ฺBureaucracy : Philippines

           ฟิลิปปินส์ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในรูปแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาช อยุ่ในตำแหน่งคราวละ 6 ปี ดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิดน 1 วาระวุฒิสภามีสมาชิก 24 คน มาจากการเลือกตั้งจากผุ้มีสิทธิออกเสียงทั่วประเทศ มีาระ 6 ปี และรัฐบาลจะจัดให้มีการเลือกตั้งวุฒิสภาจำนวนครึ่งหนึ่ง 12 คน ทุก 3 ปี ฟิลิปปินส์แบงเขตการปกครองออกเป็น 17 เขต 80 จังหวัด และ 120 เมือง โดยแบ่งการปกครองย่อยออกเป็น 1,499 เทศบาล  และ 41,969 บารังไก ซึ่งเที่ยงบท่าตำบลหรือหมู่บ้าน ฟิลิปปินส์จัดการเลือกตั้งประธานาธิบดี วุฒิสภา สภาผุ้แทนราษฎร และสภาผุ้แทรท้องถิ่นทั่วประเทศ รวม 17.996 ตำแหน่งในคราวเดียวกัน เมื่อปี พ.ศ. 2553 มีผู้ลงทะเบียนเพื่อใช้สิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 50.7 ล้านคน ในจำนวนนี้ มีผุ้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งประมาณ 38 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 75 ของผุ้ลงทะเบียนทั้งหมด โดยนายเบนิกโน เอส อาคีโน ที่สาม ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี และนายเจโจมา บิโน อีดตนยกเทศมนตรีเมืองมากาติได้รบเลือกตั้งเป็ฯรองประธานาธิบดี
           รัฐบาลภายใต้การบริหารงานของประธานาธิบดี อาคีดน ที่สาม มุ่งให้ความสำคัญกับการปกิรูประบบริหารประเทศเพื่อปราบปรามการฉ้อราษฎร์บังหลวงและขจัดความยากจน จึงได้รับความนิยม จากประชาชนและมีสภานะความมั่นคงทางการเมืองสูง ทั้งนี้ รัฐบาลมีมาตรการเร่งด่วน ได้แก่ การส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ การสร้างมาตรฐานกฎระเบียบด้านวบประมาณ การปรับปรุงระบบข้าราชการพลเรือน และการปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนประเด็นด้านความสัมพันะ์ระหว่างระเทศรัฐบาลฟิลิปปินส์เน้นการ่งเสริมความร่วมมือในหัวข้อท้าทายต่างๆ เช่น การก่อการร้ายอาชญากรรมข้ามชาติ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การระบาดของโรคติดต่อ การฟื้นฟูสภาพเศรษฐิจ และการสร้างพลังประชคมระหว่างประเทศในทุกภาคส่วนเพื่อบรรลุเป้ามหายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
          หลังจากฟิลิปปินส์ได้รับอิสรภาพจากสหรัฐอเมริกา ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่างๆ มากมาย ในส่วนของระบบราชการเองก็เช่นกันในช่วงปี พ.ศ. 2515 ฟิลิปปินส์ได้มีการปฏิรูประบบราชการที่สำคัญครั้งใหญ่ โดยมีสาระสำคัญในการปฏิรูป ดังนี้

