Organization Crime 2

            หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และกลุ่มประเทศยุดรปตะวนออกอเดีตสมาชิก วอร์ซอร์ แพค ความเข้ามแข็งทางการทหารเพื่อต่อกรกับ นาโต้ ก็หมดไป ทหาร ตำรวจ และจารชนที่มีความสามารถ มีทักษรและประสบการณ์ในการใช้อาวุธ จึงปรับเปลี่ยนตัวองไปเป็นอาชญากรและเปนองค์กรอาชญากรรมที่มีความเข้มแข็งในที่สุด ที่รุ้จักกันในนาม "มาเฟีย" รัสเซีย ด้วยประสบการณ์ทางทหารจึงสามารถจัดระบบองค์กรได้มีระบบการข่าว การจัดการองค์กร บุคลากรที่ผ่านประสบการณ์รบ ผ่านความเป็นความตายมาแล้วอย่างโชกโชนกอปรกับผลประโยชน์ที่ได้รับมหาศาลจึงมีทุนรอนจำนสนมากในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเจรญก้าวหน้าอย่างมั่นคง และการล่มสลายของอดคตยูโกสลาเวีย ซึ่ทำให้เกิดการเข่นฆ่ากันแบล้างเผ่าพันู์ในบอสเนียเฮอเซโกวิน่า หรือ ที่เรียกว่าสงครามยูโกสลาเวีย (พ.ส. 2534-2538 สงครามสงบลง ความจำเป็นในการใช้อาวุธลดน้อยลง อาวุธจำนวนมหาศาลจึงเข้าสู่ยุโรปตะวันตก
         
องค์กรอาชญากรรมใน อียู ใช้เส้นทางขนสิค้าผิดกฎหมายสองเส้นทาง คือ จากประเทศยุโรปตะวันออก และจากประเทศ อียู ด้านใน เช่น สเปน  ด้วยความที่เป็น อียู ด้วยกัน ความเข้มงวดในการตรวจตราสินค้าผ่านแดนลดลง องค์กรอาชญากรรมสามารถใช้เส้นทางรอง หรือทางเลี่ยงซึ่งด่านตรวจอาจไมเข้มงวด หรือไม่มีด่านตรวจเลย อาวุธที่ขนมาจากด้านใต้ของ อียู สามารถใช้เส้นางรอง หรือทางเลี่ยงซึ่งด่านตรวจอาจไม่เข้มงวด หรือไม่มีด่านตรวจเลย อาวุธที่ขนมาจาก้านใต้ของ อียู ส่วนใหญ่มาจากประเทศแอฟริการเหนือ โดยเฉพาะลิเบียซึ่งปัจจุบักลายเป็นแหล่งส่งออกอาวุธนานาชนิดเข้าสู่ อียู..
           "ลิเบียเป็นต้นทางของการลักลอบขนอาวธหลักในยุโรป" โดย นิโคราจ เนลเซน มีใจความว่า
            สหภาพยุโรปมองหารการตั้งเครื่อข่ายของผุ้เชี่ยวชาญในประเทศแอฟริกาเหนือเพื่อลดการลักลอบขนอาวุธเข้าสู่ยุโรป ส่วนที่มีแหล่งที่มาของอาวุะที่ผิดกฎหมายมาจากตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่าย และทางเหนือของแอริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลิเบีย" สหประชาชาติเป้นผุ้นำการเจรจาทางการเมืองในเจนีวาเพื่อยุติความขัดแย้งในลิเบีย
             ในคาบสมุทรบอลข่านอาวุธปืนขนาดเล็กที่มีการปล้นจากคลังอาวุธ หรือผลิตอย่างผิดกฎหมาย บางคนที่มีการซื้อขายออกไลน์ และแม้กระทั้งการจัดส่งโดยสั่งซื้อทางไปรษณีย์แต่ในสาถนที่เช่นลิเบียพวกเขาเป็นมาดกของความขัดแย้ง
             รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมั่นคงภายในของสหภาพยุดรปตกลงร่างแผนปฏิบัติการการต้าที่ผิกฎหมายอาวุธปืนในระหว่างสหภาพยุโรปและตะวันออกเฉียงใต้ยุดรป เมื่อ ปี 2014
            แหล่งข่าวในสหภาพยุโรปกล่าวว่า ดครงการแอฟริกันตะวันตกเฉียงเหนือจะเป็นแบบจำลองจากของบอลข่าน ที่เน้นความทันสมัยของหน่วยงานบังคับใช้กฎหมยที่เพ่ิมขึ้น ไว้วางใจซึ่งกันและกัน และการสร้างความตระหนักแต่ยังไม่มีความชัดเจนว่า ทีมผุ้เชียวชาญชุดใหม่ของสหภาพยุโรปจะถูกส่งไปยังลิเบียเมื่อใด
           อาวุธเถื่อนน่าจะตกไปอยู่ในมือกว่า 3,600 องค์กรอาชญกรรมในยุโรป และจากคดี ชาร์ลี ฮีบโด และกาโจมตในปารีสแสดงให้เห็นว่า ผุ้ก่อการร้ายสามารถเขาถึงอาวุธร้ายแรงเห่านั้น และใช้ในการโจมตี ประเทศสมาชิก อียูได้
          "ปีที่แล้วนักการเมืองให้ความสำคัญกับคนเข้าเมืองที่ผิดกฎหมาย ตอนนี้พวกเขากลับมาเน้นการตอต้านการก่อการร้าย" แหล่งข่าวในสหภาพยุโรปกล่าว
           ในขณะเดียวกันคณะกรรมธิการยุโรปต้องการที่จะเพิ่มความเข้มแข็งให้กฎหมายอาวุะปืนที่มีอยู่ของสหภาพยุโรป สองปีที่ผ่านมาการวางแผนนโยบายในการปรับปรุงกฎหมายอาวุธปืนของสหภาพยุโรปที่จะแล้วเสร็จในเือนกรกฎคนนี้ จะครอบคลุมอาวุธปืนสำหรับการใช้งานของกองกำลังติดอาวุธ และตำรวจ ตามกฎมหายและระเบียบปฏิบัติ
       
อุตาสหกรรมป้องกันประเทศของสหภาพยุโรปในส่วนของอาวุธเบามูลค่ากว่า 1,700 ล้านยูโร ในปี 2013 และมีข้อสังเกตุว่า อาวุธที่ถุกอุดหรือปิดการใช้งาน มีกาลักลอบทำให้ใช้งานได้อย่างผิดกฎหมาย ปืนอัดล ปืนยิงพลุก็ยังถุกดัดแปลงเป็นอาวุธปืนที่สังหารชีวิตได้ คณะกรรมาธิการที่ส฿กาาประเมินว่าปืนดัดแปลง สามารถซื้อได้โดยไม่มีใบอนุญาตในประเทศเยอมรนี,สเปน, ฝรั่งเศส, อิตาลี, และตุรกรี ในบัตนทึกของคณะกรรมการชี้ให้เห็นว่า "ผุ้ก่อการร้ายใช้อาวุธปืนมากขึ้นนอกเหนือไปจากยุทธวิธีปกติเดิมทีใช้วัตถุระเบิดมากกว่า
            ปัญหาเฉาพะหน้าที่ฝรั่งเศสคือาวุะของทั้งผลเพรือนและทหารถุกขดมยเพ่ิมขึ้นร้อยละ 40 ระหว่างปี 2010 และ 2011 การศึกษาโดย ยูโรโพล หน่ยงานตำรวจของสหภาพยุโรปบางส่วนของการทำอันตรายต่อร่างกาย 152 ครั้งของผุ้ร้ายในห้าประเทศสมาชิกในปี 2013 พบ่ากรณีของฝรั่งเศสผุ้ร้ายส่วนใหย่ใช้อาวุธปืนในการทำร้ายร่างกายคณะกรรมาธิการกล่าว่า ร่างล่าสุดเจ้าหน้าท่สามารถเรียกตรวจสอบอาวุธบางประเภทอย่างเข้มงวด และห้ามครอบครองอาวุธอันจรายร้ายแรง ซึงกาเรยกร้องอาจต้องเจอกับการต่อต้านจกผู้ผลิตอาวุธรายใหญ๋
