขู่เข็ญ หรือทารุณเด็กและสตรีที่ตกเป็นเหยื่ออย่างไร้มนุษยธรรม จึงเป็นการกระทำที่ละเมิดถึงสิทะินี้
          - การกระทบถึงสิทธิในด้านการพัฒนาคุภาพีวิต อันได้แก่
           สิทธิทางการสึกษา ซึ่งเป็นสิทธิในการได้รับการสึกษา โดยเป็นสิทธิขึ้นพื้นฐานอย่างหนึ่ง ดังนั้นการที่ค้าเด็ก โดยการบังคับให้ของทาน หรือ นั้นทำให้เด็กขาอโอกาสที่จะไ้รับการศึกษา ถือเป็นกรริดรอนสิทะิ ซึ่งไม่สามารถทำได้
           สิทธิในสถขภาพ อลอนามัย ปัญหาที่ตามมากถัยการต้ามนุษย์ เชน การแพร่ระดบาดของโรคติดต่ออื่นๆ โดยเฉพาะโรคเอดส์ โดยเป็นผลมาจากการบังคับข่มขู่้าประวณี เพ่ื่อการแสวงหาผลประโยชน์ทางเพศจากสตรีและเด็ก ซึ่งในปัจจุบัน ปัญหาโรคระบาดโดยเฉพาะโรคติดต่อทางเพศนั้น นับเป็นภัยที่เป็นปัญหากระทบต่อสังคมในวงกว้าง ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
          - ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ เช่น ก่อให้เกิดอาชญากรรมทั้งในะดับนานชติ ระดับประเทศ และระดับท้องถ่ิน เช่น ปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาท่ส่งผลกะบไปทั่วทุกส่วนของสังคม จนกลายเป็นปัญหาระดับนานาชาติ ที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกนแก้ไข ปัญหาการฟิกเงิน
         - การกระบ และละเมิดต่อสิทธิในการอยุ่อาศย และสิทธิในการ้องของสญชาติ  เนื่่องจากขาดความรุ้วามเข้าใจเรื่องสิทะิของตนเองภายใต้กฎหมายไทย และปัญหารไร้สัญาติ ทำให้ชนกลุ่มน้อยมักถูกหลอกเข้าสู่ขบวนการค้ามนุษย์ ดดยไ่สามารถดำเนินการทางกฎหมายใดๆ ได้เนื่องจากปัญหาากรไม่ได้รับการรับรองสัญาติ ดังนี้จึงเป็นภาระหน้าที่ของรัฐที่จะต้องทำการขจัดปัญหาการไร้สัญชติ โดยการพิสูจน์สัญชาติให้กับชนกลุ่มน้อยเหล่านี้
           องค์กการสหปราชาติ จึงได้มีการจัดทำอนุสัญญา ปฏิญญาและะพิธีสารต่างๆ อาทิ พิธีสารเรื่องการปราบปรามการค้ามนุษย์ โดยเแฑาะการค้าหยิงและเด็ก พ.ศ. 2543 เพื่อใช้เป็นบรรทัดฐน ในการขจัดปัญหาการการค้ามนุษย์ค่าหญิงและเด็กและเพื่อให้แต่ละประเทศเร่งตื่นตัวปรับปรุงตัวบทกฎหมาย และมาตการต่างๆ เืพ่อคุ้มครองเด็กและหยิงจาภัยของอาชญากรมข้ามชติใรูปของการต้ามนุษย์ ถือได้ว่าเป็นการประกาศเจตนารมณ์ของประชาคมโลกในอันที่จะร่วมมือกันปราบปรามแก้ไขปัญหาี้ใหหมดไ ถึงอย่างไรก็ตามการดำเนินงานก็ยังประสบปัญหาและอุปสรรคมากมายทั้งนี้เนื่องมาจากความสลับซับซ้อนของสาหตุและปัจจัยที่ผลักดันให้มนุษย์โยเฉาพผุ้หญิงและเด็ต้องตกเป็นเหยือของการต้ามนุษย์ทั้งภายในประเทศ และนอกประเทศ จึงเป็นเรื่องที่ถคงเวลาและที่ประชาชนแะเจ้าหน้าที่ที่เีก่ยวข้องต้องตตระหนักถึงความร้ายแรงของภัยการต้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรี และเด็ดังกล่ว รวมทั้งร่วมมือกันเพื่อหาวิะีป้องกันและการบังคัใช้กฎหมายแต่รัฐบาลไทยจะไม่ได้ให้สัตรยาบน พิธีสารเรื่องการปราบปรามการต้ามนุษย์ โดยเฉพาะการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. 2543https://www.l3nr.org/posts/519083