DEPARTMENT OF THE INTERIOR AND LOCAL GOVERNMENT ORGANIZATIONAL STRUCTURE

            - ปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการในสำนักงานประธานาธิบดี มีจุดมุ่งหมายเพื่อลอหน่วยงานที่สังกัดสำจักงานประธานาธิบดี โดยกำหนดหลักเกณฑ์ให้แก่หน่วยงานที่สังกัดสำนักงานประธานาธิบดี ดังนี้
                      1) ส่วนราชการหรือองค์กรที่ทำหน้าทีให้คำปรึกษาแก่ฝ่ายบริหารในเรื่องที่มีคามสำคัญต่อการบริหารราชการเท่านั้น
                      2) ส่วนราชการหรือองค์กรที่ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ หรือด้านอำนวยการแก่ผุ้บริหารโดยตรง
                      3) ส่วนราชการหรือองค์กรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับหลายส่วนราชการ
                      4) ส่วนราชการ หรือองค์กรที่ผุ้บริหารประเทศต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
          - กำหนดรูปแบบโครงสร้างส่วนราชการภายในกระทรวง โดยให้ทุกกระทรวงแบ่งส่วนราชการที่ทำหน้าที่อำนายการและวิชาการ ออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ งานวางแผน, งานคลังและการจัดการ, งานบริหารทั่วไปและงานวิชาการ
           ด้านงานหลักหรือด้านการปฏิบัติการ จะแบ่งออกเป็นกรม และสำนักงานเขต กระทั่งปี  พ.ศ. 2529 ได้มีการปฏิรูประบบราชการอีกครั้ง ดดยมีการตั้งคณะกรรมการขึ้นหนึ่งชุด และได้มีการปรับปรุงสวนราชการและการบริหาร เพื่อเน้นด้านการริหารการพัฒนา และสอดรับกักบการให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ในสมัยของประธานาธิบดีฟิเดล รามอส ได้มีการปฏิรูประบบราชการอีกครั้งหนึ่ง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อความมีประสทิธิภาพและประสิทธิผลของระบบราชการ ปรับเปลี่ยนภาคราชการให้เกิดความเข้มแข็ง และให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยการกระจายงานระหว่างหน่วยงานของรัฐในระดับต่างๆ ให้เหมาะสม และขจัดการปฏิบัติงานที่ไม่จำเป็นออกไป
          ในการปฏิรูประบบราชการในแต่ละครั้ง จะต้องมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อนำเสนอนโยบาย หลักการ แนวทาง มาตรการ และแผนการดำเนินงาน เสนอต่อประธานาธิบดี จากนั้นคณะกรรมการชุดดังกล่าวจะถูกยุบตัวลง และมีกระทรวงงบประมาณและการจัดการ เข้ามทำหน้าที่เป้นฝ่ายเลขานะการของคณะกรรมการและรับผิดชอบในการศึกษา วิเคราะห์และจัดทำรายงานสรุปข้อเสนอเกี่ยวกับนโยบาย แนวทาง มาตรการและแผนการดำเนินการตามมติของคณะกรรมการ เพื่อเสนอประธานาธิบดีพิจารณาสั่งการให้กระทรวงต่างๆ ไปดำเนินการต่อ ตลอดจนมีหน้าที่ให้คำปรึกษา แนะนำ ติดตาม เร่งรัดให้กระทรวงต่างๆ ตำเนินการตามนโยบาย หลักการ มาตรการ และแผนการดำเนินการตามที่ประธา่นาธิบดีเห็นชอบ และมีคำสั่งให้กระทรวงต่างๆ ดำเนินการ
            ระบบอุปถัมภ์ สังคมฟิลิปปินส์เป้นสังคมเหครือญาติ มีการอบรมสั่งสอนในครอบครัวให้ช่วยเหลือกันและกันระหว่างเครือญาติ พี่น้อง เพื่อนฝูง และให้สำนึกบุญคุณผุ้ที่ช่วยเหลือตน เกิดเป็นค่านิยมที่ติดในเรื่องการเป็นหนี้บุญคุณ รวมทั้งการกล่อมเกลบาทางสังคม ดดยมีค่านิยมทางศษสนาตั้งแต่ยุคสเปน คือ พ่อ แม่ อุปถมภ์ที่คอยช่วยเหลือเกื้อกูลกันในทุกวิ๔ีทาง โดยมีเงินและอำนาจเป็นปัจจัยสนับสนุน ทำให้ความช่วยเหลือไม่จำกัดขอบเขตและเวลา ทั้งการตอบแทนบุญุนที่ไม่จำแนกว่าเหมาะสมหรือไม่แระการใด จึงกลายเป็นระบบอุปถัมภ์ที่ทำให้เกิดการติดสินบนการทุจริตในทุกวงการ
          ในยุคสมัยก่อนสเปนเข้ามาปกครอง ญานะของสตรีฟิลิปปินส์มีสิทธิเท่าเทียมชาย สตรีสามารถมีสมบัติเป็นของตัวเองและรับมรดกที่เป้ฯทรัพย์สิน ทั้งสามารภทำการค้าขายด้วยตัวเอง รวมถึงการสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าเผ่าจากบิดาได้ อีกท้งมารดามีสิทธิที่ตั้งชื่อให้ลูกด้วยตนเอง และจากการศึกษาของสีดา สอนสี พบสถานภาพของสตรีฟิลิปปินส์เป้นที่ยอมรับจากสังคมมากว่าประเทศใดๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่สมัยสเปนเข้ามาครอบครอง สตรีก็มีอำนาจและบทลาทในการควบคุมการเงินในครอบครัว เมื่อสหรัฐอเมริกาเข้าครอบครองการยอมรับสตรีก็มีสูงมากขึ้นทั้งในวงกาเมืองและการศึกษาในปี  พ.ศ. 2443 มีสตรีเป็ฯผุ้รู้หนังสือสูงกว่าบุรุษในฟิลิปปินส์ และสตรีสามารถก้าวเข้าสู่ตำแหน่งปรธานาธิบดี วุฒิสมาชิก พิพากษาศาลฎีกา ประธานคณะกรรมการเลือกตั้ง ฯลฯ และหากเกิดปัญหากับสตรีก็มีองค์กรสตรีที่เข้มแข็งและรัฐยอมรับ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)