            อิตาลีเป็นผู้ผลิตอาวุธปืนขนาดเล็ที่ใหญ่ที่สุดครองตลาดอาวุธปืนในสหภาพยุโรป ร้อยละ 37 ของการผลิตโดยรวม อาทิ บาเร็ทต้า, อาร์มี่ เปอราซซี่ และ ซาบาททิ ผุ้ผลิตตอาวุธปืนรายใหญ่อื่นๆ อยู่ในออสเตียมีส่วนแบ่งประมาณร้อยละ 32 ได้ ก๊อก และ สเทอร์ เยอมันมีร้อยละ 9 ได้แก่ เฮทเค, วอลเทอร์ และ ซิก และเบลเยี่ยม 5 เปอร์เซ็นได้แก่ เอฟเอ็น โดยอาวุธปืนส่วนใหญ่จะถูกสงออกไปยัง สหรัฐอเมริการ และประเทศนอกสหภาพยุโรปอื่นๆ
             จำนวนพลเรื่อนทีครอบครองอาวุธปืนพลเรือนในสหภาพยุโรปอย่งถูกต้องตามกฎหมายยังค่อยขนข้างสูงตากรประมาณการ ชาวเยอมนีมีอาวุธปืนมากที่สุดในการลงทะเบียนกว่า ห้าจุดสามล้านกระบอก ตาด้วยฝรั่งเศส สามล้านแปดแสนกระบอก และสเปน สามล้านสี่แสนกระบอก... http://chaoprayanews.com/blog/yotin/2015/11/19/%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-isis-%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2/
           
 อิตาลี ไม่ตกเป็นเป้าหมายของกลุ่มก่อการร้ายในการสร้างหายนะครั้งใหญ่ ในขณะที่ฝรั่งเศส อังกฤษ สเปน หรือเบลเยี่ยมต่างก็ตกเป็นเป้าหมายกันท้วนหน้า จึงเกิดมีคำถามตามมาว่า ปัจจัยอะไรที่ทำให้ "อิตาลี" รอดพ้นจากการโจมตีครั้งใหญ่โดยกลุ่มผุ้ก่อการร้ายในยุคปัจจุบันมาได้
             มีทฤษฎีหนึ่งที่น่าสนใจอ้างว่า สิ่งหนึ่งที่อิตาลีโดดเด่นไปกว่ประเทศตะวันตกก็คือกลุ่ม "มาเฟีย" และนั่นก็น่าจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้กลุ่มก่อการร้ายไม่เข้ามาก่อเหตุในอิตาลี
             จากข้อมูลของ อิอีโคโนมิสต์ อาร์ตูโร วาร์เวลลี นักวิเคราะห์ แห่ง "สถาบัน เพื่อการศึกษานโยบายระหว่างประเทศ" ในมิลานบอกว่า แก๊งมาเฟียอิตาลีมีอิทธิพลครอบงำอย่างกว้างขวางในพื้นี่ตอนใต้ของประเทศ ขณที่กลุ่มชาวมุสลิมส่วนใหญ่มักจะอาศัยอยู่ทางภาคเหนือ
            ด้านแหล่งข่าเจ้าหน้าที่รัฐระดับสุงบอกกับดิอีโคโนมิสต์ว่า มาเฟียอตาลีอาจเป็นปัจจัยหนึ่งทีทำให้ผุ้ก่อการร้ายไม่เข้ามาอาละวาดในแดนพิซซา แต่ไม่ใช่ว่าอิทธิพลของมาเฟียไปย่มผู้ก่อการร้ายจนหงอได้อย่างที่ชาวบ้านเข้าใจ ในทางกลับกัน การที่เจ้าหน้าที่รัฐมีประสบกาณณ์อย่างโชกโชนในการจัดการกับกลุ่มมาเฟียนอกกฎหมายบ่อยๆ ทำให้พวกเขามีเขี้ยวเล็บที่แหลมคน ขณะเดียวกันฝายตุลาการก็มีแนวโน้มที่จะอนุมัติให้ฝ่ายปฏิบัติการใช้มาตรการกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนมากกว่าประเทศอื่นๆ ในยุโรป (เช่น การดักฟัง การดักจับข้อมูลอิเล็ทรอนิกส์) ทั้งนี้ก็เพราะประสบกาณณ์จาก
ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยของอิตาลีที่ทำให้กลไกต่างๆ ของรัฐพร้อมที่จะใช้แนวทางทีแข้งกร้าวในการเล่นงานกลุ่มนอกกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นมาเฟีย หรือผุ้ก่อการร้าย
            ที่ผ่านมาอิตาลีได้เนรเทศผุ้ต้องสงสัยเป็นพวก "หัวรุนแรงทางศาสนา" ออกนอกประเทศไปแล้วอย่างนอยสองร้อยคนนับตั้งแต่ปี 2015 เป็นต้นมา การใช้มาตการดังกล่าวอย่างไม่ลังเลทำให้อิตลีมีภาระในการติดตามผุ้ต้องสงสัยน้อกว่าอังกฤษหรือฝรั่งเศส
           นอกจากนี้ สัดส่วนของผุ้อพยพมุสลิมรุนที่สองในอิตาลี (ว฿่งีความเสี่ยงสูงที่จะกล่ยเป็นพวกหัวรุนแรง) ที่ยังมีสัดส่วนที่ค่อนข้างตำ (น้อยกว่าอังกฤษและฝรั่งเศสเป็นสิบเท่า) และอตาลีก็ไม่มีชุมชนแออัดมุสลิมเหมือนในฝรังเศส
         
 มิเชล กอรบปี จากวิทยาลัยการทหารแห่งสหราชอาณาจักร ชีัไปที่อีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้กลุ่มก่อการร้ายไม่มาก่อเหตุในอตาลีก็เพราะ อิตาลคือฐานที่กลุ่มก่อการร้ายอยางกลุ่ม อัลกอลิดะฮ์ใช้เพื่อซ่องสุมกำลังก่อนไปก่อเหตุในประเทศอื่นๆ ในยุโรป "พวกเขาต้องการเรา มันถึงทำให้เรายังปลอดภัย" กรอบปปี กล่าว
           ขณะที่ ปิโน อาร์ลักคี ผุ้เีชียวชาญด้านสังคมศาสตร์คนหนึ่งของอิตาลีได้เขียนจดหมายไปโต้แย้งดิอีโคโนมิสต์ว่ เหตุผลหลักที่อิตาลีไม่ตกเป็นเป้าของกลุ่มก่อการร้ายเพราะบทบาทของอตาลีต่อความขัดแย้งในตะวันออกกลางมีคอนข้งจำกัด อย่างน้อยอิตาลีก็ไม่เคยไปทิ่งระเบิดในซีเรียเหมือนฝรั่งเศส และการบอกว่า มาเฟียอตาลีมีอิทธิพลพอทำหใ้ผุ้ก่อการร้ายไม่กล้าก่อเหตุก็ไม่มีหลักฐานยืนยัน เพราะมาเฟียอิตาลี เองจะเอาตัวให้รอดจากภาวะที่บีบคั้นอย่างทุกวันนี้ให้ได้ยังลำบากจะเอากำลังและความคิดที่ไหนไปต่อต้านก่อการร้ายได้
           แต่อาร์ลักคี ก็เห็นด้วยในประเด็นหนึ่งวง่ามาตรการต่าง ๆทที่อิตาลีเคยใช้ในการเอาชนะกลุ่มมาเฟีย ถือเป็นมาตรการที่มีประสิทธิภาพสุงในการติดตามและจัดการกับกลุ่มก่อการร้ายกลุ่มย่อยๆ หลายกลุ่ม...https://www.gmlive.com/does-cosa-nostra-deter-terrorist-activites-in-italy

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)