          ผลกระทบด้านธุรกิจ

           การค้ามนุษย์เป็นปัญหาของมนุษยชาติ ที่นานาาประเทศให้ความสนใจเป็นพิเศษ เดิมที่การต้ามนุษย์ถูกมองว่า คือกาล่อลงเด็กหรือสตรี เนื่องด้วย พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการต้ามนุษย์ พงศ. 2551 มีพ้นฐานจากอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต้อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ และพิธีสารเพื่อการป้องกันปราบปรามและลงโทษการกระทำที่เป็นการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะการกระทำต่อสตรีและเด็ก
         นอกจากนี้ ความผิดฐานการต้ามนุษ์ในอดีตมักเกิดขึ้นในธุรกิจผิดกฎหมาย เช่น การแสวงหาประโยชน์จากการต้าประวเณี การผลิตหรือเผยแพรวัตถุ หรือสื่อลามก การแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอื่น การเอาคนลงเป็นทาส การนำคนมาขอทาน การบงคับตัดอวัยวะเพื่อการต้าหรือการือ่นไดที่คล้ายกันอันเป็นการขูดรีดบุคคล เป็นต้น
         ทว่า การกระทำผิดฐานค้ามนุษย์กลับสูงขึ้นมากในภาคธุรกิจ อันเกิดจากการใช้แรงงานบังคับในการผลิตสินค้าและให้บริการที่ชอบด้วยกฎหมาย
         ในปี 2557 องค์กรแรงงนระหว่างประเทศ ระบุว่าเหยื่อการต้าแรงงานทาสและแรงงานบังคับทั่วโลกมีสูงถึง 21 ล้านคน คญะเดียวกันตั้งแต่ปี 2552 สินค้าส่งออกสำคัญของประเทศไทยคือ ปลา กุ้ง เคืองนุ่งห่ม และน้ำตาล ก็ถูกระบุเป็นสินค้าที่ผลิตโดยแรงงานเด็กและแรงงานบังคับ
         แม้กล่มผู้ผลิตสินค้าประะมงไทยจะเข้าร่วมดครงการแนวปฏิบัติด้านแรงงานที่ดี ซึ่งจัดโดยความร่วมมือระหว่า องค์การแรงงานระหว่างประเทศ หน่วยงานภาครัฐของไทยและภาคธุรกิจระหว่าง ปี 2553-2557 โดยมีกระทรวงแรงงานของสหรัฐ ให้เงินสนับสนุนสูงถึงราว 9 ล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 270 ล้านบาท ก็ตาม
         แต่ในปี 2557 ที่ผ่านมา ไทยก็ยังคงถูกขึ้นบัญใน องค์การแรงงานระหว่างประเทศ DOL List การที่สินค้าอาหารทะเลแช่แข็.ของไทยถูกกล่าวหาโดยสื่อต่างชาติ ว่าถูกผลิตขึ้จากแรงงานทาสการถูกจัดอันดับใน เทียร์ 3 และการแบ็คลิสต์ ดังกล่าวนอกจกจะส่งผลให้ภาพลักณ์และสินค้าไทยเสื่อมเสียอย่างรุแรงในสายตาชาวโลกแล้วยังก่อผลกระทบในทางการต้าระหว่างประเทศ
