The Gupta Period

     อินเดียเป็นดินแดนอารยธรรมแห่งหนึ่งของโลก อารยธรรมอินเดียมีอิทธิพลต่อดินแดนต่างเป็นอย่างมากโดยเฉพาะเอเซียตะวันออกและเอเซียอาคเนย์  
     รากฐานศิลปะก่อนสมัยอินเดียโบราณคือวัฒนธรนรมที่ใช้ภาษาสันสกฤต มีศิลปะที่เมืองหะรับปา และโมเหนโช ดาโร ทางแถบลุ่มแมน้ำสินธุก่อนพุทธกาล 1,500 ปี
ยุคอินเดียโบราณ ที่ค้นพบอยู่ในช่วงราชวงศ์โมริยะ ศิลปะแบสาญจี และพระเจ้าอโศกมหาราช และถ้ำต่าง ๆ ศิลปะเกี่ยวกับพุทธศานาใช้สัญลักษณ์แทนเป็นการสลักบนรั้วและประตูล้มรอบสถูป


CCUBUD2
ศิลปะคันธารราฐ อินเดียสมัยนั้นเคยอยู่ใต้ปกครอง พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ซึ่งกรีฑททัพมาก่อนคริสกาล 200 ปี พวกถือรูปแบบเคารพเพิมที่เป็นเทพเจ้าของตนที่ปฏิบัติสืบทอดต่อๆ กันมาและเมื่อหันมานับถือพุทธศาสนา การสร้างพระพุทธรูป ครั้งแรกจึงเกิดขึ้น เป็นการผสมผสาน ศิลปะแบบกรีกโรมันและอินเดียโบราณที่สัมพันธ์กับมหาปุริสลักษณะ 32 ประการ ของพระพุทธเจ้าอย่างลงตัวพระพุทธรูปคันธราฐจึงได้รับการยกย่องและยอมรับจากทั่วโลกว่ามีพุทธศิลปงดงามที่สุด และเก่าแก่ที่สุดของโลก

      พระมิลินท์ ทรงเลื่อมใสพระพุทธศาสนาและทำนุบำรุงให้รุ่งเรือง หลังการล่มสลายของวงศ์เมาริยะ เริ่มมีการสร้างพุทธรูป จำหลักหินขึ้นอย่างมากมาย เป็นศิลปกรรมแบบกรีกปสมอินเดีย เรียกตามเชื่อเมืองว่า ศิลปคันธารราฐ…

marura





 ศิลปแบบมธุรา กำเนิดทางตอนเหนือของอินเดีย พบในสมัยเดียวกันกับ คันธารราฐ เป็นพระพุทธรูปแบบไม่มีมุ่นพระเกศา






23-11-2554-15-56-33


ศิลปอมราวดี แหล่งกำเนิด อยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำกฤษณา ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดีย เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 6-9 ขณะนั้นดินแดนแป่งนี้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของ ราชวงศ์อานธระ มีการสร้างงานศิลปกรรม เนื่องในพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก โดยในเมืองอมราวดีและเมืองนาคารชุนิโกณฑะ เป็นศูนย์กลางที่สำคัญ 
     ศิลปอมราวดีมีอายุร่วมสมัยเดียวกับศิลปะ แบบ คันธารราช และแบบ มธุรา ซึ่งเจริญขึ้นทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศเหนือของอินเดีย แต่มี ลักษณะรูปแบบทางศิลปะและสุนทรียภาพ ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตน ต่างกันไป ลักษณะรูปแบบขแงศิปละอมราวดีแสดงให้เห็นว่ามีการสืบทอดรักษาประเพณี วัมนธรรมพ้อนเมืองที่มีมาก่อน และได้รับอิทธิพลศิปละต่างถิ่นที่แพร่หลายเข้ามาแต่ไม่มากนัก เช่น ศิลปะกรีก-โรมัน …


  



  สมัยคุปตะ  ช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-11 ราชวงศ์คุปตะทางอินเดียตอนเหนือเจริญรุ่งเรือง ในสมัยราชวงศ์นี้ได้ชื่อว่าเป็นยุคทองทางศาสนา วรรณคดี ศิลปกรรมและปรัชญา กษัตริย์ราชวงศืนี้ส่วนมากจะเป็นฮินดู แต่ก็ทรงอุปถัมภ์คุ้มครองพุทธศาสนา โดยเฉพาะฝ่ายมหายาน
    กษัตริย์ที่มีบทบาทสำคัญได้แก่ พรเจ้าจันทรคุปต์ พระเจ้าสมุทรคุปต์ พระเจ้าวิษณุคุปต์ และพระเจ้าสกันธคุปต์
    การปกครองสมัยคุปตะเป็นแบบกระจายอำนาจไปตามท้องถิ่น มีการค้าขายมากขึ้นกับเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะอินโดนิเซีย มาเลเซีย กัมพูชา และไทย พ่อค้าที่ร่ำรวยนิยมบริจาคเงินเพื่อสร้างงานสำคัญทางศาสน เช่น สถูปที่สัญจี อมาราวตี…
     พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานได้รจนาคัมภีร์ขึ้นมากมาย ทางด้านศิปล มี ศาสนสถาน และศาสนวัตถุ พระพุทธรูปมีหลายขนาดหลายปาง
    ทางด้านปรัชญา มีนัปรัชญาทางพุทธศษสนหลายท่าน อาทิ ท่านนาคารชุน ท่านอสังคะ และท่านวสุพันธ์ ท่านเหล่านี้ประกาศพุทธปรัชญาให้เป็นที่สนใจแก่ประชาย ..
   การศึกษา การศึกษาทางพุทธศาสนามีความเจริญก้าวหน้า ได้เกิดมหาวิทยาลัยนาลัน และมหาวิทยาลัยอื่นๆ อรทิ มหาวิทยาลัยวัลภี มหาวิทยาลับวิกรมศิลา..






















