วันอังคารที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Trade in Goods Agreement : ATIGA(2010)

              นับตั้งแต่สงครามเย็นได้สิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1991 การรวมตัวทางด้านเศณษฐกิจภายในภูมิภาคก็เริ่มเป็นรุปธรรมมากขึ้น เช่น ความตกลงว่าด้วยอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากัน CEPT การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน AFTA ในค.ศ. 1992 ความตกลงทางด้านบริการของอาเซียน AFAS ในค.ศ. 1995 กรอบความตกลงเขตลงทุนอาเซียน AIA ใน ค.ศ. 1998 เป็นต้น เมื่อระยะเวลาได้ล่วงเลยผ่านไป สมาชิกอาเซียนได้มีความเห็นว่าควรจะมีการปรับปรุงความตกลง CEPT ให้มีความทันสมัยและเป็นสากลมากขึ้น ดดยได้รวบรวมหลักเกณฑ์ต่างๆ ของ AFTA, CEPT และความตกลงต่างๆ ที่อาเซียนได้ทำไว้กับประเทศต่างๆ ภายนอกภูมิภาคและปรับหลักเกณฑ์ทางการต้าต่างๆ ทั้งในมาตรการด้านภาษีและมิใช่ภาษีให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกันมากยิ่งขึ้น จากนั้นจึงประมวลหลักเกณฑ์ต่างๆ เหล่านี้มาเป็ฯเอกสารฉบับเดียวเรียกว่า ความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้าของอาเซียน ATIGA ซึ่งผุ้นำอาเวียนได้ลงนามความตกลงฉบับนี้ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 2010
          ความตกลง ATIGA นั้นมีพัฒนาเพ่อมขึ้นจากความตกลง่ว่าด้วยอัตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน CEPT เป็นอย่างมากเนื่องจากความตกลง ATIGA นี้เนื้อหาสาระที่ครอบคลุมถึงเรื่องอื่นๆ ทั้งเรื่องการอำนวยความสะดวกทางการต้า ด้านสุลกากร ด้านมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช และรวมถึงด้านอุปสรรคทางเทคนิคต่อการต้าด้วย ซึ่งการรวบรวมหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกบการต้าสินค้าต่างๆ มารวมไว้ในฉบับเดียวนั้น นอกจากจะทำให้อาเซียนมีหลักเกณฑ์ในการต้าสินค้าที่แน่นอนแล้วนั้นยังส่งผลที่ดีต่ออุตสาหกรรม SMEs ด้วยเนื่องจาก ผุ้ประกอบการ SMEs นั้นจะได้รับทราบถึงรายละเดียดของข้อมูลที่ตนต้องการจะลงทุนได้อย่างแน่นอนและชัดเจน อันเป็นการเพ่ิมความเชื่อมั่นในการตัดสินใจลงทุนในธุรกิจต่างๆ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าความตกลง ATIGA จะเป็นกรอบความตกลงที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านเศราฐกิจให้แก่อาเวียน แต่การจะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวนั้น ประเทศสมาชิกทังหลายจะต้องมีความจริงใจและต้องให้ความร่วมมือในการปกิบัติตามข้อตกลงทอย่างเคร่งครัดโดยดคนึถึงผลประดยชน์ของภุมิภาคเป็นสำคัญ มิใช่มุ่งแต่จะปกป้องผลประดยชน์ของชาติตนเป็นหลักจนปั่นทอนเป้าหมายของภุมิภาค ซึ่งหากปกิบัติได้ตามเป้าหมายของ ATIGA แฃล้ว ประมาณการต้าของอาเซียนมีมากขึ้นและตลาดการต้าของอาเซียนทั้งภายในและภายนอกภูมิภาคนั้นขยายตัวมากขึ้นตามไปด้วย อีกทั้งยังเป็นการเพ่ิมศักยภาพทางเศรษบกิจของอาเวียนให้สามารถแข่งขันและต่อรองทางการต้ากับนานาประเทศได้อีกด้วย..(wiki.kpi.ac.th/..ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน)