         เพราะสภานการณ์การต้ามนุษย์ที่เกิดในห่งงโซ่อุปทานของภาคธุรกิจเ ป็นอุปสรรคสำคัญตอการเข้าร่วมเจจาการต้าเสาีกับสหภาพยุโรปที่มุ่งเน้นการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุยชนอย่างยิ่ง
          ในปี 2555 สำนักงานข้อหลวงใหญ๋แห่งสหประชาชาิตได้ออกมาตรการสามเสาหลักในการแก้ไขปัญหาสิทธิมนุายชน คือ 1. ให้รัฐมีหน้าที่ต้องดำเนินการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุายชน 2. ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องดำเนินธุรกิจโดยรับผิดชอบต่อสังคม 3. จะต้องกำหนดมาตการเยียวยาเหยื่อของการใช้แรงงานทาสที่พบในภาะูรกิจให้มากยิ่งขึ้นแนวคิดที่ภาคเอกชนสามารถใช้อำนาจทางเศณาฐกิจของตนเพื่อกำกับดูแลกันและกันโดยผุ้มีอำนาจทางเศราฐกิจเหนือกว่าในห่วงโซ่อุปทานสามารถบังคับให้ธุรกิจตอเนื่องปกิเสธการใช้แรงงานาสได้และหากมีการตั้งระบบตรวจสอบดดยภาครัฐเผ้าระวังโยองค์กรประชาสังคม ย่อมจะทำให้ปัญหาต่างๆ ในอุตสหกรรเหล่านี้ถูกแก้ไขไปได้..
       .. ตัวอย่างของการค้ามนุษย์ที่มีผลต่อธุรกิจ อาทิ อุตสาหกรรมการผลิตช็อกโกแลต ที่ถูกกล่าวนาโดย BBC ว่ามีการใช้แรงงานเด็กและแรงงานทาสในการปลูกและเก็บกี่ยวผลโกโก้ซึ่งถือว่าเป็นห่วงโซ่อุปทานการผลิตช็อกโกแลต นำปสู่ความร่วมมือหลายภาคส่วนเืพ่แก้ปัญหาในระดับวาระแห่งชาติของประเทศกานาและโกติวัวร์ รวมทั้งความร่วมมือในระดับนานาชาติ
         เพราะการทำการค้าในโลกเสรีภายใต้กรอบของ WTO และ การรวมกลุ่มทางการค้าต่างๆ ที่แม้จะห้ามตั้งอุปสรรคทางการต้าในทุกรูปแบบ แต่ด้วยเหตุที่มีได้ดำเนินการป้องกันการค้ามนุษย์ในห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินคานี้ถือว่าชอบด้วยกฎหมาย ทั้งยังได้รับสนับสนุนอย่างมากจาก เอนจีโอ และองค์การผู้บริโภค...https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1431585634
         ผลกระทบด้านการต้าระหว่างประเทศ
         มิถุนายน 2560 สำนักงนเพื่อการติดตามและการตอสู้กับการต้ามุษย์ กระทรวงต่างปรเทสสหรัฐ ได้เผยแพร่รายงานสถานการณ์การต้ามนุษย์ประจำปี 2557 ซึ่งเป็นรายงานที่จัดอนดบประเทศต่างๆ ทั่วโลกเป็นสามอันดับตมความสามารถและความพยายามในการขจัดปัยหาการค้ามนษย์ในแต่ละประเทศโดยอ้างอิงตามมาตรฐานขึ้นต่ำใหนกาชจัดปัญหาการต้ามนุาย์ตามมาตรา 108 แห่งกฎหมกายป้องกันเหยื่อผู้เคาะห์ร้ายจาการค้านุษย์ พ.ศ.2543 ของสหรัฐ ซึ่งีหลักที่สำคัญอยู่ 3 ปะการคือ การป้องกัน การคุ้มครอง และการดำเนินคดีเกี่ยวกับการค้ามนุษย์