ศิลปะคุปตะ มีความสำคัญเป็นอย่างมากกล่าวคือได้ส่งรูปแบบให้กับศิลปะในช่วงหลัง คือ ศิปลปาละ-เสนะ ซึ่ง ศิปลปาละ-เสนะได้มีอิทธิพลต่อศิลปะในเนปาล ทิเบต และศิลปะทางภาคเหนือของไทย รวมทั้งในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ คาบสมุทรมลายู และในอินโดนีเซียที่ บุโรพุทธโธ ..






 























  ศิลปะทมิฬ หรือ ดราวิเดียน   ศิลปะแบบทมิฬแบบที่เก่าที่สุดเป็นประติกมกรรมจากศิลา รูปสำริดและสลักจากไม้  ที่รู้จักกันดีคือ รูปพระศิวะนาฎราชฟ้อนรำอยู่ในวงเปลวไฟ สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่หลังคาสร้างเป็นหินซ้อนกันเป็นชั้น..

“สมัยต่อมา พระอิศวรเป็นเจ้าเสด็จประทับ
อยู่ท่ามกลางเทวสภาบนเขาไกรลาสมีพระประสงค์จะทรงแสดงการฟ้อนรำให้เป็นแบบฉบับ   จึงเชิญพระอุมาให้ประทับเป็นประธานเหนือสุวรรณบัลลังก์ เหล่าเทพเจ้าทั้งหลาย
ประกอบทิพย์ดนตรี  คือ

                   พระนารายณ์            ทรงโทน
                   พระลักษมี               ทรงขับขาน
                   พระพรหม               ทรงฉิ่ง
                   พระอินทร์                ทรงขลุ่ย
                   พระสุรัสวดี              ทรงพิณ
และองค์อิศวรทรงฟ้อนรำให้เหล่าบรรดาเทพยดา ฤๅษี คนธรรพ์  ยักษ์  นาค ทั้งหลายที่ขึ้นไปเฝ้าได้ชมอีกครั้งหนึ่ง  ในครั้งนี้พระนารทฤๅษี ซึ่งอยู่ในที่นั้นจึงบันทึกสร้างเป็น
ตำราการฟ้อนรำขึ้น  เรียกว่า  ตำราคันธรรพศาสตร์”


     จากตำนานต่างๆ ชาวอินเดียจึงถือว่าเมืองจิทัมพรัม แค้วนทัทราฐในอินเ
ดียตอนไต้เป็ฯสถานที่ซึ่งพระอิศวรปางเมื่อเสด็จมาแสดงตำราฟ้อนรำให้มนุษยโลก ดังนั้นจึงคิดสร้างเทวรูปพระอิศวรปางเมืองทรงแสดงการฟ้อนรำ เรียกว่า “นาฎราช” (หรือ ปางปราบอสูรมูลาคนี) ถ่ายแบบสร้างต่อออกไปอย่างแพร่หลาย  ทั้งนี้ปรากฎเทวสถานแห่งหนึ่งสร้างไง้เมือประมาณพ.ศ.1800 ปรากฎลายเครื่องประดับซุ้มจำหลักเป็นรูปพระอศวนฟ้อนรำครบทั้ง 108 ท่า ตามปรากฎในตำราของพรภารตฤาษี…




71926ed6


    ศิลปะปาละ-เสนะ ศิลปะทางพุทธศาสนา ของอินเดียทางเหนือ ภายใต้การอุปถัมภ์ ของราชวงศปาละ-เสนะในแคว้นเบงกอลและพิหาร  พุทธศานในสมัยปาละ คือ พุทศาสนาลัทธิตันตระ ซึ่งกลายมาจากมหายาน โดย สถาปัตที่สำคัญ คือมหาวิทยาลัยนาลันทา ซึ่งเป็นศูนย์กลางการสอนพุทธสาสนาแบบตันตระ ในแคว้นเบงคอล ยุคราชวงศ์เสนะ นับถือฮินดู จึงเป็นยุคของประติมากรรมแบบฮินดู
   ศิลปะแบบปาละ-เสนะ ได้แพร่หลายไปยังที่ต่าง ๆ เช่นอ เนปาล ธิเบต ศรีลังกา ชวาทางภาคกลาง เกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย พม่า และไทย..

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)