           ความตกลงการต้าสินค้าของเาซียน ATIGA เป็นผลจากการพัฒนาความตกลงว่าด้วยการใช้มาตรการกำหนดอัตราอากรร่วฝเพื่อจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน เพื่อให้ครอบคุลมประเด็นทางการต้าทุกเรื่องและทัดเทียมกับความตกลงที่อเาซียนทำกับคู่ค้าอื่นๆ มีสาระครอบคลุมมาตรการที่สำคัญต่อการเคลื่อย้ายสินค้าอย่างเสรีภายใต้อาเซียน ดังนี้
          บทที่ 1 บทบัญญัติทั่วไป กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของความตกลง ATIGA เพื่อนำไปสู่การรวมตัวเป้นปรชาคมเศราฐกิจอาเวียน ในปี 2558(2015) การกำหนดความหายของคำศัพท์ที่ใช้ในความตกลง รวมทังการเจ้งการปฏิบัตตามพันธกรณี เป้นต้น ซึ่งประเด็นสำคัญของเรื่องดังกล่าวได้แก่ MFN Treatment ที่กำหนดว่า หากประเทศสมาชิกอาเว๊ยนให้สิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้ความตกลงทวิภาคที่ประเทศสมาชิกทำหับคู่เจรจาอื่นๆ ดีกว่าที่ให้แก่ประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกันเอง ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่สามารถขอเจรจาเพื่อขอสิทธิประดยชน์นั้นๆ ได้ ทั้งนี้ ขึ้นกับการเจรจาของแต่ละประทเสสมาชิก
           บทที่ 2 การเปิดเสรีอัตราภาษี กล่าวถึงการลดภาษีตามพันธกรณีของเขตการต้าเสรีอาเซียน การได้รับสิทธิประโยชน์ทงภาษี ซึ่งมีประเด็นสำคัญดังนี้
                    1) ที่ประชุมตกลงให้มีตารางการลดภาษีของประเทศสมาชิกอาเซียนตั้งแต่เร่ิมต้นจนสิ้นสุดอยู่ในความตกลง ATIGA ด้วย เพื่อความโปร่งใสและให้ประเทศสมาชิกสามารถตรวจสอบการปฏิบัติตรมพันธกรณีระหว่งประเทศสมาชิกด้วยกันได้ ...
                    2) ข้อยืดหยุ่นสำหรับกัมพูชา เวียดนาม ลาว และพม่า CLMV ที่ประชุมตกลงให้ทั้ง 4 ประเทศสามารถมีรายการสินค้าที่จะขอยืดหยุ่นไม่นำมาลดภาษีได้ไม่เกิดร้อยล 7 ของจำนวนรายารสินึ้า ทั้งหมด
                   โดยสรุป ความตกลง ATIGA ที่จะนำมาใช้แทนความตกลง CEPT จะมีข้อบทครอบคลุมประเด็นต่างๆ เช่น การบดภาษี มาตรการที่มิใช่ภาษี การอำนวยความสะดวกทางการต้า กระบวนการ/พิธีการศุลการกร มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มาตรการเทคนอคทีเ่ป็นอุปสรรคทางการต้า ดดยไม่เพิ่มพันธกรณีของประเทศสมาชิก เนพื่อจากข้อบทต่างๆ เป็นสิ่งที่ประเทศสมาชิกอาเวียนดำเนินกาอยู่แล้วในแต่ละคณะกรรมการ/คณะทำงานของอาเวียน ดังนี้ ความตกลง ATIGA จะทำให้การต้าสินค้าในอาเวียนมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมไปสู่การรวมตัวของอาเวีนให้เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ภายในปี 2558 ในที่สุด
                   3) การใช้ประโยชน์จากความตกลงการต้าสินค้าของอาเซียน ATIGA  เมื่อความตกลงการต้าเสรี มีผลบังคับใช้ สิ่งสำคัญที่ผุ้ประกอบการ/ผุ้สงออกมีความรู้ความเข้ใจที่ถูกต้องและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เพื่อให้สามารถใช้ประดยชน์จากควาตกลงการต้าเสรี ได้อย่างเต็มที่ ก็คือ กฎว่าด้วยถ่ินกำเนินสินค้า และระเบียบปฏิบัติในการออกหนังสือรับรองถ่ินกำเนิดสินค้า ทั้งนี้หากผุ้ประกอบการ/ผุ้ส่งออกไม่สามารถปฏิบัติตาม ROO หรือ OCP ได้ สินค้านั้นก็จะไม่สามารถขอรับสิทธิพิเศษฯ ณ ประเทศปลายทางได้.. ( "คู่มือการใช้สิทธิประโยชน์ทางการต้า ภายใต้ความตกลง การต้าเสรีอาเซียน, สำนักสิทธิประโยชน์ทางการต้า กระทรวงการต่างประเทศ,2554)
                 
           
                 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...