         โดยอันดับที่ เที่ยร์ 1 คือกลุ่มประเทศที่สามารถปฏิบัติตามาตฐานขันต่ำดังกล่าวได้อย่างครบถ้วยสมบูร์ อันดับ เทียร์ 2 คือกลุ่ที่ปฏิบัติตามมาตฐานขั้นต่ำไม่ครบถ้วนแต่มีความพยายามอย่างีนัยสำคัญี่จะปฎิบัติตามมาตฐานขั้นตำ แต่หากปรากฎว่ายังคงมีเหยื่อจากการต้ามนุษย์เพื่อขึ้น ดดยไม่สามาถแสดงหลักฐนให้เห็นได้ว่ามีความพยายามอย่าเพียงพอในปีที่ผ่านก็จะถูกจัดอยู่ในอัดับที่ 2 ประเภทเผ้าระวัง และหากประเทศในกลุ่มดังกล่าววยังคงไม่แก้ไขปรับปรุง ก็จะถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 3 ซึ่งคือกลุ่มประเทศที่ไม่ปฏิบัติตามมาตฐานขึ้นต่ำและไม่แสดงให้เห็นว่มีความพยายาอย่างีนัยสำคัญที่จะแก้ไขปรับปรุงซึ่งหลังจากที่ประเทศไทยถูกจัดให้อยุ่ในอันดับที่ 2 ประเภทเฝ้าระวัง และหากประเทศนกลุ่มดังกล่าวยังคงไม่แก้ไขปรับปรุง ก็จะถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ เทียร์3 ซึ่งคือกลุ่มประเทศที่ไม่ปฏิบัติตาม
มาตรฐานขั้นต่ำและไม่แสดงห้เห็นว่ามีความพยายามอย่างมีนัยสำคัญที่จะแ้ไขปรับปรุงซึ่งหลังจากที่ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในอนดับที่ / ปะเภทเฝ้าระวังมาตั้งแต่ปี 2553 .นที่สุดปีนี้ก็ถูกลดลงมาอยุ่ในอันดบที่ 3 โดยในรายงานดังกล่าวได้ชี้แจงเหตุผลในกาปรบลดอันดับว่าประเทศไทยมีปัญหาในการบังคับใช้กำหมายที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขมาเป็นเวลานานโดยเฉพาะอยางยิ่งปัญหาด้านกรทุริตซึ่งปรกฎอยู่ในทุกขั้นตอนของการดำเนินงานยิ่งทำให้กรบังคับใช้กฎหมายเป็นไปได้ยกยิ่งขั้น
         นอกจากนี้ อก่นอน้าที่รายงน TIP 2014 จะประกาศอย่างเป็นทางการไม่กี่วัน หนังสือพิมพ์เดอะกาณร์เดียนของอังกฤษก็ได้เผยแพรรายงานที่กล่าวอ้างว่าบริษัทผุ้ส่งออกกุ้งายใหย่ในประเทศไทยได้ใช้แรงงานทาสนสายกระบวนการประมงกุ้ง ส่งผลให้กระทรวงพาณิชย์ของอังกฤามีคำสั่งให้สมาคมค้าปลคกของอังกฤษจัดทำคู่มือแนวทางการเลือกซื้อสินค้จากผู้ผลิตต่างประเทศที่ไม่มีที่มาจากแรงงานทาส ซึ่งหลักเกณฑ์ในการพิจารณาไม่ได้จำกัดเฉพาะบิรษัทผู้ส่งออกเท่านั้น แต่ดูทั้สยกระบวนการผลิต หากมีส่วนใดในสายที่เกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานทาส ก็อาจอยู่ในข่ายต้องห้ามมิให้ทำการต้าด้วยและหากบริษัทใดฝ่าฝืนอาจโดนปิดกิจการได้ ซึ่งรายงาน TIP อาจถูกนำมาใช้เป็นหนึ่งในหลักฐานในการพิจารณาประกอบการจัดทำคู้มือดังกล่าวโดยใหเฝ้าระับริษัทที่เป็นรูปธรรมที่เห็นในขณะนี้คือการที่มีบางบริษัทใประเทศฝรั่งเศส นอร์เวย์ ที่ได้ยกเลิกการค้ากับบริษัทในประเทศไทยากประเด็นไปัญหาแรงงานทาสแล้ว และปฏิเสธที่จะดำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับบริษทใดๆ ที่มีปัญหาในทำนองเดียวกันนี้....http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/590920
       
       
       

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)